SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา
                                                                                                วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล
                                                                       ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร
                                                                      มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
                                                              wuttisak@pochanukul.com, http://www.pochanukul.com


         การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action research) คือ กระบวนการวิจัยเพื่อการปรับปรุง พัฒนา และเพิ่ม
พลังความสามารถของบุคคลในการปฏิบัติงาน โดยมีลักษณะเปนการเรียนรูโดยการทํางาน กําหนดปญหา
ที่ตองการแกไข ทดลองปรับปรุงการทํางานเพื่อศึกษาผลการพัฒนา วิเคราะหแนวทางการปฏิบัติงานที่
ประสบความสํ า เร็ จ สะท อนความคิดและแบงปนประสบการณ และ นําประสบการณที่ไ ด ไปสูก าร
ปรับปรุงพัฒนาการปฏิบัติงานในครั้งตอๆไป (Brien, 1998)
         การวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Action Research) เปนกระบวนการในการแกปญหาหรือพัฒนา
กระบวนการจัดการเรียนรูในชั้นเรียนที่ครูรับผิดชอบอยางเปนระบบ เพื่อสืบคนใหไดสาเหตุของปญหา
แล ว หาวิ ธี แ ก ไ ขหรื อ พั ฒ นาที่ เ ชื่ อ ถื อ ได เช น การสั ง เกต จดบั น ทึ ก และวิ เ คราะห ห รื อ สั ง เคราะห
เพื่อนําไปสูการแกปญหาหรือพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนของครู และพัฒนาการเรียนรูของ
ผูเรียนใหมีคุณภาพตามเปาหมายที่กําหนดไว เพื่อสงเสริมผูเรียนใหไดรับการพัฒนาตามธรรมชาติและ
เต็มตามศักยภาพ(ไพจิตร สะดวกการ และ ศิริกาญจน โกสุมภ, 2545) ดังนั้น ดวยบทบาทของครูใน
ภาระหนาที่ของการออกแบบการเรียนการสอน การจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม สื่อการเรียน และการ
อํานวยความสะดวกใหผูเรียนเกิดการเรียนรู จึงทําใหครูตองเปลี่ยนบทบาทจากผูสอนมาเปนผูวิจัยเพื่อ
พัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมการเรียนรูของผูเรียนเพื่อพัฒนาและแกปญหาตางที่
เกิดขึ้นจากการจัดการเรียนการสอน การวิจัยในชั้นเรียน จึงเปนปจจัยที่มีความจําเปนอยางยิ่งตอการ
พัฒนาการจัดการศึกษาและวิชาชีพครู

         หลักการการวิจยในชั้นเรียน (วิทยา ใจวิถี, มปป.)
                      ั
         - การวิจัยในชั้นเรียน เปนกระบวนการแกปญหา และพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีเปาหมาย
ที่สําคัญคือ การพัฒนาผูเรียนใหเปนบุคคลแหงการเรียนรู มีจิตใจที่ดีงาม และดํารงชีวิตอยูในสังคมได
อยางมีความสุข
         - การวิจัยในชั้นเรียน เปนกระบวนการแกปญหาแบบการมีสวนรวมระหวางผูสอนกับผูเรียน
อยางแทจริงที่ตอบสนองการเรียนรูที่เปนธรรมชาติ รวมทั้งพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยางเปนระบบ
การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา                                                                      2

       - การวิจัยในชั้นเรียน มุงแกปญหาที่เกิดจากการจัดกิจกรรมการเรียนรูในชั้นเรียนเปนครั้ง ๆ ไป
เปนการวิจัยปญหาของผูเรียนในชั้นเรียนของตนเอง เพื่อแกปญหาการเรียนการสอนเฉพาะชั้นเรียนนั้นๆ
       - เปาหมายที่สําคัญของการวิจัยในชั้นเรียน คือ การวิจัยเพื่อสรางและพัฒนางาน พัฒนาคน
และพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา และองคความรูในศาสตรสาขาตาง ๆ ที่เปนประโยชนตอการ
พัฒนากระบวนการเรียนรูที่สอดคลองและเหมาะสมกับความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกทั้งในปจจุบัน
และอนาคตตอไป

         ขอบเขตการทําวิจัยในชั้นเรียน (วิทยา ใจวิถี, มปป.)
         - การวิจัยในชั้นเรียน กลุมตัวอยางและเปาหมายของการวิจัยจะใชกลุมตัวอยางขนาดเล็ก ใช
ศึกษาในหองเรียนใดหองเรียนหนึ่งและมีเปาหมายคือการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน เพราะเชื่อวา
ถาครูใชกิจกรรมการสอนที่ดีและเหมาะสมกับผูเรียนยอมมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและบรรลุเปาหมาย
ทางการพัฒนานักเรียน
         - การวิจัยในชั้นเรียน เปนการวิจัยโดยครูผูสอนในหองเรียนกับนักเรียนเพื่อแกปญหาหรือ
พัฒนาการเรียนการสอนในวิชาที่ครูรับผิดชอบ
         - ขอบเขตการวิจัยในชั้นเรียนนั้นจะใหความสําคัญกับการคิดคนพัฒนานวัตกรรมเพื่อแกปญหา
หรือพัฒนาการเรียนการสอนอยางเหมาะสม

     ความแตกตางระหวางการวิจัยในชั้นเรียน กับ การวิจัยทางการศึกษา (อุทุมพร จามรมาน, 2545)
            รายการ                      การวิจัยในชั้นเรียน                        การวิจัยทางการศึกษา
1. ใครทํา                     ครูประจําการ                             ครูที่วาง นิสิต นักศึกษา ที่ทําวิทยานิพนธ
                                                                       นักการศึกษา
2. ทําอะไร                    แกปญหานักเรียน บางคน บางเรื่อง         แกปญหาทางการศึกษา
3. เริ่มที่ไหน                สังเกตวานักเรียนบางคนเรียน ไมทัน       การทบทวนรายงานวิจัยที่เกี่ยวของ
                              เพื่อน มีพฤติกรรมแตกตางจากกลุม
4. ทําที่ไหน                  ในหอง/โรงเรียน                          ในหอง/โรงเรียน ที่อื่นๆ
5. การออกแบบการวิจัย          ไมตอง (อยางเปนทางการ)                ตอง
6. สรางเครื่องมือวัด         ไมตอง ครูคือเครื่องมือเก็บขอมูลโดย    ตอง เชน แบบสอบถาม แบบสํารวจ แบบ
                              การสังเกต ซักถาม                         สัมภาษณ แบบวัดตาง ๆ แบบทดสอบ
7. ระบุประชากร กลุม          ไมตองใชเลือกเฉพาะนักเรียนที่เปน      ตอง
    ตัวอยางหรือไม           ปญหา
8. เก็บขอมูลนานหรือไม       ไมนาน                                   นาน
9. ใชเวลาทํานานเทาไร        2 วัน – 2 สัปดาห                        1 ปการศึกษาเปนอยางนอย
10. ใน 1 ภาค การศึกษาทํา      หลายเรื่อง                               อาจได 1 เรื่อง
    ไดกี่เรื่อง

