SlideShare a Scribd company logo
1 of 61
Download to read offline
ผลการใช้ เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท
                ตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์
                      ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
          ทีมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แตกต่ างกัน
            ่ ี

ผู้วจัย
    ิ         นายนวัช ปานสุ วรรณ รหัส 52257310
            ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา
            คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
หัวข้ อการนาเสนอ

บทที่ 1 : บทนา
บทที่ 2 : เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                  ่
บทที่ 3 : วิธีดาเนินการวิจัย
บทที่ 4 : ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
บทที่ 5 : สรุป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ
บทที่ 1 : บทนา
                  ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา

                                           ด้านผูสอนขาดสื่ อการ
                                                 ้
                                           สอนที่เหมาะสม

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน         ปัญหา
วิชาวิทยาศาสตร์ตกต่า

                                           ผูเ้ รี ยนขาดความสามารถ
                                           ทางการคิดวิเคราะห์
วัตถุประสงค์ การวิจย
                                           ั
1. ศึกษาผลของการเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาทตาม
   แนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


2. เพือเปรียบเทียบความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
       ่
   ทีมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แตกต่ างกัน ก่ อนและหลังเรียนด้ วย
     ่ ี
   เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์

3. เพือศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ทีมต่อการเรียนด้ วย
       ่                                                   ่ ี
   เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์
   ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
สมมติฐานการวิจย
                                         ั
1. ผลการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ทีเ่ รียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ น
   ตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วชาวิทยาศาสตร์ หลังเรียนสู งกว่ าก่ อนเรียน
                                    ิ


2. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนที่มีระดับ
   ความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ แตกต่ างกัน ทีเ่ รียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบ
   เล่ นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ หลังเรียนสู งกว่ าก่ อนเรียน

3. นักเรียนทีมความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ สูง เมือเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์
             ่ ี                                        ่
   แบบเล่ นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ มีความสามารถใน
   การคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ หลังเรียนสู งกว่ าก่ อนเรียน
สมมติฐานการวิจย
                                       ั
4. นักเรียนทีมความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ ปานกลาง เมือเรียนด้ วย
             ่ ี                                        ่
   เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์
   มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ หลังเรียนสู งกว่ าก่ อนเรียน

5. นักเรียนที่มีความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ ต่า เมือเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์
                                                        ่
   แบบเล่ นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ มีความสามารถใน
   การคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ หลังเรียนสู งกว่ าก่ อนเรียน
ขอบเขตการวิจย
                                 ั

       ประชากร                       กลุ่มตัวอย่ าง


             นักเรียน
                                            นักเรียน
      ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
                                     ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
โรงเรียนบรรหารแจ่ มใสวิทยา 3
                               โรงเรียนบรรหารแจ่ มใสวิทยา 3
      จานวน 8 ห้ องเรียน
                                         จานวน 30 คน
          รวม 400 คน
ขอบเขตการวิจย
                                  ั

ตัวแปรต้ น             ตัวแปรตาม

  การเรียนด้ วยเกม          ความสามารถในการคิดวิเคราะห์
คอมพิวเตอร์ แบบเล่น          ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรี ยน
  ตามบทบาทตาม
 แนวทางสตอรี่ไลน์
                        ความคิดเห็นของนักเรี ยนที่มีต่อการเรี ยน
                        ด้วยเกมคอมพิวเตอร์แบบเล่นตามบทบาท
                        ตามแนวทางสตอรี่ ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์
ขอบเขตการวิจย
                                                     ั
                                             1. Phylum porifera
                    เนือหา
                       ้                     2. Phylum coelenterata
                                             3. Phylum plathyhelminthes
                                             4. Phylum nematoda
                 อาณาจักรสั ตว์
                                             5. Phylum anelida
                วิชาวิทยาศาสตร์              6. Phylum arthropoda
             ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3          7. Phylum Mollusca
                                             8. Phylum Echinodermata
                                             9. Phylum Chordata

                                           ่
เหตุผลการเลือกเรื่ องนี้ : เป็ นเนื้อหาที่คอนข้างยาก มีคาศัพท์ทางวิทยาศาสตร์ จานวนมาก
ผูเ้ รี ยนต้องอ่านและท่องจา สร้างความเบื่อหน่ายต่อผูเ้ รี ยน และผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนต่า
นิยามศัพท์ เฉพาะ
นิยามศัพท์ เฉพาะ


2. เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาท หมายถึง โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ ทผู้เล่น จะต้ องเดินทางผจญภัยไปตามเนือเรื่อง โดย
                 ี่                                       ้
จะต้ องมีการต่ อสู้ เกิดขึนในระหว่ างการดาเนินเรื่อง ซึ่งผลการ
                          ้
เดินทาง มีท้งเป็ นการเพิมพลัง ลดพลังและคุณสมบัติอนที่
             ั              ่                               ื่
เกียวข้ อง โดยรูปแบบของเกมนั้นจะถูกควบคุมด้ วยเนือเรื่องที่
   ่                                                    ้
ทางผู้สร้ างได้ สร้ างไว้
นิยามศัพท์ เฉพาะ


3. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง
ศักยภาพในการคิด ซึ่งประกอบด้ วยทักษะสาคัญ 5 ด้ าน ได้ แก่
ทักษะด้ านการจาแนก ทักษะด้ านการจัดหมวดหมู่ ทักษะด้ านการ
เชื่อมโยง ทักษะด้ านการสรุปความ และด้ านการประยุกต์ ซึ่งวัด
จากแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทาง
วิทยาศาสตร์ ที่สร้ างขึนตามหลักของมาร์ ซาโน(Marzano :
                       ้
2001) โดยมีลกษณะเป็ นข้ อคาถามแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก
              ั
นิยามศัพท์ เฉพาะ

4. ประสิ ทธิภาพของเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาทตาม
เกณฑ์ 75/75 มีความหมายดังนี้
    4.1 75 ตัวแรก หมายถึง ประสิ ทธิภาพของกระบวนการ คือ
ร้ อยละของคะแนนเฉลียของนักเรียนทั้งกลุ่มทีได้ จากการทา
                    ่                     ่
แบบทดสอบของทุกหน่ วย รวมทุกหน่ วย
   4.2 75 ตัวหลัง หมายถึง ประสิ ทธิภาพของผลลัพธ์ คือ ร้ อย
ละของคะแนนเฉลียของนักเรียนทั้งกลุ่มทีได้ จากการทา
                 ่                    ่
แบบทดสอบหลังเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบสตอรี่ไลน์
หน่ วยการเรียนรวมทุกหน่ วย
นิยามศัพท์ เฉพาะ

5. ความคิดเห็นทีมีต่อการเรียน หมายถึง ความรู้สึกของนักเรียนทีมี
                  ่                                          ่
ต่ อการเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาทตามแนวทาง
สตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ โดยใช้ แบบสอบถามความคิดเห็นที่
ผู้วจยสร้ างขึนตามแนวทางของลิเคิร์ท (Likert) โดยมีลกษณะการวัด
    ิั        ้                                    ั
แบบมาตราส่ วนประมาณค่ า (Rating Scale) 5 ระดับ


6. นักเรียน หมายถึง ผู้ทศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
                        ี่
โรงเรียนบรรหารแจ่ มใสวิทยา 3 อาเภอด่ านช้ าง จังหวัดสุ พรรณบุรี
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2554
กรอบแนวคิด

  เกมคอมพิวเตอร์       ความสามารถในการคิด        วิธีสอนแบบสตอรีไลน์
 แบบเล่นตามบทบาท             วิเคราะห์          (Story line Approach )
(Role-Playing Game)    (Analyticaly thinking)


การเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาท ตามแนวทางของสตอรี่ไลน์
                             วิชาวิทยาศาสตร์

    ผลการเรียน        ความสามารถในการคิด          ความคิดเห็น
    ของนักเรียน            วิเคราะห์              ของนักเรียน
                        ทางวิทยาศาสตร์
บทที่ 2 : เอกสารและงานวิจยทีเ่ กียวข้ อง
                           ั ่

               สื่ อการเรียนรู้
             เกมคอมพิวเตอร์
หลักสู ตรกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ ปี พ.ศ. 2551
          วิธีสอนแบบสตอรี่ไลน์
     ความสามารถในการคิดวิเคราะห์
            งานวิจยที่เกียวข้ อง
                  ั ่
บทที่ 3 : วิธีดาเนินการวิจย
                                           ั
                ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง

     นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนบรรหารแจ่ มใสวิทยา 3
         จานวน 8 ห้ องเรียน รวม 400 คน ภาคเรียนที่ 1/2554

                  สุ่ มอย่ างง่ ายโดยการจับสลาก

         กลุ่มตัวอย่ าง จานวน 2 ห้ องเรียน รวม 100 คน

แบ่ งเป็ น 3 กลุ่มตามระดับความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ (ผลจากการ
                      ประเมินในภาคเรียนที่ 1/2554)