                                                วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา                                                                   3

               รายการ                     การวิจัยในชั้นเรียน                       การวิจัยทางการศึกษา
11.   ใชสถิติหรือไม           ไม                                      ตอง
12.   ทําเมื่อไร                ทําไปสอนไป                               หนีสอนไปทํา
13.   ทําเพื่ออะไร              เพื่อแกปญหานักเรียน
                                                                        เพื่อขอเปนผลงาน/องคความรู
14.   ความยาว/เรื่อง            2 – 3 หนา                               5 บท
15.   เสียคาใชจายหรือไม     ไมตองเสีย                              ตอง
16.   อนาคตของผูทํา            ครูมืออาชีพ                              นักวิจัยทางการศึกษา
17.   ทําเพื่อใคร               นักเรียน                                 ตัวเอง
18.   ชื่อเรื่อง                “การแกปญหานักเรียน-กี่คน ชั้นใด        ก. การหาความสัมพันธระหวาง
                                เรื่องอะไร”                                    ...................
                                                                         ข. การสํารวจ......................
                                                                         ค. การทดลอง......................
                                                                         ง. การเปรียบเทียบ.................
                                                                         จ. การพัฒนา.........................
                                                                         ฉ. การวิเคราะห......................
                                                                         ช. การศึกษา...........................
                                                                         ซ. การทํานาย.........................
                                                                         ฌ. การสรุปอางอิง...................
19. ผลงานเอาไปทําอะไร           ความเปนครู                              เพื่อนําไปขอผลงานในที่สุด
20. ขอบเขตที่ทํา                ทําในหองเรียน/โรงเรียนของตน             นอกโรงเรียนของตน


กระบวนการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู




                                Active Learning to Action Research (ALAR Model)
       (adapted from Simple Action Research Model; Maclsaac, 1995 and Active Learning Design: Oliver, 1999)
                                            (วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล, 2552)

                                                 วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา                                                          4

            ALAR Model เปนเครื่องมือที่พัฒนาขึ้นเพื่อเปนเปนแนวทางในการดําเนินการวิจัยในในชั้นเรียน
อันจะชวยครูผูสอนในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่แกปญหาการเรียนรูของผูเรียน ซึ่งพัฒนาจาก
การบูรณาการแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการ Action Research ของ Maclsaac (1995) เขากับรูปแบบการ
ออกแบบการเรียนรู (Learning Design) ของ Oliver (1999) โดย ALAR Model ประกอบดวยโครงสราง
หลัก 2 สวนคือ 1) กระบวนการวิจัยแบบ Action Research มี 4 ขั้นตอนคือ การวางแผน (plan) การ
ดํ า เนิ น การ (action) การสั ง เกตและบั น ทึ ก ผล (observe) และการสะท อ นความคิ ด (reflection), และ
2) การออกแบบการเรียนรู โดยในแตละขั้นตอนของ Action Research ตองพิจารณาปจจัยการออกแบบ
การเรียนรู 3 ประการควบคูกับไปดวยคือ
            - กิจกรรมการเรียนรู (Learning Tasks) ไดแก การออกแบบการสอน การกําหนดจุดประสงค
การกําหนดวิธีจัดการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนรู การกําหนดบทบาทครูและบทบาทผูเรียน
และ การวัดและประเมินผล
            - ทรัพยากรการเรียนรู (Learning Resources)ไดแก สื่อ วัสดุ อุปกรณ อาคาร-สถานที่ บุคลากร
และสภาพแวดลอมการศึกษาตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยตรง
            - การสนับสนุนการเรียนรู (Learning Supports) ไดแก ปจจัยสนับสนุนอื่น ๆ ที่นอกเหนือจาก
ทรัพยากรการเรียนรู เช น การสนั บสนุ นของผูบริหาร ความร วมมือของครูและบุคลากรภายในและ
ภายนอกโรงเรียน หองสมุด แหลงเรียนรู ระบบเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศ เปนตน

         ซึ่งการนํา ALAR Model ไปใชในการปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียนมีรายละเอียดในแตละขั้นตอน
ดังนี้

ขั้นที่ 1 การวางแผน (Plan)
          1. วิเคราะหสภาพปญหาที่เกิดขึ้น และสงผลตอการเรียนรูของผูเรียน โดยวิเคราะหเกี่ยวกับ
ปญหาที่เกิดจาก ครู ผูเรียน กิจกรรมการเรียนรู ทรัพยากรการเรียนรู และ การสนับสนุนการเรียนรู
          2. วิเคราะหสาเหตุที่แทจริงของปญหาที่เกิดขึ้นในการจัดการเรียนการสอน
          3. การกําหนดปญหาเพื่อนําไปสูการวิจัยในชั้นเรียน โดยตองพิจารณาวา เปนปญหาที่แทจริง
ครูสามารถแกปญหานั้นไดดวยตนเอง
                 
          4. หาวิธีการในการแกไขปญหา ดวยการศึกษาจากเอกสาร งานวิจัย จากแหลงขอมูลตาง ๆ และ
หรือ ปรึกษากับผูที่มีความเชี่ยวชาญและประสบการณในการแกปญหานั้น ๆ โดยครูตองสรุปขอมูลที่
เกี่ยวกับ
                   - ปญหาที่เกิดขึ้นจะแกไดอยางไร
                   - แนวทางแกปญหามีอะไรบาง

                                             วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา                                                                 5

              - จะใชวิธีการหรือนวัตกรรมใดในการแกปญหา
              - มีกระบวนการดําเนินการอยางไร
              - จะแกปญหาในชวงระยะเวลาใด
      5. เขียนโครงรางการวิจัยในชั้นเรียน โดยการนําความรูที่ไดจากขอ 4 มาเขียนโครงรางการวิจัย
โดยรายละเอียดประกอบดวย
              - ชื่อเรื่อง (แกปญหาอะไร ของใคร ดวยวิธีใด)
              - ชื่อผูวิจย
                          ั
              - ปญหาและสาเหตุ (ปญหาแทที่ครูสามารถแกได และสาเหตุของปญหา)
              - วัตถุประสงคการวิจัย (เพื่อแกปญหาอะไร ของใคร ที่ไหน กี่คน)
              - วิธดําเนินการวิจัย (วิธีการที่คาดวาจะแกไขปญหาได ขั้นตอนในการดําเนินงาน)
                    ี
              - นวัตกรรมในการแกปญหา (ใชวิธีการ สื่อ หรือทรัพยากรการเรียนรูอื่นๆ มีลักษณะ
                 อยางไร วิธการสราง การหาประสิทธิภาพ การนํานวัตกรรมไปใช)
                             ี
              - วิธีการและเครื่องมือที่ใชเก็บขอมูล (จะรูไดอยางไรวาประสบความสําเร็จ)
              - สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล (ถามี)
              - ระยะเวลาในการดําเนินการวิจัย
              - ผลที่คาดวาจะไดรับ (พฤติกรรมของผูเรียนที่ไดรับการแกไขแลวคืออะไร)

ขั้นที่ 2 การดําเนินการ (Action)
          1. ออกแบบการเรียนรู ดวยการพิจารณาปจจัยหลัก 3 ประการ คือ
                  - กิจกรรมการเรียนรู (Learning Tasks) ไดแก การกําหนดเนื้อหา กิจกรรมที่จะเกิดขึ้น
                      บทบาทของผูเรียน บทบาทของผูสอน ผลที่คาดหวังจากการเรียนรู และวิธีวัดและ
                      ประเมินผลการเรียนรู
                  - ทรัพยากรการเรียนรู (Learning Resources) ไดแก การเลือก ปรับปรุง หรือ สราง
                      นวัตกรรมหรือทรัพยากรที่เหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนรูที่กําหนดไว เชน เอกสาร
                      แบบเรียน สื่อ วัสดุ อุปกรณ แบบวัดและประเมินผล ทรัพยากรบุคคล และ
                      สภาพแวดลอมทางการเรียนรูตาง ๆ รวมทั้งการเตรียมความพรอมในการใชและ
                      การบํารุงรักษาทรัพยากรเหลานั้นดวย
                  - การสนับสนุนการเรียนรู (Learning Supports) ไดแก ปจจัยตางๆ ที่ชวยใหกิจกรรม
                      การเรี ย นรู ที่ กํ า หนดไว ดํ า เนิ น ไปอย า งราบรื่ น ปราศจากอุ ป สรรคและข อ จํ า กั ด
                      ซึ่ง นอกเหนื อจากทรั พ ยากรการเรีย นรู เช น แหลงข อมู ลเพิ่ม เติ ม        ห องสมุ ด
                      เทคโนโลยี บุคคล และ สถานที่ เปนตน

                                                 วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา                                                          6




                           การออกแบบการเรียนรู (วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล, 2552)

         2. การพัฒนานวัตกรรมเพื่อแกปญหาการเรียนรูของผูเรียน
         นวัตกรรม หมายถึง การนําสิ่งใหม ๆ อาจเปนแนวความคิด หรือ สิ่งประดิษฐใหม ๆ หรือเปน
การพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยูแลวใหทันสมัยและไดผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูง
กวาเดิม
         นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง การนําเอาสิ่งใหม ๆ ซึ่งอาจจะอยูในรูปของความคิด หรือการ
กระทํา รวมทั้งสิ่งประดิษฐใหม ๆ หรือเปนการพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยูแลว เขามาใชในระบบ
การศึกษาเพื่อมุงหวังที่จะเปลี่ยนแปลงใหระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

        ความสําคัญของนวัตกรรมตอการศึกษา

        1. เพื่อใหทันสมัยตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป
        2. เพื่อแกไขปญหาทางดานการศึกษาบางอยางที่เกิดขึ้นอยางมีประสิทธิภาพ
        3. เพื่อแกไขปญหาทางดานการศึกษาในบางเรื่อง เชน ปญหาที่เกี่ยวเนื่องกับจํานวนผูเรียน
           การพัฒนาหลักสูตรใหทันสมัย การผลิตและพัฒนาสื่อใหม ๆ ขึ้นมา
        4. เพื่อตอบสนองการเรียนรูของมนุษยใหเพิ่มมากขึ้นดวยระยะเวลาที่สั้นลง
        5. การใชนวัตกรรมมาประยุกตในระบบการบริหารจัดการดานการศึกษา เพื่อชวยใหการใช
           ทรัพยากรการเรียนรูเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

                                             วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา                                                                   7

         ประเภทของนวัตกรรมทางการศึกษา

       นวัตกรรมทางการศึกษาที่ใชแกปญหาหรือพัฒนาการเรียนการสอนมีหลายประเภท ในที่นี้ขอ
นํา เสนอตัวอยางนวัตกรรมทางการศึกษาที่นิยมใชกันมากเพราะสะดวก ประหยัด สามารถจัดทําได
ดวยตนเอง และงายแกการนําไปใช มี 2 ประเภท คือ สื่อการเรียนการสอนที่ประดิษฐ (Invention) และ
เทคนิคการสอนกิจกรรมการพัฒนา หรือเทคนิควิธีสอน (Instruction) (วิทยา ใจวิถี, มปป.)

                                                     ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา


                                   สื่อการสอน                                                  เทคนิควิธีการสอน


         สื่อสิ่งพิมพ             สื่อโสตทัศน                 สื่ออิเลคทรอนิกส
                                                                                        - แบบศูนยการเรียน
                                                                                        - แบบการแสดงบทบาทสมมติ
- เอกสารประกอบการสอน      - ภาพยนตร วีดีทัศน            - e-Book                      - การสอนซอมเสริม
- บทเรียนสําเร็จรูป       - สไลด แผนใส                  - CAI                         - แบบโครงงาน
- ชุดการสอน/ชุดการเรียน   - เทปเพลง แผนเสียง ซีดี        - WBI
                                                                                        - แบบปญหาเปนฐาน
- รายงานการศึกษาคนควา   - หุนจําลอง                    - WebQuest
                                                                                        - แบบสมองเปนฐาน
- รายงานโครงงาน           - บัตรคํา แผนปาย              - Learning Object
                                                                                        - แบบรวมมือ
- - ฯลฯ                   - - ฯลฯ                         - Blog                        - แบบโตวาที
                                                          - Wiki                        - แบบกรณีศึกษา
                                                          - Video on Demand             - แบบเขียนแผนผังความคิด
                                                          - Virtual Classroom           - ฯลฯ
                                                          - ฯลฯ



         กระบวนการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา

        Rogers (1983) ไดเสนอขั้นตอนในการพัฒนานวัตกรรมไวใน The Innovation-development
Process ประกอบดวย 6 ขั้นตอน ประกอบดวย
           1. การวิเคราะหความตองการหรือปญหา (Needs/Problems)
           2. ศึกษาขอมูลหรือวิจัยเอกสาร (Research in basic and applied)
           3. การพัฒนานวัตกรรม (Development) ดวยกระบวนการ R&D
           4. การเตรียมนวัตกรรมเพื่อการนําไปใชงาน (Commercialization)
           5. การแพรกระจายนวัตกรรม (Diffusion and Adoption)
           6. การศึกษาผลการใชนวัตกรรม (Consequences)




                                                     วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา                                                           8

        ในขั้ น ตอนของการพั ฒ นานวั ต กรรมนั้ น นั ก การศึ ก ษานิ ย มใช รู ป แบบการวิ จั ย และพั ฒ นา
(Research and Development : R&D ของ Walter R. Borg and Meredith D. Gall) เปนระเบียบวิธีวิจัยใน
การพัฒนานวัตกรรม โดยมีรายละเอียดของแตละขั้นตอนดังนี้




                   Research and Development ของ Walter R. Borg and Meredith D. Gall, 1989


         1. การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ หมายถึง การศึกษาปญหาในการจัดการเรียน
การสอน การศึกษาเอกสารและงานวิจัยเพื่อคนหาแนวทางที่เหมาะสมในการแกปญหา รวมทั้งความรู
ที่จะใชในการพัฒนาสื่อและนวัตกรรม
         2. การวางแผนพั ฒ นานวั ต กรรม หมายถึ ง การเตรี ย มการในด า นต า ง ๆ เช น หลั ก สู ต ร
ระยะเวลา งบประมาณ วัสดุ-อุปกรณ บุคลากร ผูเชี่ยวชาญ กลุมตัวอยาง ฯลฯ

                                              วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา                                                          9

         3. การสรางนวัตกรรมตนแบบ หมายถึง การลงมือทําเพื่อสรางนวัตกรรมตนแบบ โดยมีการ
ดําเนินงานดังนี้
         - กําหนดเปาหมายและวัตถุประสงคของนวัตกรรม การสรางแผนการสอนและกําหนดเนื้อหา
             และการสร า งแบบทดสอบก อ นเรี ย น-หลั ง เรี ย น (โดยการวิ เ คราะห ค วามสอดคล อ งกั บ
             วัตถุประสงคโดยผูเชี่ยวชาญ และการวิเคราะหหาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ)
         - วิเคราะหโครงสรางนวัตกรรม ออกแบบขั้นแรก ประเมินและแกไขการออกแบบนวัตกรรม
         - เขียนแผนผังเพื่อใหเห็นโครงสรางทั้งหมดของนวัตกรรมที่จะสราง
         - รางลักษณะของนวัตกรรมแตสวนใหเห็นถึงรายละเอียดของนวัตกรรม
         - สรางนวัตกรรมตามที่ไดออกแบบไว
         - ผลิตเอกสารประกอบ ไดแก คูมือครู คูมือการใช คูมือนักเรียน เปนตน
         - ประเมินคุณภาพนวัตกรรมโดยผูเชี่ยวชาญในสาขาที่พัฒนานวัตกรรม จํานวน 3-5 คน และ
             ปรับปรุงตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ
         4. การทดลองแบบหนึ่งตอหนึ่ง หมายถึง การทดลองใชนวัตกรรมกับผูเรียนทีละคน จํานวน
3 คน โดยสุมเลือกนักเรียนที่มีผลการเรียน เกง ปานกลาง และออน อยางละ 1 คน โดยผูพัฒนานวัตกรรม
สังเกตการใชนวัตกรรมของแตละคนอยางใกลชิด
         5. การประเมินคุณภาพนวัตกรรมและปรับปรุงครั้งที่ 1 หมายถึงการนําผลการทดลองแบบหนึ่ง
ตอหนึ่งมาประเมินคุณภาพและปรับปรุงนวัตกรรมใหเหมาะสมยิ่งขึ้น
         6. การทดลองแบบกลุมเล็ก หมายถึงการทดลองใชนวัตกรรมกับผูเรียนกลุมเล็ก จํานวน 9 คน
โดยสุมเลือกนักเรียนที่มีผลการเรียน เกง ปานกลาง และออน อยางละ 3 คน
         7. การประเมินประสิทธิภาพและปรับปรุงครั้งที่ 2 หมายถึงการนําผลการทดลองมาวิเคราะห
ขอมูล หากผานเกณฑที่กําหนดก็สามารถนํานวัตกรรมไปทดลองขั้นตอไปได แตหากไมผานตองมีการ
ปรับปรุงและนําไปทดลองกลุมเล็กกับนักเรียนชุดใหมอีกครั้ง
         8. การทดลองแบบกลุมใหญ หมายถึงการทดลองใชนวัตกรรมกับผูเรียนกลุมใหญ จํานวน
30 คน โดยสุมเลือกนักเรียนที่มีผลการเรียน เกง ปานกลาง และออน อยางละ 10 คน (สําหรับการวิจัย
ในชั้นเรียน สามารถใชขั้นตอนนี้ในการนํานวัตกรรมไปใชเพื่อแกปญหาการเรียนการสอนในสภาพจริง
เนื่องจากเปนการวิจัยที่ดําเนินการกับกลุมประชากรโดยตรง)
         9. การประเมินประสิทธิภาพและปรับปรุงครั้งที่ 3 หมายถึงการนําผลการทดลองมาวิเคราะห
ขอมูล หากผานเกณฑที่กําหนดก็สามารถสรุปผลการพัฒนานวัตกรรมตอไป แตหากไมผานตองมีการ
ปรับปรุงและนําไปทดลองกลุมใหญกับนักเรียนชุดใหมอีกครั้ง
         10. การสรุปผล นําไปใช และเผยแพร หมายถึงการสรุปผลหรือเขียนรายงานผลการพัฒนา
นวัตกรรมโดยจัดทําเปนผลงานทางวิชาการ รวมถึงการนําไปใชในการจัดการเรียนการสอนและเผยแพร

                                             วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา                                                                            10

          การหาประสิทธิภาพนวัตกรรม (วิทยา ใจวิถี, มปป.)