 สุ่ มกลุ่มตัวอย่ างมากลุ่มละ 10 คน ได้ กลุ่มตัวอย่ างรวม 30 คน
แบบแผนการวิจย
                                           ั
                การวิจยครั้งนี้เป็ นการวิจยเชิงทดลอง ใช้รูปแบบการวิจยแบบ
                      ั                   ั                         ั
        Pretest-Posttest Design ที่มีการทดลองก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน (มาเรี ยม
        นิลพันธุ์ 2553:145) ดังแผนภาพ
              Group           Pretest        Treatment          Posttest
                H               T1               X                T2
               M                T1               X                T2
                L               T1               X                T2
เมื่อ   H        คือ     นักเรี ยนที่มีระดับความสามารถทางการคิดวิเคราะห์สูง
        M        คือ     นักเรี ยนที่มีระดับความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ปานกลาง
        L        คือ     นักเรี ยนที่มีระดับความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ต่า
        T1       คือ     ทดสอบวัดความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ก่อนเรี ยน
        X        คือ     การเรี ยนด้วยเกมคอมพิวเตอร์แบบเล่นตามบทบาทตาม แนวทางสตอรี ไลน์
        T2       คือ     ทดสอบวัดความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์หลังเรี ยน
เครื่องมือทีใช้ ในการวิจย
                                      ่           ั

1. แผนจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3

2. เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาทตามแนวทางสตอรีไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์
   ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3

3. แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์

4. แบบสอบถามความคิดเห็นสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ที่มีต่อ
   เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาทตามแนวทางสตอรีไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์
1. การสร้ างแผนการจัดการเรียนรู้
         ศึกษาเอกสารเกียวกับหลักสู ตรและการสอนแบบสตอรี่ไลน์
                       ่

            กาหนดเนือหา สาระการเรียนรู้ การวัดประเมินผล
                    ้

    ศึกษาวิธีการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ จากเอกสารและงานวิจัยต่ างๆ

            สร้ างแผนการจัดการเรียนรู้ ตามแนวทางสตอรี่ไลน์

              เสนอแผนการจัดการเรียนรู้ ต่ออาจารย์ ทปรึกษา
                                                   ี่

           ให้ ผู้เชี่ยวชาญด้ านเนือหา (รายชื่อหน้ า 104)
                                   ้
ตรวจสอบความสอดคล้ อง ซึ่งได้ ค่า IOC เท่ ากับ 1.00 (รายละเอียดหน้ า 161)

            ได้ แผนการจัดการเรียนรู้ ไปใช้ จริง(หน้ า 106 - 157)
2. การสร้ างเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท
          ศึกษาเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กียวข้ องกับการสร้ างเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท
                                       ่

             ทาการเขียนแผนโครงเรื่อง (Storyboard) แล้ วนาไปเสนอต่ ออาจารย์ ทปรึกษา
                                                                            ี่

                   สร้ างเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรีไลน์

   ให้ ผู้เชี่ยวชาญด้ านเนือหาและด้ านการออกแบบประเมินคุณภาพเกมคอมพิวเตอร์ (รายชื่อหน้ า 104)
                           ้
   ด้ านเนือหา ค่ าเฉลียเท่ ากับ 4.78 ด้ านสื่ อมัลติมเี ดียค่ าเฉลียเท่ ากับ 4.26 (รายละเอียดหน้ า 165-166)
              ้         ่                                           ่

   นาเกมคอมพิวเตอร์ ไปหาประสิ ทธิภาพกับนักเรียนทีไม่ ใช่ กลุ่มตัวอย่ าง ครั้งที่ 1 จานวน 3 คน ได้ ค่า
                                                       ่
  ประสิ ทธิภาพ E1 / E2 เท่ ากับ 71.85 / 71.11 ซึ่งสู งกว่ าเกณฑ์ ทกาหนด 75/75 (รายละเอียดหน้ า 167)
                                                                  ี่

นาเกมคอมพิวเตอร์ ทผ่านการแก้ ไขไปหาประสิ ทธิภาพกับนักเรียนทีไม่ ใช่ กลุ่มตัวอย่ าง ครั้งที่ 2 จานวน 12
                   ี่                                            ่
       คน ได้ ค่าประสิ ทธิภาพ E1 / E2 เท่ ากับ 76.85 / 76.11 ซึ่งสู งกว่ าเกณฑ์ ทกาหนด 75/75
                                                                                 ี่
                                     (รายละเอียดหน้ า 169)
2. การสร้ างเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท


 นาเกมคอมพิวเตอร์ ทผ่านการแก้ ไขไปหาประสิ ทธิภาพกับนักเรียนทีไม่ ใช่ กลุ่มตัวอย่ าง ครั้งที่ 3
                     ี่                                            ่
จานวน 30 คน ได้ ค่าประสิ ทธิภาพ E1 / E2 เท่ ากับ 77.37 / 76.11 ซึ่งสู งกว่ าเกณฑ์ ทกาหนด 75/75
                                                                                   ี่
                                  (รายละเอียดหน้ า 171)

       ได้ เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์
                   ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ไปใช้ จริง (ตัวอย่ างหน้ า 202 – 226)
ตัวอย่ างเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท
ตัวอย่ างเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท
ตัวอย่ างเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท
ตัวอย่ างเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท
ตัวอย่ างเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท
ตัวอย่ างเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท
ตัวอย่ างเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท
ตัวอย่ างเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท
ตัวอย่ างเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท
3. การสร้ างแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์
         ศึกษาวิเคราะห์ หลักสู ตร/ เนือหา/ การสร้ างแบบทดสอบวัดความสามารถทางการคิดวิเคราะห์
                                      ้

สร้ างตารางวิเคราะห์ ข้อสอบและสร้ างแบบทดสอบวัดความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ จานวน 60 ข้ อ

นาแบบทดสอบทีสร้ างขึนไปให้ ผ้ ูเชี่ยวชาญด้ านเนือหา (รายชื่อหน้ า 104) ตรวจสอบความสอดคล้ องซึ่งได้ ค่า
            ่       ้                           ้
                                IOC เท่ ากับ 0.84 (รายละเอียดหน้ า 174)

         นาแบบทดสอบไปทดลองใช้ กบนักเรียนทีเ่ คยเรียน เรื่อง อาณาจักรสั ตว์ จานวน 30 คน
                               ั

นาผลมาวิเคราะห์ หาค่ าความยากง่ าย(p) และค่ าอานาจจาแนก (r) คัดเลือกข้ อสอบจานวน 30 ข้ อซึ่งได้ ค่า p
             อยู่ระหว่ าง 0.31 – 0.69 และค่ า r อยู่ระหว่ าง 0.25 – 0.75 (หน้ า 177 - 179)

       หาค่ าความเชื่อมันของแบบทดสอบ โดยใช้ สูตร KR – 20 ซึ่งได้ ค่าความเชื่อมันเท่ ากับ 0.83
                        ่                                                      ่
                                  (รายละเอียดหน้ า 180 - 182)

                        ได้ แบบทดสอบไปใช้ จริงจานวน 30 ข้ อ(หน้ า 151– 157)
4. การสร้ างแบบสอบถามความคิดเห็น
ศึกษาหลักเกณฑ์ วิธีการ ในการสร้ างแบบสอบถามความคิดเห็นจากเอกสารต่ าง ๆ

                        สร้ างแบบสอบถามความคิดเห็น

           นาแบบสอบถามความความคิดเห็นไปให้ อาจารย์ ทปรึกษา
                                                    ี่
                  ตรวจสอบความเหมาะสมของคาถาม

     นาแบบสอบถามความคิดเห็นไปให้ ผู้เชี่ยวชาญด้ านการวัดและประเมินผล
             (รายละเอียดหน้ า 104) ตรวจสอบความเหมาะสมของคาถาม
ซึ่งได้ ค่า IOC ของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ ากับ 1.00 (รายละเอียดหน้ า 198 - 199)

          ได้ แบบสอบถามความพึงพอใจไปใช้ จริง(หน้ า 158 – 159)
วิธีดาเนินการทดลองและเก็บข้ อมูล
   เตรียมความพร้ อมด้ านห้ องเรียน คอมพิวเตอร์ หูฟัง และติดตั้งเกมคอมพิวเตอร์
               ในเครื่องคอมพิวเตอร์ พร้ อมตรวจสอบการใช้ งาน

                                ทดสอบก่ อนเรียน

จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยดาเนินการตามแผนการจัดการเรียนรู้ ท้ง 9 แผน ซึ่งดาเนินตาม
                                                            ั
    แนวทางสตอรี่ไลน์ โดยใช้ เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาทเป็ นสื่ อการสอน

                                ทดสอบหลังเรียน

                       นักเรียนทาแบบสอบถามความคิดเห็น

                  รวบรวมข้ อมูล วิเคราะห์ สรุ ปและอภิปรายผล
สถิตทใช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล
                    ิ ่ี

1. การหาค่ าเฉลีย ( X )
                ่
2. การหาค่ าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
3. การหาค่ าความเที่ยงตรงเชิงเนือหา (IOC)
                                  ้
4. การหาค่ าความยากง่ ายของแบบทดสอบ (p)
5. การหาค่ าอานาจจาแนกของแบบทดสอบ (r)
6. การหาค่ าความเชื่อมั่นใช้ สูตร KR-20 ของคูเดอร์ ริชาร์ ดสั น
7. การทดสอบความแตกต่ าง โดยใช้ สถิติ t-test แบบ dependence
8. การทดสอบความแตกต่ าง โดยใช้ สถิติ one way-ANOWA
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