          หลังจากการทดลองใชนวัตกรรมกับกลุมเล็ก และกลุมใหญแลว ผูพัฒนานวัตกรรมควรตอง
ดําเนินการเพื่อหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมโดยมีวิธการดังนี้             ี
          1. วิธีบรรยายเปรียบเทียบสภาพกอนและหลังการใชนวัตกรรม โดยการบันทึกหรือเก็บขอมูลที่
ไดจากการวัดผลผูเรียนดวยเครื่องมือตาง ๆ ทั้งกอนและหลังการใชนวัตกรรม แลวจึงนําขอมูลเหลานั้นมา
ประกอบการบรรยายเชิงคุณภาพเพื่อแสดงใหเห็นวาหลังการใชนวัตกรรมแลวผูเรียนมีการพัฒนาเพิ่มขึ้น
เปนที่นาพอใจมากนอยเพียงใด
          2. วิ ธี นิ ย ามตั ว บ ง ชี้ ที่ แ สดงผลลั พ ธ ที่ ต อ งการ แล ว เปรี ย บเที ย บข อ มู ล ก อ นใช แ ละหลั ง ใช
นวัตกรรม เชน กําหนดผลสัมฤทธิ์ไว รอยละ 65 แสดงวาหลังจากการใชนวัตกรรมแลวผูเรียนทุกคนที่เปน
กลุมทดลองจะตองผานเกณฑที่กําหนดไวคือ รอยละ 65 จึงจะถือวานวัตกรรมนั้นมีประสิทธิภาพ
          3. วิธีคํานวณหาอัตราสวน ระหวางรอยละของจํานวนผูเรียนที่สอบแบบทดสอบอิงเกณฑผาน
เกณฑที่กําหนดไว (P1) ตอรอยละของคะแนนเต็มที่กําหนดเกณฑการผานไว(P2) เชน P1 : P2 = 70 : 60
หมายความวา กําหนดเกณฑการผานไววาตองมีผูเรียนรอยละ 70 ของจํานวนผูเรียนทั้งหมด ผานเกณฑ
รอยละ 60 ของคะแนนเต็ม จึงจะแสดงวานวัตกรรมนั้นมีประสิทธิภาพ

ขั้นที่ 3 การสังเกตและบันทึกผล (Observe)
          1. การนํานวัตกรรมไปใชในการจัดการเรียนรูเพื่อแกปญหาของผูเรียน
          2. สังเกตและบันทึกการดําเนินการวิจัยทุกขั้นตอน โดยกระบวนการ, การปฏิบัติ, และผลลัพธ
          3. ประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูทั้งในสวนของกิจกรรมการเรียนรู ทรัพยากรการเรียนรู
และการสนับสนุนการเรียนรู
          4. วัดและประเมินพฤติกรรมการเรียนรูของผูเรียน
          5. เครื่องมือสําหรับการเก็บขอมูล มีไดทั้งในลักษณะของการวิจัยเชิงปริมาณ เชน แบบทดสอบ
และการวิจยเชิงปริมาณ เชน แบบสังเกต แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ เปนตน
            ั

ขั้นที่ 4 การสะทอนความคิด (Reflection)
          1. วิเคราะหขอมูลและสรุปผลการการดําเนินงาน
          2. จั ด ทํ า บั น ทึ ก เพื่ อ สะท อ นความคิ ด จากการดํ า เนิ น การวิ จั ย ทั้ ง ในส ว นของ แนวคิ ด ,
กระบวนการ, ผลการเรียนรูของผูเรียน, ประโยชน, อุปสรรค, และแนวทางในการแกไข
          3. จัดทําเอกสารรายงานผลการวิจัย และเผยแพรผลงานวิจัย
          4. นําผลการวิจัยไปสูการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและวิชาชีพครู
          5. ปรับปรุงการวางแผนอีกครั้งเพื่อการดําเนินการวิจัยในครั้งตอๆ ไป

                                                       วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา                                                        11

        การเขียนรายการการวิจัยในชั้นเรียน (วิทยา ใจวิถี, มปป.)

         เมื่อครูทําวิจัยในชั้นเรียนเพื่อแกปญหาใดๆ ประสบความสําเร็จแลวใหจัดทํารายงานการวิจัยใน
ชั้นเรียนเรื่องนั้น ๆ เปนการเขียนรายงานงานวิจัยตั้งแตเริ่มตนวิเคราะหและสํารวจปญหา การพัฒนา
นวัตกรรม การทดลองใชเพื่อแกปญหาจนกระทั่งถึงการวิเคราะหผล สรุปผล อภิปราย และขอเสนอแนะ
การเขียนรายงานการวิจัยเปนการเสนอสิ่งที่ไดศึกษาคนควาอยางเปนระบบใหผูอื่นทราบโดยมีหัวขอการ
เขียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน ดังนี้
         1. ชื่อเรื่อง
         2. ชื่อผูวิจย
                      ั
         3. ปญหาในการจัดการเรียนการสอน
         4. สาเหตุของปญหา
         5. วัตถุประสงคของการวิจัย
         6. วิธีดําเนินงาน
         7. นวัตกรรมที่ใชในการแกปญหา
         8. วิธีการและเครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล
         9. สถิตที่ใชในการวิเคราะหขอมูล
                   ิ
         10. ระยะเวลาดําเนินการ
         11. ผลการวิเคราะหขอมูล
         12. สรุปและอภิปรายผลการวิจัย

        การนําผลการวิจัยไปใช (วิทยา ใจวิถี, มปป.)

          ครูผูสอนสามารถนําผลการวิจัยในชั้นเรียนไปใชดังนี้
          1. นําไปใชในการพัฒนา ปรับปรุงการเรียนการสอนในหองเรียน
          - ใชแกปญหาการเรียนการสอนโดยตรง เชน การใชเทคนิคการสอนซอมเสริมแบบตางๆ ที่ครู
              คิดคนขึ้นมาแลวนําไปสอนซอมเสริมผูเรียนที่เรียนชา
          - ใชเปนขอมูลในการปรับปรุงการเรียนการสอน
          - ใชในการพัฒนาหลักสูตร
          2. นําไปใชเปนขอมูลพื้นฐานในการพัฒนาการเรียนการสอน
          - เผยแพรเพื่อใหบุคคลอื่น หรือหนวยงานที่เกี่ยวของนําไปใชประโยชนในการอางอิง
          - เผยแพรแกบุคคลอื่น หรือหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อใหเกิดแนวทางในการศึกษาคนหาความรู
ใหมที่ลกซึ้งและมีประโยชนตอไป
        ึ

                                             วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา                                                        12

       3. นําไปใชในการพัฒนาวิชาชีพ
       - การวิจัยในชั้นเรียน นอกจากจะเปนการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนแลว ยังเปนการ
พัฒนาวิชาชีพของครูอีกดวย คือ เมื่อครูทําการวิจัยในชั้นเรียน ทําใหเปนการเสริมสรางความรูทางวิชาการ
ของตนเอง ทําใหครูมีนวัตกรรม ที่มีคุณภาพ ซึ่งทําใหเกิดมาตรฐานในการเรียนการสอนตามระบบการ
ประกันคุณภาพการศึกษา ตอไป

        สรุปลักษณะการวิจัยในชันเรียน (วิทยา ใจวิถี, มปป.)
                              ้

        1. ผูทําวิจัยยังคงทํางานตามปกติของตน
        2. ไมตองสรางเครื่องมือวิจัย (แตสรางเครื่องวัดผล)
        3. ไมมีขอมูลจํานวนมาก และไมตองใชสถิติที่ซับซอน
        4. ขอมูลสวนใหญมาจากการสังเกต การพูดคุย และใชการวิเคราะหเนื้อหา
        5. ไมตองทบทวนรายงานวิจยที่เกี่ยวของ
                                      ั
        6. ใชเวลาทําวิจัยไมนาน
        7. ความยาว 2 – 3 หนาตอเรื่อง
        8. นักเรียนไดรับการพัฒนา
        9. ไมมีระบุประชากร การสุมตัวอยาง
        10. ไมตองใชสถิติสรุปอางอิง และไมมระดับนัยสําคัญ
                                                ี
        11. ไมมีการทดสอบกอน หลัง
        12. ไมมีกลุมทดลอง และกลุมควบคุม
        13. เนนการแกไขที่สาเหตุของปญหาของนักเรียน บางคน บางเรื่อง




                                             วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา                                                                13

                           แนวทางการเขียนเคาโครงการวิจัยในชั้นเรียน (1)
                                             (วิทยา ใจวิถี, มปป.)

1. ชื่อเรื่อง
           การฝกทักษะกระบวนการในการตรวจซอมและติดตั้งระบบเบรครถยนต สําหรับนักศึกษา ชั้น
ปวช.2 สาขางานยานยนต ปการศึกษา 2545 วิทยาลัยเทคนิคหวยแกว จ.เชียงใหม จํานวน 20 คน
2. ชื่อผูดําเนินการวิจย นายวิทยา ใจวิถี
                        ั
3. ปญหาในการจัดการเรียนการสอน
      “นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์เรื่องการตรวจซอม และติดตั้งระบบเบรครถยนตอยูในเกณฑต่ํา”
4. สาเหตุของปญหา
           นักศึกษามีโอกาสในการรับการฝกปฏิบัติเพื่อใหเกิดทักษะกระบวนการไมเพียงพอ เนื่องมาจาก
เวลาการฝ ก ปฏิ บั ติ มี จํ า นวนจํ า กั ด รวมทั้ ง ยั ง ขาดสื่ อ การเรี ย นการสอนที่ เ ป น ตั ว ช ว ยในการเสริ ม
ประสบการณการเรียนที่เหมาะสม
5. วัตถุประสงคของการวิจัย
           1. เพื่อใหนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต ปการศึกษา 2545 วิทยาลัยเทคนิคหวยแกว มี
ความสามารถดานการฝกทักษะกระบวนการในการตรวจซอมและติดตั้งระบบเบรครถยนตไดอยางมี
ประสิทธิภาพ จํานวน 20 คน
           2. เพื่อสรางและพัฒนาชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการในการตรวจซอมและติดตั้งระบบ
เบรครถยนตในชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต
6. วิธีดําเนินงาน
           1. รวบรวมรายชื่อนักศึกษาที่ตองไดรับการพัฒนา
           2. วิเคราะหเนื้อหา และจัดหา จัดสรางชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการในการตรวจซอม
                และติดตั้งระบบเบรครถยนตในชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต
           3. แบงกลุมนักศึกษา และแนะนําการใชชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการในการตรวจซอม
                และติดตั้งระบบเบรครถยนตใหกับนักศึกษา จํานวน 20 คน
           4. ใหนักศึกษาดําเนินการศึกษาชุดฝก และนําไปลงมือปฏิบัติการฝกในโรงงาน
           5. ครูผูสอน ควบคุม สังเกตพฤติกรรม และใหขอเสนอแนะระหวางการฝกปฏิบัติอยางตอเนื่อง
           6. นักศึกษาทดสอบ ทดลองปฏิบัติงานจนเกิดทักษะ
           7. ใชกระบวนการกลุมในการสรุป และประเมินผลจากการฝกปฏิบัติ
           8. ครูผูสอนรวมกับนัก ศึกษาสรุปผลของทุกกลุม ใหขอเสนอแนะจากการสังเกตการลงมือ
                ปฏิบัติกิจกรรม ใหขอเสนอแนะ รวมทั้งการปรับปรุงชุดฝกปฏิบัติ และประเมินผลรวมกัน
                                     

                                                 วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา                                                        14

7. นวัตกรรมที่ใชในการแกปญหา
          ชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการในการตรวจซอมและติดตั้งระบบเบรครถยนต สําหรับ
นักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต ปการศึกษา 2545
8. วิธีการวัดผลและเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล
    วิธีการวัดผล 1. ใชวิธีการสังเกตพฤติกรรมในระหวางการฝกปฏิบติ
                                                                ั
                   2. การตรวจสอบผลงาน
                   3. ทดสอบผลงานจากการปฏิบัติ และใชแบบทดสอบเพื่อวัดความรูความเขาใจ
                                                                            
เครื่องมือ แบบสังเกตพฤติกรรม แบบประเมินตรวจสอบผลงาน และแบบทดสอบ
เกณฑการผาน ผูเรียนแตละคนไดคะแนนรวมตั้งแตรอยละ 60 ขึ้นไป
9. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล       คารอยละ และคาเฉลี่ย
10. ระยะเวลาดําเนินการแกไขเสร็จ 10 สัปดาห
11. ความคาดหวัง
          1. นักศึกษาชั้น ปวช.2 จํานวน 20 คน สาขางานยานยนต ปการศึกษา 2545 วิทยาลัยเทคนิคหวย
แกว มีความสามารถดานการฝกทักษะกระบวนการในการตรวจซอมและติดตั้งระบบเบรครถยนตไดอยาง
มีประสิทธิภาพ อยางนาพอใจ
          2. ไดชุดฝกปฏิบติเสริมทักษะกระบวนการในการตรวจซอมและติดตั้งระบบเบรครถยนตในชั้น
                            ั
ปวช.2 สาขางานยานยนตที่มีประสิทธิภาพ




                                             วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา                                                                 15

                           แนวทางการเขียนเคาโครง การวิจัยในชั้นเรียน (2)
                                              (วิทยา ใจวิถี, มปป.)