ตอนที่ 1 ผลการเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาทตามแนวทาง
         สตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3

ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียน
         ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ทีมีความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ แตกต่ างกัน ก่อนและ
                                  ่
         หลังเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์
         วิชาวิทยาศาสตร์

ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ทีมีต่อการเรียน
                                                                       ่
         ด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์
         วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

ตอนที่ 1 ผลการเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาทตามแนวทาง
         สตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3

         กลุ่ม        N        คะแนนเต็ม    X       S.D.        t        P
     ก่อนเรียน        30          30        13.47   0.93     35.14**    0.00
     หลังเรียน        30          30        22.53   1.40
          **มีนัยสาคัญทางสถิตที่ระดับ .01
                             ิ

        จากตารางสรุปได้ ว่า ความสามารถในการคิดวิเคราะห์
    หลังเรียนสู งกว่ าก่อนเรียน อย่ างมีนัยสาคัญทางสถิติทระดับ .01
                                                         ี่
    (รายละเอียดหน้ า 82, 193-194 )
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
   ตาราง 4 การเปรียบเทียบผลการเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์
   วิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ทีมความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ แตกต่ างกัน
                                                       ่ ี
  แหล่งความ                       SS           df                MS                   F
  แปรปรวน
  ระหว่ างกลุ่ม                 36.47           3               18.24              8.68**
  ภายในกลุ่ม                    5.76           27               2.10
  รวม                           42.23          30
       **มีนัยสาคัญทางสถิตที่ระดับ .01
                          ิ
จากตารางสรุ ปได้ ว่า ความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนที่มี
ความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ แตกต่ างกัน ภายหลังการเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบ
เล่นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรี่ไลน์ มีความแตกต่ างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่
ระดับ .01 (รายละเอียดหน้ า 83,195-197 )
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
     ตาราง 5 การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ เป็ นรายคู่ของนักเรียน
             ทีมระดับความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ แตกต่ างกัน
               ่ ี
                                       ระดับความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์
             กลุ่มนักเรียน          L             M                    H
                                 (21.20)       (22.50)              (23.90)
                  L                 -            1.30                2.70*
                  M                                -                 1.40*
                  H                                                    -
                  *มีนัยสาคัญทางสถิตที่ระดับ .05
                                    ิ
จากตารางสรุ ปได้ ว่า นักเรี ยนที่มีระดับความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์สูง เมื่อเรี ยนด้วยเกม
คอมพิวเตอร์แบบเล่นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรี่ ไลน์ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ทาง
วิทยาศาสตร์สูงกว่านักเรี ยนที่มีระดับความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ปานกลางและต่า อย่างมีนยสาคัญ
                                                                                            ั
ทางสถิติที่ระดับ .05 และนักเรี ยนที่มีระดับความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ปานกลาง เมื่อเรี ยนด้วยเกม
คอมพิวเตอร์แบบเล่นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรี่ ไลน์ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ทาง
วิทยาศาสตร์สูงกว่านักเรี ยนที่มีระดับความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ต่า อย่างมีนยสาคัญทางสถิติท่ี
                                                                                   ั
ระดับ .05 (รายละเอียดหน้ า 83-84 )
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
    ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียน
              ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ที่มีความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ แตกต่ างกัน ก่ อนและ
              หลังเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์
    กลุ่มนักเรียน      ก่อนทดลอง                หลังทดลอง

                                   SD             SD       Md         S         t
          H           14.00        0.66   23.90   0.99     9.90      3.01    35.74**
         M            13.30        1.06   22.50   1.27     9.20      3.60    17.26**
          L           13.10        0.88   21.20   0.82     8.10      3.20    25.79**
       **มีนัยสาคัญทางสถิตที่ระดับ .01
                          ิ
จากตารางสรุ ปได้ ว่า นักเรียนทีมระดับความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ สูง ปานกลางและ
                                  ่ ี
ต่า หลังเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรี่ไลน์
วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์
สู งกว่ าก่ อนเรียน อย่ างมีนัยสาคัญทางสถิตทระดับ .01 (รายละเอียดหน้ า 83,183-192)
                                           ิ ี่
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
    ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ทีมต่อการเรียน
                                                                           ่ ี
             ด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์
             ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
                                                                          ระดับความคิดเห็น
ที่                       ประเด็นในการประเมิน
                                                                        x      S.D. คุณภาพ
1      เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท นาเสนอเนือหาวิชา
                                                     ้                4.47 0.55         มาก
       วิทยาศาสตร์ ได้ ถูกต้ อง
2      เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท ช่ วยให้ นักเรียนมีความรู้      4.10   0.55        มาก
       ความเข้ าใจ เรื่อง อาณาจักรสั ตว์ ได้ ง่ายขึน
                                                   ้
3      เกมคอมพิว เตอร์ แ บบเล่ น ตามบทบาท ช่ วยให้ นั ก เรี ย นเรี ย น 4.82   0.37   มากทีสุด
                                                                                          ่
       เนือหาทีเ่ ข้ าใจยากให้ เข้ าใจง่ ายขึน
          ้                                  ้
4      เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท ช่ วยให้ นักเรียน               4.23   0.63        มาก
       กระตือรือร้ นทีจะติดตามเรื่องราวในบทเรียนมากยิงขึน
                         ่                             ่ ้
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
       ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ทีมต่อการเรียน
                                                                              ่ ี
                ด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์
                ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 (ต่ อ)
                                                                                              ระดับความคิดเห็น
  ที่                           ประเด็นในการประเมิน                                                S.D. คุณภาพ
                                                                                            x
   5      นักเรียนรู้ สึกสนุกสนานกับเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาท                         4.31   0.71   มาก

   6      หลัง จากเรี ย นด้ ว ยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาทแล้ ว นั กเรี ย นสามารถน า   4.47   0.55   มาก
          ความรู้ ไปใช้ ในชีวตประจาวันได้
                             ิ
   7      หลังจากเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาทแล้วนักเรียนเกิดความรู้ ใหม่      4.18   0.69   มาก

   8      หลังจากเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาท นักเรียนชอบเรียนวิชา             4.03   0.61   มาก
          วิทยาศาสตร์ เพิมขึน
                         ่ ้
   9      นักเรียนพึงพอใจทีได้ เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ด้วยเกมคอมพิวเตอร์
                             ่                                                             4.13   0.63   มาก
          แบบเล่นตามบทบาท
                                            รวม                                            4.30   0.59   มาก

จากตาราง สรุปได้ ว่า นักเรียนมีความคิดเห็นต่ อการเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรี่ไลน์
วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 อยู่ในระดับมาก ( x = 4.30, S.D. = 059) (รายละเอียดหน้ า 84,200)
บทที่ 5 สรุ ป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ

สรุปผลการวิจย
            ั                อภิปรายผล               ข้ อเสนอแนะ

   ผลการเรียนรู้              ผลการเรียนรู้           ข้ อเสนอแนะ
                                                     ในการนาไปใช้
ผลเปรียบเทียบความสามารถ    ผลเปรียบเทียบความสามารถ
    ในการคิดวิเคราะห์          ในการคิดวิเคราะห์
                                                        ข้ อเสนอแนะ
                                                        เพือการวิจัย
                                                            ่
   ผลการศึกษา                 ผลการศึกษา                   ครั้งต่ อไป
   ความคิดเห็น                ความคิดเห็น
บทที่ 5 สรุ ป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ

       ผลการเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์
วิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 พบว่ า คะแนนเฉลียความสามารถใน
                                                                      ่
การคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนก่ อนเรียนเท่ ากับ 13.47 ส่ วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน 0.93 และคะแนนเฉลียความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ ของ
                                   ่
นักเรียนหลังเรียนเท่ ากับ 22.53 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.40 เมือเปรียบเทียบ
                                                                ่
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนระหว่ างก่อนเรียนและ
หลังเรียน พบว่ า คะแนนเฉลียความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ หลัง
                                 ่
เรียนสู งกว่ าก่ อนเรียนอย่ างมีนัยสาคัญทางสถิตทระดับ 0.01 สรุ ปได้ ว่า เกมคอมพิวเตอร์
                                               ิ ี่
แบบเล่นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ทา
ให้ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนสู งขึน       ้
บทที่ 5 สรุ ป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ

    ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ทีมีความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ แตกต่ างกัน ก่อนและหลัง
                         ่
เรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชา
วิทยาศาสตร์ พบว่ า นักเรียนทีมระดับความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ สูง ปาน
                                ่ ี
กลางและตา หลังเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรี่
            ่
ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทาง
วิทยาศาสตร์ สูงกว่ าก่ อนเรียน อย่ างมีนัยสาคัญทางสถิตทระดับ .01 โดยนักเรียนที่มี
                                                      ิ ี่
ระดับความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ สูงมีการเปลียนแปลงความสามารถในการคิด
                                                   ่
วิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ มากเป็ นอันดับแรก รองลงมาคือนักเรียนทีมีระดับ
                                                                  ่
ความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ ปานกลางและต่า ตามลาดับ
บทที่ 5 สรุ ป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ


3. ผลการวิเคราะห์ ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ทีมีต่อการเรียนด้ วย
                                                                 ่
เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ พบว่ า
นักเรียนมีความคิดเห็นต่ อการเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท ตาม
แนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 อยู่ในระดับมาก
อภิปรายผลการเรียนรู้

                   ผลการเรียนรู้ หลังเรียนสู งกว่ าก่ อนเรียน
                    อย่ างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01


       เกมคอมพิวเตอร์ แบบ                                     วิธีสอนแบบ
         เล่ นตามบทบาท                                         สตอรี่ไลน์

   สอดคล้ องผลการวิจัยของ ศรัญญา ผาเบ้ า (2551 : บทคัดย่ อ) นันทิดา ด้ วงอ่ วม (2547 :
บทคัดย่ อ) ได้ ศึกษาพบว่ า นักเรียนที่เรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ มีผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน
วิชาวิทยาศาสตร์ หลังเรียนสู งกว่ าก่ อนเรียน
อภิปรายผลการเปรียบเทียบความสามารถใน
                                การคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์
                        เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาท ตาม
                       แนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้น ม.3

  มีการผูกเรื่องแต่ ละตอนให้                เกมสอดแทรกเนื้อหา                      มีคาถามหลักเป็ นตัว
   เกิดขึนอย่างต่ อเนื่องและ
         ้                                วิทยาศาสตร์ แต่นกเรี ยน
                                                             ั                 เชื่อมโยงเรื่องราวทั้งหมด
     เรียงลาดับเหตุการณ์                   เรี ยนได้อย่างไม่น่าเบื่อ                   เข้ าด้ วยกัน
 แนวคิด : พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์          สนุกเพลิดเพลิน                  แนวคิด : วลัย พานิชและคณะ
           ยินดีสุข (2544:35)            แนวคิด : (Alessi and Trollip. 2001)            (ม.ป.ป. : 25)


  สอดคล้ องกับ สุ วิทย์ มูลคาและอรทัย มูลคา (2543 : 57) และผลการวิจัยของ จานงค์ ศรี
โมราและคณะ (2551 : บทคัดย่ อ) ที่พบว่ า ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียน
หลังเรียนด้ วยวิธีการสอนแบบสตอรี่ไลน์ สู งกว่ าก่ อนเรียน
อภิปรายผลการเปรียบเทียบความสามารถใน
                                การคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์
                        เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาท ตาม
                       แนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้น ม.3

  มีการผูกเรื่องแต่ ละตอนให้                เกมสอดแทรกเนื้อหา                      มีคาถามหลักเป็ นตัว
   เกิดขึนอย่างต่ อเนื่องและ
         ้                                วิทยาศาสตร์ แต่นกเรี ยน
                                                             ั                 เชื่อมโยงเรื่องราวทั้งหมด
     เรียงลาดับเหตุการณ์                   เรี ยนได้อย่างไม่น่าเบื่อ                   เข้ าด้ วยกัน
 แนวคิด : พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์          สนุกเพลิดเพลิน                  แนวคิด : วลัย พานิชและคณะ
           ยินดีสุข (2544:35)            แนวคิด : (Alessi and Trollip. 2001)            (ม.ป.ป. : 25)


  สอดคล้ องกับ สุ วิทย์ มูลคาและอรทัย มูลคา (2543 : 57) และผลการวิจัยของ จานงค์ ศรี
โมราและคณะ (2551 : บทคัดย่ อ) ที่พบว่ า ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียน
หลังเรียนด้ วยวิธีการสอนแบบสตอรี่ไลน์ สู งกว่ าก่ อนเรียน
อภิปรายผลความคิดเห็นต่ อการเรียน
                         ด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท
            ความคิดเห็นต่ อการเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท ตามแนวทาง
                  สตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 อยู่ใน ระดับมาก


             เกมฯผ่ านการ       เกมฯ มีเนือหาที่
                                             ้           เกมฯ ฝึ กการสั งเกต   เล่ นซ้าได้ จนกว่ าจะ
              ประเมินจาก          ต้ องฝึ กการคิด         การเก็บข้ อมูลเพือ
                                                                           ่    ผ่ านด่ านทาให้ ต้อง
          ผู้เชี่ยวชาญและมี   วิเคราะห์ และฉาก            ตอบคาถามเพือใช้
                                                                        ่       ใช้ ประสบการณ์ ที่
          ประสิ ทธิภาพสู ง    ต่ อสู้ ในแต่ ละด่ านที่    ในการผ่ านด่ านแต่     ได้ รับมาในแต่ ละ
          กว่ าเกณฑ์ 75/75        ตื่นเต้ น เร้ าใจ            ละด่ าน                   ครั้ง

   สอดคล้ อ งผลการวิ จั ย ของ ศุ ภ ดา เข็ ม ทอง (บทคั ด ย่ อ : 2546) สาวิ ต รี ดี สิ น ธุ์
(2551:บทคัดย่ อ) และวิชุตา เจริ ญสม (2549 : บทคัดย่ อ) ได้ ศึกษาพบว่ า นักเรียนมีความ
คิดเห็นในระดับมากและมากทีสุดต่ อการเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
                             ่
ข้ อเสนอแนะในการนาไปใช้

1.   เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรี่ไลน์ นี้ เหมาะสาหรับนาไปใช้
     ในการจัดการเรียนการสอนทีมเี นือหาแบบท่ องจาและต้ องอาศัยการคิดวิเคราะห์ ซึ่งอาจ
                                    ่ ้
     ทาให้ ผู้เรียนเกิดความเบือหน่ าย
                              ่
2.   เกมคอมพิวเตอร์ จะช่ วยให้ ผ้ ูเรียนเกิดความตื่นเต้ นเร้ าใจในการเรียนมากยิงขึน อีกทั้งยัง
                                                                               ่ ้
     สามารถพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ให้ สูงขึนอีกด้ วย  ้
3.   เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรี่ไลน์ นี้ เหมาะสาหรับนักเรียนที่
     มีทกษะในการอ่ านและตีความจากสิ่ งทีอ่านได้ จึงจะมีประสิ ทธิภาพสู งขึน
          ั                                  ่                               ้
4.   การเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ ต้องปฏิบติตามทุกกิจกรรมและต้ องมีการประเมินทุกครั้ง
                                               ั
     เพือนักเรียนได้ ทราบผลย้ อนกลับของตนเอง
        ่
ข้ อเสนอแนะในการวิจยครั้งต่ อไป
                                    ั

1. ควรมีการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ ในเนือหาวิชาอืนๆ และระดับชั้นอืนๆ
                                             ้       ่             ่
   เพราะการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ เกมคอมพิวเตอร์ สามารถกระตุ้นให้
   ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ได้ เป็ นอย่ างดี
2. ควรวิจัยเพือศึกษาตัวแปรทีเ่ กียวข้ องกับการเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ เช่ น
               ่                     ่
   เพศ อายุ พืนฐานวิชาวิทยาศาสตร์ พืนฐานคอมพิวเตอร์ เป็ นต้ น
                 ้                             ้
3. ควรพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ ทสามารถเลือกเนือหาหรือกิจกรรมที่เหมาะสม
                                       ี่          ้
   สาหรับนักเรียนที่มสติปัญญาแตกต่ างกัน
                       ี
4. ควรมีการวิจัยเกมคอมพิวเตอร์ ในรู ปแบบของเกมออนไลน์ เพือให้ ผ้ ูเรียน
                                                              ่
   สามารถทากิจกรรมร่ วมกันกับผู้เรียนอืนๆ ได้    ่
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอน
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอน
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอน
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอน
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอน
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอน
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอน
ขอขอบคุณ


ผศ.ดร.ฐาปนีย์   ธรรมเมธา              ประธานสอบวิทยานิพนธ์
ดร.อนิรุทธ์     สติมั่น           ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ หลัก
ผศ.ดร.อรพิณ     ศิริสัมพันธ์            ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ร่วม
ดร.เอกนฤน       บางท่ าไม้               ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ร่วม
ผศ.ดร.สุ รพล    บุญลือ            ผู้ทรงคุณวุฒิ
จบการนาเสนอ

More Related Content

Viewers also liked

CSUsponsorship2012
CSUsponsorship2012CSUsponsorship2012
CSUsponsorship2012
csmithcsu
 
TRA's 2009 Draft Law for Service Provider Licensing Regulation
TRA's 2009 Draft Law for Service Provider Licensing RegulationTRA's 2009 Draft Law for Service Provider Licensing Regulation
TRA's 2009 Draft Law for Service Provider Licensing Regulation
Lauren_ME
 
Formato modelo estrategico
Formato modelo estrategicoFormato modelo estrategico
Formato modelo estrategico
ligiaalcala
 
Final Policy Analysis Report (2012)
Final Policy Analysis Report (2012)Final Policy Analysis Report (2012)
Final Policy Analysis Report (2012)
Lauren_ME
 
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี
กระแสวัฒนธรรมเกาหลีกระแสวัฒนธรรมเกาหลี
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี
Dawloveyou
 
Final policy analysis presentation (2012)
Final policy analysis presentation (2012)Final policy analysis presentation (2012)
Final policy analysis presentation (2012)
Lauren_ME
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
Dawloveyou
 
Template mb-kao
Template mb-kaoTemplate mb-kao
Template mb-kao
xwcoder
 
Final policy analysis presentation
Final policy analysis presentationFinal policy analysis presentation
Final policy analysis presentation
Lauren_ME
 

Viewers also liked (20)

Как получить первых 1 000 посетителей в свой интернет магазин новичку?
Как получить первых 1 000 посетителей в свой интернет магазин новичку?Как получить первых 1 000 посетителей в свой интернет магазин новичку?
Как получить первых 1 000 посетителей в свой интернет магазин новичку?
 