1. ชื่อเรื่อง การออกเสียง ร และคําควบกล้ําในวิชาภาษาไทยไม ชัดเจน ของนักเรียนชั้น ......โรงเรียน /
      วิทยาลัย ........................จํานวน ........ คน
2. ชื่อผูดําเนินการวิจัย ครูลําพา รักการสอน
3. ปญหาในการจัดการเรียนการสอน
          นักเรียนจํานวน ..........คน มีปญหาการออกเสียง ร และคําควบกล้ําไมชัดเจน
4. สาเหตุของปญหา
            นั ก เรี ย นได รั บ การฝ ก การออกเสี ย ง ร และคํ า ควบกล้ํ า ไม เ พี ย งพอ ซึ่ ง ส ง ผลกระทบต อ การ
ตีความหมายของประโยคหรือขอความและการติดตอสื่อสารกับผูอื่น
5. วัตถุประสงคของการวิจัย
            1. เพื่อใหนักเรียนจํานวน ........คน มีความสามารถในดานการออกเสียง ร และคําควบกล้ําได
                  อยางมีถูกตอง
            2. เพื่อสร างนิท านภาพและจั ด ทําคูมือการฝก อา นออกเสี ย งคํ าที่มีเ สีย ง ร และคํา ควบกล้ํ า
                  นําไปใชกับนักเรียนที่อานออกเสียง ร และคําควบกล้ํา
6. วิธดาเนินงาน
        ี ํ
            1. รวบรวมรายชื่อจํานวนนักเรียนที่มีปญหาในเรื่องอานออกเสียง ร และคําควบกล้ํา
            2. สรางนิทานภาพและจัดทําคูมือการฝกอานออกเสียงคําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ํานําไปใชกับ
                  นักเรียนที่อานออกเสียง ร และคําควบกล้ําไดไมเกิน 8 คํา
            3. ใหนกเรียนอานทีละคน แลวบันทึกไว
                        ั
            4. นํานิทานภาพและคูมือการฝกมาฝกนักเรียน สัปดาหละ 2 ครั้ง ชวงเลิกเรียน จํานวน 16
                  ครั้ง และประเมินผลการฝกทุกครั้งใหไ ด ตามเกณฑที่ กําหนด เมื่ อผานเกณฑ แลว จึง จะ
                  สามารถฝกในครั้งตอไปได
            5. เมื่อฝกครบ 16 ครั้งแลว นําแบบทดสอบมาสอบนักเรียนทีละคนอีกครั้ง
            6. ประเมินผลรายบุคคลและภาพรวม
7. นวัตกรรมที่ใชในการแกปญหา
            นิทานภาพและคูมือการฝกอานออกเสียงคําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ํา สําหรับนักเรียนชั้น.....
            โรงเรียน / วิทยาลัย .............




                                                  วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา                                                        16

8. วิธีการวัดผลและเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล
      วิธีการ การสังเกตพฤติกรรม และการทดสอบ
    เครื่องมือ แบบสังเกตพฤติกรรม และแบบทดสอบ
     เกณฑการผาน นักเรียนสามารถออกเสียงคําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ํา เพิ่มมากขึ้นรอยละ 60
9. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล การบรรยายคุณภาพ และคารอยละ
10. ระยะเวลาดําเนินการแกไขเสร็จ 8 สัปดาห
11. ความคาดหวัง
           1. นักเรียนจํานวน ........คน มีความสามารถในดานการออกเสียง ร และคําควบกล้ําไดอยางมี
ถูกตอง
           2. ไดนิทานภาพและคูมือการฝกอานออกเสียงคําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ํา นําไปใชกับนักเรียน
ที่อานออกเสียง ร และคําควบกล้ํา ไดอยางมีประสิทธิภาพ




                                             วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา                                                        17

                             แนวการเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน (1)
                                          (วิทยา ใจวิถี, มปป.)

1. ชื่อเรื่อง
           การฝกทักษะกระบวนการในการติดตั้งระบบเบรครถยนต สําหรับนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางาน
ยานยนต ปการศึกษา 2545 วิทยาลัยเทคนิคหวยแกว จ.เชียงใหม จํานวน 12 คน
2. ชื่อผูดําเนินการวิจัย นายวิทยา ใจวิถี
3. ปญหาในการจัดการเรียนการสอน
      “นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์เรื่องการติดตั้งระบบเบรครถยนตอยูในเกณฑต่ํา”
4. สาเหตุของปญหา
           นักศึกษาไดรับการฝกปฏิบัติในเรื่องการติดตั้งระบบเบรครถยนตเพื่อใหเกิดทักษะกระบวนการ
ไมเพียงพอ
5. วัตถุประสงคของการวิจัย
           1. เพื่อใหนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต ปการศึกษา 2545 วิทยาลัยเทคนิคหวยแกว มี
                ความสามารถด า นการฝ ก ทั ก ษะกระบวนการในการติ ด ตั้ง ระบบเบรครถยนตไ ด อย า งมี
                ประสิทธิภาพ จํานวน 12 คน
           2. เพื่อสรางและพัฒนาชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการในการติดตั้งระบบเบรครถยนตใน
                ชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต
6. วิธีดําเนินงาน
           1. รวบรวมรายชื่อนักศึกษาที่ตองไดรับการพัฒนา
           2. วิเคราะหเนื้อหา และจัดสรางชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการในการติดตั้งระบบเบรค
                รถยนตในชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต
           3. แบงกลุมนักศึกษา และแนะนําการใชชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการในการติดตั้ง
                ระบบเบรครถยนตใหกับนักศึกษา จํานวน 12 คน
           4. ใหนักศึกษาดําเนินการศึกษาชุดฝก และนําไปลงมือปฏิบัติการฝกในโรงงาน
           5. ครูผูสอน ควบคุม สังเกตพฤติกรรม และใหขอเสนอแนะระหวางการฝกปฏิบัติอยางตอเนื่อง
           6. นักศึกษาทดสอบ ทดลองปฏิบัติงานจนเกิดทักษะ
           7. ใชกระบวนการกลุมในการสรุปผล และประเมินผลจากการฝกปฏิบัติ
           8. ครูผูสอนรวมกับนัก ศึกษาสรุปผลของทุ กกลุม ใหขอเสนอแนะจากการสังเกตการลงมือ
                ปฏิบัติกิจกรรม ใหขอเสนอแนะ รวมทั้งการปรับปรุงชุดฝกปฏิบัติ และประเมินผลรวมกัน



                                             วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา                                                        18