CSUsponsorship2012
CSUsponsorship2012CSUsponsorship2012
CSUsponsorship2012
 
TRA's 2009 Draft Law for Service Provider Licensing Regulation
TRA's 2009 Draft Law for Service Provider Licensing RegulationTRA's 2009 Draft Law for Service Provider Licensing Regulation
TRA's 2009 Draft Law for Service Provider Licensing Regulation
 
Vebinar 3 новая
Vebinar 3 новаяVebinar 3 новая
Vebinar 3 новая
 
Ines.0
Ines.0Ines.0
Ines.0
 
Hansel i gretel victor
Hansel i gretel   victorHansel i gretel   victor
Hansel i gretel victor
 
Открой магазин за 5 минут
Открой магазин за 5 минутОткрой магазин за 5 минут
Открой магазин за 5 минут
 
How to configure feedback button on your eshopbox site
How to configure feedback button on your eshopbox siteHow to configure feedback button on your eshopbox site
How to configure feedback button on your eshopbox site
 
Как искать товарные ниши
Как искать товарные нишиКак искать товарные ниши
Как искать товарные ниши
 
El mus mus i la guixeta
El mus mus i la guixetaEl mus mus i la guixeta
El mus mus i la guixeta
 
Formato modelo estrategico
Formato modelo estrategicoFormato modelo estrategico
Formato modelo estrategico
 
Final Policy Analysis Report (2012)
Final Policy Analysis Report (2012)Final Policy Analysis Report (2012)
Final Policy Analysis Report (2012)
 
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี
กระแสวัฒนธรรมเกาหลีกระแสวัฒนธรรมเกาหลี
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี
 
Как найти хорошего поставщика в ваш интернет магазин?
Как найти хорошего поставщика в ваш интернет магазин?Как найти хорошего поставщика в ваш интернет магазин?
Как найти хорошего поставщика в ваш интернет магазин?
 
Lean Startup @ Université TOTAL 2016
Lean Startup @ Université TOTAL 2016Lean Startup @ Université TOTAL 2016
Lean Startup @ Université TOTAL 2016
 
Final policy analysis presentation (2012)
Final policy analysis presentation (2012)Final policy analysis presentation (2012)
Final policy analysis presentation (2012)
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
Template mb-kao
Template mb-kaoTemplate mb-kao
Template mb-kao
 
Final policy analysis presentation
Final policy analysis presentationFinal policy analysis presentation
Final policy analysis presentation
 
La caputxeta vermella adriana
La caputxeta vermella adrianaLa caputxeta vermella adriana
La caputxeta vermella adriana
 

Similar to Rpg thesis

Review Research test
Review Research testReview Research test
Review Research test
natawut
 
Review Research
Review ResearchReview Research
Review Research
tomranbo
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
Aon Narinchoti
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
Aon Narinchoti
 
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
tassanee chaicharoen
 
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวIs โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
Kaembum Soraya
 

Similar to Rpg thesis (20)

Review Research test
Review Research testReview Research test
Review Research test
 
962
962962
962
 
Review Research
Review ResearchReview Research
Review Research
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
รายงานความก้าวหน้า3
รายงานความก้าวหน้า3รายงานความก้าวหน้า3
รายงานความก้าวหน้า3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
 
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวIs โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
 

Rpg thesis

  • 1. ผลการใช้ เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ทีมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แตกต่ างกัน ่ ี ผู้วจัย ิ นายนวัช ปานสุ วรรณ รหัส 52257310 ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • 2. หัวข้ อการนาเสนอ บทที่ 1 : บทนา บทที่ 2 : เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ บทที่ 3 : วิธีดาเนินการวิจัย บทที่ 4 : ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล บทที่ 5 : สรุป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ
  • 3. บทที่ 1 : บทนา ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา ด้านผูสอนขาดสื่ อการ ้ สอนที่เหมาะสม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ปัญหา วิชาวิทยาศาสตร์ตกต่า ผูเ้ รี ยนขาดความสามารถ ทางการคิดวิเคราะห์
  • 4. วัตถุประสงค์ การวิจย ั 1. ศึกษาผลของการเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาทตาม แนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 2. เพือเปรียบเทียบความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ่ ทีมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แตกต่ างกัน ก่ อนและหลังเรียนด้ วย ่ ี เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ 3. เพือศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ทีมต่อการเรียนด้ วย ่ ่ ี เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
  • 5. สมมติฐานการวิจย ั 1. ผลการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ทีเ่ รียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ น ตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วชาวิทยาศาสตร์ หลังเรียนสู งกว่ าก่ อนเรียน ิ 2. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนที่มีระดับ ความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ แตกต่ างกัน ทีเ่ รียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบ เล่ นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ หลังเรียนสู งกว่ าก่ อนเรียน 3. นักเรียนทีมความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ สูง เมือเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ ่ ี ่ แบบเล่ นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ มีความสามารถใน การคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ หลังเรียนสู งกว่ าก่ อนเรียน
  • 6. สมมติฐานการวิจย ั 4. นักเรียนทีมความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ ปานกลาง เมือเรียนด้ วย ่ ี ่ เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ หลังเรียนสู งกว่ าก่ อนเรียน 5. นักเรียนที่มีความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ ต่า เมือเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ ่ แบบเล่ นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ มีความสามารถใน การคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ หลังเรียนสู งกว่ าก่ อนเรียน
  • 7. ขอบเขตการวิจย ั ประชากร กลุ่มตัวอย่ าง นักเรียน นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนบรรหารแจ่ มใสวิทยา 3 โรงเรียนบรรหารแจ่ มใสวิทยา 3 จานวน 8 ห้ องเรียน จานวน 30 คน รวม 400 คน
  • 8. ขอบเขตการวิจย ั ตัวแปรต้ น ตัวแปรตาม การเรียนด้ วยเกม ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คอมพิวเตอร์ แบบเล่น ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรี ยน ตามบทบาทตาม แนวทางสตอรี่ไลน์ ความคิดเห็นของนักเรี ยนที่มีต่อการเรี ยน ด้วยเกมคอมพิวเตอร์แบบเล่นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรี่ ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์
  • 9. ขอบเขตการวิจย ั 1. Phylum porifera เนือหา ้ 2. Phylum coelenterata 3. Phylum plathyhelminthes 4. Phylum nematoda อาณาจักรสั ตว์ 5. Phylum anelida วิชาวิทยาศาสตร์ 6. Phylum arthropoda ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 7. Phylum Mollusca 8. Phylum Echinodermata 9. Phylum Chordata ่ เหตุผลการเลือกเรื่ องนี้ : เป็ นเนื้อหาที่คอนข้างยาก มีคาศัพท์ทางวิทยาศาสตร์ จานวนมาก ผูเ้ รี ยนต้องอ่านและท่องจา สร้างความเบื่อหน่ายต่อผูเ้ รี ยน และผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนต่า
  • 11. นิยามศัพท์ เฉพาะ 2. เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาท หมายถึง โปรแกรม คอมพิวเตอร์ ทผู้เล่น จะต้ องเดินทางผจญภัยไปตามเนือเรื่อง โดย ี่ ้ จะต้ องมีการต่ อสู้ เกิดขึนในระหว่ างการดาเนินเรื่อง ซึ่งผลการ ้ เดินทาง มีท้งเป็ นการเพิมพลัง ลดพลังและคุณสมบัติอนที่ ั ่ ื่ เกียวข้ อง โดยรูปแบบของเกมนั้นจะถูกควบคุมด้ วยเนือเรื่องที่ ่ ้ ทางผู้สร้ างได้ สร้ างไว้
  • 12. นิยามศัพท์ เฉพาะ 3. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ศักยภาพในการคิด ซึ่งประกอบด้ วยทักษะสาคัญ 5 ด้ าน ได้ แก่ ทักษะด้ านการจาแนก ทักษะด้ านการจัดหมวดหมู่ ทักษะด้ านการ เชื่อมโยง ทักษะด้ านการสรุปความ และด้ านการประยุกต์ ซึ่งวัด จากแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทาง วิทยาศาสตร์ ที่สร้ างขึนตามหลักของมาร์ ซาโน(Marzano : ้ 2001) โดยมีลกษณะเป็ นข้ อคาถามแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ั
  • 13. นิยามศัพท์ เฉพาะ 4. ประสิ ทธิภาพของเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาทตาม เกณฑ์ 75/75 มีความหมายดังนี้ 4.1 75 ตัวแรก หมายถึง ประสิ ทธิภาพของกระบวนการ คือ ร้ อยละของคะแนนเฉลียของนักเรียนทั้งกลุ่มทีได้ จากการทา ่ ่ แบบทดสอบของทุกหน่ วย รวมทุกหน่ วย 4.2 75 ตัวหลัง หมายถึง ประสิ ทธิภาพของผลลัพธ์ คือ ร้ อย ละของคะแนนเฉลียของนักเรียนทั้งกลุ่มทีได้ จากการทา ่ ่ แบบทดสอบหลังเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบสตอรี่ไลน์ หน่ วยการเรียนรวมทุกหน่ วย
  • 14. นิยามศัพท์ เฉพาะ 5. ความคิดเห็นทีมีต่อการเรียน หมายถึง ความรู้สึกของนักเรียนทีมี ่ ่ ต่ อการเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาทตามแนวทาง สตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ โดยใช้ แบบสอบถามความคิดเห็นที่ ผู้วจยสร้ างขึนตามแนวทางของลิเคิร์ท (Likert) โดยมีลกษณะการวัด ิั ้ ั แบบมาตราส่ วนประมาณค่ า (Rating Scale) 5 ระดับ 6. นักเรียน หมายถึง ผู้ทศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ี่ โรงเรียนบรรหารแจ่ มใสวิทยา 3 อาเภอด่ านช้ าง จังหวัดสุ พรรณบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2554
  • 15. กรอบแนวคิด เกมคอมพิวเตอร์ ความสามารถในการคิด วิธีสอนแบบสตอรีไลน์ แบบเล่นตามบทบาท วิเคราะห์ (Story line Approach ) (Role-Playing Game) (Analyticaly thinking) การเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาท ตามแนวทางของสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ผลการเรียน ความสามารถในการคิด ความคิดเห็น ของนักเรียน วิเคราะห์ ของนักเรียน ทางวิทยาศาสตร์
  • 16. บทที่ 2 : เอกสารและงานวิจยทีเ่ กียวข้ อง ั ่ สื่ อการเรียนรู้ เกมคอมพิวเตอร์ หลักสู ตรกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ ปี พ.ศ. 2551 วิธีสอนแบบสตอรี่ไลน์ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ งานวิจยที่เกียวข้ อง ั ่
  • 17. บทที่ 3 : วิธีดาเนินการวิจย ั ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนบรรหารแจ่ มใสวิทยา 3 จานวน 8 ห้ องเรียน รวม 400 คน ภาคเรียนที่ 1/2554 สุ่ มอย่ างง่ ายโดยการจับสลาก กลุ่มตัวอย่ าง จานวน 2 ห้ องเรียน รวม 100 คน แบ่ งเป็ น 3 กลุ่มตามระดับความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ (ผลจากการ ประเมินในภาคเรียนที่ 1/2554) สุ่ มกลุ่มตัวอย่ างมากลุ่มละ 10 คน ได้ กลุ่มตัวอย่ างรวม 30 คน
  • 18. แบบแผนการวิจย ั การวิจยครั้งนี้เป็ นการวิจยเชิงทดลอง ใช้รูปแบบการวิจยแบบ ั ั ั Pretest-Posttest Design ที่มีการทดลองก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน (มาเรี ยม นิลพันธุ์ 2553:145) ดังแผนภาพ Group Pretest Treatment Posttest H T1 X T2 M T1 X T2 L T1 X T2 เมื่อ H คือ นักเรี ยนที่มีระดับความสามารถทางการคิดวิเคราะห์สูง M คือ นักเรี ยนที่มีระดับความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ปานกลาง L คือ นักเรี ยนที่มีระดับความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ต่า T1 คือ ทดสอบวัดความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ก่อนเรี ยน X คือ การเรี ยนด้วยเกมคอมพิวเตอร์แบบเล่นตามบทบาทตาม แนวทางสตอรี ไลน์ T2 คือ ทดสอบวัดความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์หลังเรี ยน
  • 19. เครื่องมือทีใช้ ในการวิจย ่ ั 1. แผนจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 2. เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาทตามแนวทางสตอรีไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 3. แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ 4. แบบสอบถามความคิดเห็นสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ที่มีต่อ เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาทตามแนวทางสตอรีไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์
  • 20. 1. การสร้ างแผนการจัดการเรียนรู้ ศึกษาเอกสารเกียวกับหลักสู ตรและการสอนแบบสตอรี่ไลน์ ่ กาหนดเนือหา สาระการเรียนรู้ การวัดประเมินผล ้ ศึกษาวิธีการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ จากเอกสารและงานวิจัยต่ างๆ สร้ างแผนการจัดการเรียนรู้ ตามแนวทางสตอรี่ไลน์ เสนอแผนการจัดการเรียนรู้ ต่ออาจารย์ ทปรึกษา ี่ ให้ ผู้เชี่ยวชาญด้ านเนือหา (รายชื่อหน้ า 104) ้ ตรวจสอบความสอดคล้ อง ซึ่งได้ ค่า IOC เท่ ากับ 1.00 (รายละเอียดหน้ า 161) ได้ แผนการจัดการเรียนรู้ ไปใช้ จริง(หน้ า 106 - 157)
  • 21. 2. การสร้ างเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท ศึกษาเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กียวข้ องกับการสร้ างเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท ่ ทาการเขียนแผนโครงเรื่อง (Storyboard) แล้ วนาไปเสนอต่ ออาจารย์ ทปรึกษา ี่ สร้ างเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรีไลน์ ให้ ผู้เชี่ยวชาญด้ านเนือหาและด้ านการออกแบบประเมินคุณภาพเกมคอมพิวเตอร์ (รายชื่อหน้ า 104) ้ ด้ านเนือหา ค่ าเฉลียเท่ ากับ 4.78 ด้ านสื่ อมัลติมเี ดียค่ าเฉลียเท่ ากับ 4.26 (รายละเอียดหน้ า 165-166) ้ ่ ่ นาเกมคอมพิวเตอร์ ไปหาประสิ ทธิภาพกับนักเรียนทีไม่ ใช่ กลุ่มตัวอย่ าง ครั้งที่ 1 จานวน 3 คน ได้ ค่า ่ ประสิ ทธิภาพ E1 / E2 เท่ ากับ 71.85 / 71.11 ซึ่งสู งกว่ าเกณฑ์ ทกาหนด 75/75 (รายละเอียดหน้ า 167) ี่ นาเกมคอมพิวเตอร์ ทผ่านการแก้ ไขไปหาประสิ ทธิภาพกับนักเรียนทีไม่ ใช่ กลุ่มตัวอย่ าง ครั้งที่ 2 จานวน 12 ี่ ่ คน ได้ ค่าประสิ ทธิภาพ E1 / E2 เท่ ากับ 76.85 / 76.11 ซึ่งสู งกว่ าเกณฑ์ ทกาหนด 75/75 ี่ (รายละเอียดหน้ า 169)
  • 22. 2. การสร้ างเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท นาเกมคอมพิวเตอร์ ทผ่านการแก้ ไขไปหาประสิ ทธิภาพกับนักเรียนทีไม่ ใช่ กลุ่มตัวอย่ าง ครั้งที่ 3 ี่ ่ จานวน 30 คน ได้ ค่าประสิ ทธิภาพ E1 / E2 เท่ ากับ 77.37 / 76.11 ซึ่งสู งกว่ าเกณฑ์ ทกาหนด 75/75 ี่ (รายละเอียดหน้ า 171) ได้ เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ไปใช้ จริง (ตัวอย่ างหน้ า 202 – 226)
  • 32. 3. การสร้ างแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ศึกษาวิเคราะห์ หลักสู ตร/ เนือหา/ การสร้ างแบบทดสอบวัดความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ ้ สร้ างตารางวิเคราะห์ ข้อสอบและสร้ างแบบทดสอบวัดความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ จานวน 60 ข้ อ นาแบบทดสอบทีสร้ างขึนไปให้ ผ้ ูเชี่ยวชาญด้ านเนือหา (รายชื่อหน้ า 104) ตรวจสอบความสอดคล้ องซึ่งได้ ค่า ่ ้ ้ IOC เท่ ากับ 0.84 (รายละเอียดหน้ า 174) นาแบบทดสอบไปทดลองใช้ กบนักเรียนทีเ่ คยเรียน เรื่อง อาณาจักรสั ตว์ จานวน 30 คน ั นาผลมาวิเคราะห์ หาค่ าความยากง่ าย(p) และค่ าอานาจจาแนก (r) คัดเลือกข้ อสอบจานวน 30 ข้ อซึ่งได้ ค่า p อยู่ระหว่ าง 0.31 – 0.69 และค่ า r อยู่ระหว่ าง 0.25 – 0.75 (หน้ า 177 - 179) หาค่ าความเชื่อมันของแบบทดสอบ โดยใช้ สูตร KR – 20 ซึ่งได้ ค่าความเชื่อมันเท่ ากับ 0.83 ่ ่ (รายละเอียดหน้ า 180 - 182) ได้ แบบทดสอบไปใช้ จริงจานวน 30 ข้ อ(หน้ า 151– 157)
  • 33. 4. การสร้ างแบบสอบถามความคิดเห็น ศึกษาหลักเกณฑ์ วิธีการ ในการสร้ างแบบสอบถามความคิดเห็นจากเอกสารต่ าง ๆ สร้ างแบบสอบถามความคิดเห็น นาแบบสอบถามความความคิดเห็นไปให้ อาจารย์ ทปรึกษา ี่ ตรวจสอบความเหมาะสมของคาถาม นาแบบสอบถามความคิดเห็นไปให้ ผู้เชี่ยวชาญด้ านการวัดและประเมินผล (รายละเอียดหน้ า 104) ตรวจสอบความเหมาะสมของคาถาม ซึ่งได้ ค่า IOC ของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ ากับ 1.00 (รายละเอียดหน้ า 198 - 199) ได้ แบบสอบถามความพึงพอใจไปใช้ จริง(หน้ า 158 – 159)
  • 34. วิธีดาเนินการทดลองและเก็บข้ อมูล เตรียมความพร้ อมด้ านห้ องเรียน คอมพิวเตอร์ หูฟัง และติดตั้งเกมคอมพิวเตอร์ ในเครื่องคอมพิวเตอร์ พร้ อมตรวจสอบการใช้ งาน ทดสอบก่ อนเรียน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยดาเนินการตามแผนการจัดการเรียนรู้ ท้ง 9 แผน ซึ่งดาเนินตาม ั แนวทางสตอรี่ไลน์ โดยใช้ เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาทเป็ นสื่ อการสอน ทดสอบหลังเรียน นักเรียนทาแบบสอบถามความคิดเห็น รวบรวมข้ อมูล วิเคราะห์ สรุ ปและอภิปรายผล
  • 35. สถิตทใช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ิ ่ี 1. การหาค่ าเฉลีย ( X ) ่ 2. การหาค่ าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 3. การหาค่ าความเที่ยงตรงเชิงเนือหา (IOC) ้ 4. การหาค่ าความยากง่ ายของแบบทดสอบ (p) 5. การหาค่ าอานาจจาแนกของแบบทดสอบ (r) 6. การหาค่ าความเชื่อมั่นใช้ สูตร KR-20 ของคูเดอร์ ริชาร์ ดสั น 7. การทดสอบความแตกต่ าง โดยใช้ สถิติ t-test แบบ dependence 8. การทดสอบความแตกต่ าง โดยใช้ สถิติ one way-ANOWA
  • 36. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล ตอนที่ 1 ผลการเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาทตามแนวทาง สตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ทีมีความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ แตกต่ างกัน ก่อนและ ่ หลังเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ทีมีต่อการเรียน ่ ด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
  • 37. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล ตอนที่ 1 ผลการเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาทตามแนวทาง สตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 กลุ่ม N คะแนนเต็ม X S.D. t P ก่อนเรียน 30 30 13.47 0.93 35.14** 0.00 หลังเรียน 30 30 22.53 1.40 **มีนัยสาคัญทางสถิตที่ระดับ .01 ิ จากตารางสรุปได้ ว่า ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ หลังเรียนสู งกว่ าก่อนเรียน อย่ างมีนัยสาคัญทางสถิติทระดับ .01 ี่ (รายละเอียดหน้ า 82, 193-194 )
  • 38. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล ตาราง 4 การเปรียบเทียบผลการเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ทีมความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ แตกต่ างกัน ่ ี แหล่งความ SS df MS F แปรปรวน ระหว่ างกลุ่ม 36.47 3 18.24 8.68** ภายในกลุ่ม 5.76 27 2.10 รวม 42.23 30 **มีนัยสาคัญทางสถิตที่ระดับ .01 ิ จากตารางสรุ ปได้ ว่า ความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนที่มี ความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ แตกต่ างกัน ภายหลังการเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบ เล่นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรี่ไลน์ มีความแตกต่ างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 (รายละเอียดหน้ า 83,195-197 )
  • 39. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล ตาราง 5 การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ เป็ นรายคู่ของนักเรียน ทีมระดับความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ แตกต่ างกัน ่ ี ระดับความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ กลุ่มนักเรียน L M H (21.20) (22.50) (23.90) L - 1.30 2.70* M - 1.40* H - *มีนัยสาคัญทางสถิตที่ระดับ .05 ิ จากตารางสรุ ปได้ ว่า นักเรี ยนที่มีระดับความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์สูง เมื่อเรี ยนด้วยเกม คอมพิวเตอร์แบบเล่นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรี่ ไลน์ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ทาง วิทยาศาสตร์สูงกว่านักเรี ยนที่มีระดับความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ปานกลางและต่า อย่างมีนยสาคัญ ั ทางสถิติที่ระดับ .05 และนักเรี ยนที่มีระดับความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ปานกลาง เมื่อเรี ยนด้วยเกม คอมพิวเตอร์แบบเล่นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรี่ ไลน์ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ทาง วิทยาศาสตร์สูงกว่านักเรี ยนที่มีระดับความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ต่า อย่างมีนยสาคัญทางสถิติท่ี ั ระดับ .05 (รายละเอียดหน้ า 83-84 )
  • 40. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ที่มีความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ แตกต่ างกัน ก่ อนและ หลังเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มนักเรียน ก่อนทดลอง หลังทดลอง SD SD Md S t H 14.00 0.66 23.90 0.99 9.90 3.01 35.74** M 13.30 1.06 22.50 1.27 9.20 3.60 17.26** L 13.10 0.88 21.20 0.82 8.10 3.20 25.79** **มีนัยสาคัญทางสถิตที่ระดับ .01 ิ จากตารางสรุ ปได้ ว่า นักเรียนทีมระดับความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ สูง ปานกลางและ ่ ี ต่า หลังเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ สู งกว่ าก่ อนเรียน อย่ างมีนัยสาคัญทางสถิตทระดับ .01 (รายละเอียดหน้ า 83,183-192) ิ ี่
  • 41. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ทีมต่อการเรียน ่ ี ด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ระดับความคิดเห็น ที่ ประเด็นในการประเมิน x S.D. คุณภาพ 1 เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท นาเสนอเนือหาวิชา ้ 4.47 0.55 มาก วิทยาศาสตร์ ได้ ถูกต้ อง 2 เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท ช่ วยให้ นักเรียนมีความรู้ 4.10 0.55 มาก ความเข้ าใจ เรื่อง อาณาจักรสั ตว์ ได้ ง่ายขึน ้ 3 เกมคอมพิว เตอร์ แ บบเล่ น ตามบทบาท ช่ วยให้ นั ก เรี ย นเรี ย น 4.82 0.37 มากทีสุด ่ เนือหาทีเ่ ข้ าใจยากให้ เข้ าใจง่ ายขึน ้ ้ 4 เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท ช่ วยให้ นักเรียน 4.23 0.63 มาก กระตือรือร้ นทีจะติดตามเรื่องราวในบทเรียนมากยิงขึน ่ ่ ้
  • 42. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ทีมต่อการเรียน ่ ี ด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 (ต่ อ) ระดับความคิดเห็น ที่ ประเด็นในการประเมิน S.D. คุณภาพ x 5 นักเรียนรู้ สึกสนุกสนานกับเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาท 4.31 0.71 มาก 6 หลัง จากเรี ย นด้ ว ยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาทแล้ ว นั กเรี ย นสามารถน า 4.47 0.55 มาก ความรู้ ไปใช้ ในชีวตประจาวันได้ ิ 7 หลังจากเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาทแล้วนักเรียนเกิดความรู้ ใหม่ 4.18 0.69 มาก 8 หลังจากเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาท นักเรียนชอบเรียนวิชา 4.03 0.61 มาก วิทยาศาสตร์ เพิมขึน ่ ้ 9 นักเรียนพึงพอใจทีได้ เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ด้วยเกมคอมพิวเตอร์ ่ 4.13 0.63 มาก แบบเล่นตามบทบาท รวม 4.30 0.59 มาก จากตาราง สรุปได้ ว่า นักเรียนมีความคิดเห็นต่ อการเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 อยู่ในระดับมาก ( x = 4.30, S.D. = 059) (รายละเอียดหน้ า 84,200)
  • 43. บทที่ 5 สรุ ป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ สรุปผลการวิจย ั อภิปรายผล ข้ อเสนอแนะ ผลการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ข้ อเสนอแนะ ในการนาไปใช้ ผลเปรียบเทียบความสามารถ ผลเปรียบเทียบความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ ในการคิดวิเคราะห์ ข้ อเสนอแนะ เพือการวิจัย ่ ผลการศึกษา ผลการศึกษา ครั้งต่ อไป ความคิดเห็น ความคิดเห็น
  • 44. บทที่ 5 สรุ ป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ ผลการเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 พบว่ า คะแนนเฉลียความสามารถใน ่ การคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนก่ อนเรียนเท่ ากับ 13.47 ส่ วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 0.93 และคะแนนเฉลียความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ ของ ่ นักเรียนหลังเรียนเท่ ากับ 22.53 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.40 เมือเปรียบเทียบ ่ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนระหว่ างก่อนเรียนและ หลังเรียน พบว่ า คะแนนเฉลียความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ หลัง ่ เรียนสู งกว่ าก่ อนเรียนอย่ างมีนัยสาคัญทางสถิตทระดับ 0.01 สรุ ปได้ ว่า เกมคอมพิวเตอร์ ิ ี่ แบบเล่นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ทา ให้ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนสู งขึน ้
  • 45. บทที่ 5 สรุ ป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ทีมีความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ แตกต่ างกัน ก่อนและหลัง ่ เรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชา วิทยาศาสตร์ พบว่ า นักเรียนทีมระดับความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ สูง ปาน ่ ี กลางและตา หลังเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรี่ ่ ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทาง วิทยาศาสตร์ สูงกว่ าก่ อนเรียน อย่ างมีนัยสาคัญทางสถิตทระดับ .01 โดยนักเรียนที่มี ิ ี่ ระดับความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ สูงมีการเปลียนแปลงความสามารถในการคิด ่ วิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ มากเป็ นอันดับแรก รองลงมาคือนักเรียนทีมีระดับ ่ ความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ ปานกลางและต่า ตามลาดับ
  • 46. บทที่ 5 สรุ ป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ 3. ผลการวิเคราะห์ ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ทีมีต่อการเรียนด้ วย ่ เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาทตามแนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ พบว่ า นักเรียนมีความคิดเห็นต่ อการเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท ตาม แนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 อยู่ในระดับมาก
  • 47. อภิปรายผลการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ หลังเรียนสู งกว่ าก่ อนเรียน อย่ างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เกมคอมพิวเตอร์ แบบ วิธีสอนแบบ เล่ นตามบทบาท สตอรี่ไลน์ สอดคล้ องผลการวิจัยของ ศรัญญา ผาเบ้ า (2551 : บทคัดย่ อ) นันทิดา ด้ วงอ่ วม (2547 : บทคัดย่ อ) ได้ ศึกษาพบว่ า นักเรียนที่เรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ มีผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ หลังเรียนสู งกว่ าก่ อนเรียน
  • 48. อภิปรายผลการเปรียบเทียบความสามารถใน การคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาท ตาม แนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้น ม.3 มีการผูกเรื่องแต่ ละตอนให้ เกมสอดแทรกเนื้อหา มีคาถามหลักเป็ นตัว เกิดขึนอย่างต่ อเนื่องและ ้ วิทยาศาสตร์ แต่นกเรี ยน ั เชื่อมโยงเรื่องราวทั้งหมด เรียงลาดับเหตุการณ์ เรี ยนได้อย่างไม่น่าเบื่อ เข้ าด้ วยกัน แนวคิด : พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ สนุกเพลิดเพลิน แนวคิด : วลัย พานิชและคณะ ยินดีสุข (2544:35) แนวคิด : (Alessi and Trollip. 2001) (ม.ป.ป. : 25) สอดคล้ องกับ สุ วิทย์ มูลคาและอรทัย มูลคา (2543 : 57) และผลการวิจัยของ จานงค์ ศรี โมราและคณะ (2551 : บทคัดย่ อ) ที่พบว่ า ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียน หลังเรียนด้ วยวิธีการสอนแบบสตอรี่ไลน์ สู งกว่ าก่ อนเรียน
  • 49. อภิปรายผลการเปรียบเทียบความสามารถใน การคิดวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่นตามบทบาท ตาม แนวทางสตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้น ม.3 มีการผูกเรื่องแต่ ละตอนให้ เกมสอดแทรกเนื้อหา มีคาถามหลักเป็ นตัว เกิดขึนอย่างต่ อเนื่องและ ้ วิทยาศาสตร์ แต่นกเรี ยน ั เชื่อมโยงเรื่องราวทั้งหมด เรียงลาดับเหตุการณ์ เรี ยนได้อย่างไม่น่าเบื่อ เข้ าด้ วยกัน แนวคิด : พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ สนุกเพลิดเพลิน แนวคิด : วลัย พานิชและคณะ ยินดีสุข (2544:35) แนวคิด : (Alessi and Trollip. 2001) (ม.ป.ป. : 25) สอดคล้ องกับ สุ วิทย์ มูลคาและอรทัย มูลคา (2543 : 57) และผลการวิจัยของ จานงค์ ศรี โมราและคณะ (2551 : บทคัดย่ อ) ที่พบว่ า ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียน หลังเรียนด้ วยวิธีการสอนแบบสตอรี่ไลน์ สู งกว่ าก่ อนเรียน
  • 50. อภิปรายผลความคิดเห็นต่ อการเรียน ด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท ความคิดเห็นต่ อการเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท ตามแนวทาง สตอรี่ไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 อยู่ใน ระดับมาก เกมฯผ่ านการ เกมฯ มีเนือหาที่ ้ เกมฯ ฝึ กการสั งเกต เล่ นซ้าได้ จนกว่ าจะ ประเมินจาก ต้ องฝึ กการคิด การเก็บข้ อมูลเพือ ่ ผ่ านด่ านทาให้ ต้อง ผู้เชี่ยวชาญและมี วิเคราะห์ และฉาก ตอบคาถามเพือใช้ ่ ใช้ ประสบการณ์ ที่ ประสิ ทธิภาพสู ง ต่ อสู้ ในแต่ ละด่ านที่ ในการผ่ านด่ านแต่ ได้ รับมาในแต่ ละ กว่ าเกณฑ์ 75/75 ตื่นเต้ น เร้ าใจ ละด่ าน ครั้ง สอดคล้ อ งผลการวิ จั ย ของ ศุ ภ ดา เข็ ม ทอง (บทคั ด ย่ อ : 2546) สาวิ ต รี ดี สิ น ธุ์ (2551:บทคัดย่ อ) และวิชุตา เจริ ญสม (2549 : บทคัดย่ อ) ได้ ศึกษาพบว่ า นักเรียนมีความ คิดเห็นในระดับมากและมากทีสุดต่ อการเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ่
  • 51. ข้ อเสนอแนะในการนาไปใช้ 1. เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรี่ไลน์ นี้ เหมาะสาหรับนาไปใช้ ในการจัดการเรียนการสอนทีมเี นือหาแบบท่ องจาและต้ องอาศัยการคิดวิเคราะห์ ซึ่งอาจ ่ ้ ทาให้ ผู้เรียนเกิดความเบือหน่ าย ่ 2. เกมคอมพิวเตอร์ จะช่ วยให้ ผ้ ูเรียนเกิดความตื่นเต้ นเร้ าใจในการเรียนมากยิงขึน อีกทั้งยัง ่ ้ สามารถพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ให้ สูงขึนอีกด้ วย ้ 3. เกมคอมพิวเตอร์ แบบเล่ นตามบทบาท ตามแนวทางสตอรี่ไลน์ นี้ เหมาะสาหรับนักเรียนที่ มีทกษะในการอ่ านและตีความจากสิ่ งทีอ่านได้ จึงจะมีประสิ ทธิภาพสู งขึน ั ่ ้ 4. การเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ ต้องปฏิบติตามทุกกิจกรรมและต้ องมีการประเมินทุกครั้ง ั เพือนักเรียนได้ ทราบผลย้ อนกลับของตนเอง ่
  • 52. ข้ อเสนอแนะในการวิจยครั้งต่ อไป ั 1. ควรมีการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ ในเนือหาวิชาอืนๆ และระดับชั้นอืนๆ ้ ่ ่ เพราะการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ เกมคอมพิวเตอร์ สามารถกระตุ้นให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ได้ เป็ นอย่ างดี 2. ควรวิจัยเพือศึกษาตัวแปรทีเ่ กียวข้ องกับการเรียนด้ วยเกมคอมพิวเตอร์ เช่ น ่ ่ เพศ อายุ พืนฐานวิชาวิทยาศาสตร์ พืนฐานคอมพิวเตอร์ เป็ นต้ น ้ ้ 3. ควรพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ ทสามารถเลือกเนือหาหรือกิจกรรมที่เหมาะสม ี่ ้ สาหรับนักเรียนที่มสติปัญญาแตกต่ างกัน ี 4. ควรมีการวิจัยเกมคอมพิวเตอร์ ในรู ปแบบของเกมออนไลน์ เพือให้ ผ้ ูเรียน ่ สามารถทากิจกรรมร่ วมกันกับผู้เรียนอืนๆ ได้ ่
  • 60. ขอขอบคุณ ผศ.ดร.ฐาปนีย์ ธรรมเมธา ประธานสอบวิทยานิพนธ์ ดร.อนิรุทธ์ สติมั่น ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ หลัก ผศ.ดร.อรพิณ ศิริสัมพันธ์ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ร่วม ดร.เอกนฤน บางท่ าไม้ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ร่วม ผศ.ดร.สุ รพล บุญลือ ผู้ทรงคุณวุฒิ