7. นวัตกรรมที่ใชในการแกปญหา
        ชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการในการติดตั้งระบบเบรครถยนต สําหรับนักศึกษาชั้น ปวช. 2
สาขางานยานยนต ปการศึกษา 2545
8. วิธีการวัดผลและเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูล
          วิธีการวัดผล
              1. ใชวิธีการสังเกตพฤติกรรมในระหวางการฝกปฏิบัติ
              2. การตรวจสอบผลงาน
              3. ทดสอบผลงานจากการปฏิบัติ และใชแบบทดสอบเพื่อวัดความรูความเขาใจ
          เครื่องมือ       แบบสังเกตพฤติกรรม แบบประเมินตรวจสอบผลงาน และแบบทดสอบ
          เกณฑการผาน ผูเ รียนทัง 12 คนไดคะแนนตั้งแตรอยละ 60 ขึ้นไป
                                  ้
9. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล           คารอยละ และคาเฉลี่ย
10. ระยะเวลาดําเนินการแกไขเสร็จ 5 สัปดาห
11. ผลการวิเคราะหขอมูล
                                    ประเมิน            ทดสอบ          การสังเกตรวมกิจกรรม          รวม
 ลําดับที่       ชื่อผูเรียน
                                ผลงาน 50 คะแนน        30 คะแนน             20 คะแนน              100 คะแนน
    1        นาย ขาว                  34                  22                   14                    70
    2        นายแดง                   32                  24                   14                     70
    3        นายดํา                   31                  26                   15                     72
    4        นายเขียว                 34                  24                   16                     74
    5        นาย......                34                  21                   14                     69
     6      นาย......                31                  23                    17                    71
     7      นาย......                32                  23                    14                    69
     8      นาย......                31                  24                    15                    70
     9      นาย......                30                  22                    14                    66
    10      นาย......                35                  22                    13                    70
    11      นาย......                36                  23                    16                    75
    12      นาย......                33                  21                    16                    70
         คะแนนสูงสุด                 36                  21                    17                    75
         คะแนนต่ําสุด                30                  21                    13                    66
           คาเฉลี่ย                32.75               22.92                 14.83                 70.50
          คารอยละ                 65.50               76.39                 74.17                 70.50



                                             วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา                                                        19

          จากตาราง พบวา นักศึกษามีคาคะแนนรวมจากการประเมินทั้ง 3 เรื่อง อยูในระดับที่นาพอใจ ซึ่งมี
คาคะแนนรวมรอยละ 70.50 ในจํานวนดังกลาว มีนักศึกษามีคาคะแนนสูงสุด 75 คะแนน และคาคะแนน
ต่ําสุด 66 คะแนน จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน
12. การสรุปผลการวิจัย
          ผลจากการใชชุดฝกปฏิบัติเพื่อเสริมทักษะสําหรับนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต ป
การศึกษา 2545 จํานวน 12 คน ปรากฏวา ผลสัมฤทธิ์จากการเรียนรูและการรวมกิจกรรมการฝกทักษะโดย
ใชชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะโดยรวม มีผลสัมฤทธิ์เปนที่นาพอใจ บรรลุตามวัตถุประสงคของการวิจัย นั่น
คือการนําเอาชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการมาใชในกระบวนการเรียนการสอนสามารถที่จะชวย
ครูผูสอนไดพัฒนาผูเรียนใหเกิดกระบวนการเรียนรู และสามารถเพิ่มทักษะสําหรับผูเรียนไดเปนอยางดี




                                             วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา                                                                  20

                            แนวทางการเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน (2)

1. ชื่อเรื่อง การออกเสียง ร และคําควบกล้ําในวิชาภาษาไทยไมชดเจน ของนักเรียนชั้น ...... วิทยาลัย
                                                                            ั
      .................จํานวน ........ คน
2. ชื่อผูดําเนินการวิจัย ครูบังอร รักการสอน
3. ปญหาในการจัดการเรียนการสอน
           นักเรียนจํานวน .......คน มีปญหาการออกเสียง ร และคําควบกล้ําไมชัดเจน
4. สาเหตุของปญหา
             นั ก เรี ย นได รั บ การฝ ก การออกเสี ย ง ร และคํ า ควบกล้ํ า ไม เ พี ย งพอ ซึ่ ง ส ง ผลกระทบต อ การ
ตีความหมายของประโยคหรือขอความและการติดตอสื่อสารกับผูอื่น
5. วัตถุประสงคของการวิจัย
             2. เพื่อใหนักเรียนจํานวน ........คน มีความสามารถในดานการออกเสียง ร และคําควบกล้ําได
                    อยางมีถูกตอง
             3. เพื่อสร างนิ ท านภาพและจัด ทําคูมือการฝก อา นออกเสีย งคํ าที่มีเ สีย ง ร และคํา ควบกล้ํ า
                    นําไปใชกับนักเรียนที่อานออกเสียง ร และคําควบกล้ํา
6. วิธีดําเนินงาน
             1. รวบรวมรายชื่อจํานวนนักเรียนที่มปญหาในเรื่องอานออกเสียง ร และคําควบกล้ํา
                                                        ี
             2. ศึกษาวิธีการสรางนิทานภาพและคูมือการฝกออกเสียงคําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ํา จาก
                    เอกสารตาง ๆ
             3. สรางนิทานภาพและจัดทําคูมือการฝกอานออกเสียงคําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ํานําไปใชกับ
                    นักเรียนที่อานออกเสียง ร และคําควบกล้ําไดไมเกิน 8 คํา
             4. ใหนักเรียนที่มีปญหาอานทีละคนแลวบันทึกไว
             5. นํานิทานภาพและคูมือการฝกมาฝกนักเรียน สัปดาหละ 2 ครั้ง ชวงเลิกเรียน จํานวน 16
                    ครั้ง และประเมินผลการฝกทุกครั้งโดยใหไดตามเกณฑรอยละ 70 ของคําที่กําหนดให
                    ทั้งหมด เมื่อผานเกณฑแลวจึงจะสามารถฝกในครั้งตอไปได
             6. เมื่อฝกครบ 16 ครั้งแลว นําแบบทดสอบมาสอบนักเรียนทีละคนทั้ง 12 คนอีกครั้ง
             7. ประเมินผลรายบุคคลและภาพรวม
7. นวัตกรรมที่ใชในการแกปญหา         
             นิทานภาพและคูมือการฝกอานออกเสียงคําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ํา สําหรับนักเรียนชั้น
             ............ วิทยาลัย ..................


                                                  วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา                                                        21

8. วิธีการวัดผลและเครื่องมือการเก็บรวบรวมขอมูล
           วิธีการ การสังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียง และการทดสอบ
           เครื่องมือ แบบสังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียง และแบบทดสอบ
           เกณฑการผาน นักเรียนสามารถออกเสียงคําที่มเี สียง ร และคําควบกล้ํา ผานเกณฑการฝกใน
         แตละครั้ง
9. สถิติท่ใชในการวิเคราะหขอมูล
            ี                            การบรรยายคุณภาพ และคารอยละ
10. ระยะเวลาดําเนินการแกไขเสร็จ 8 สัปดาห
11. ผลการวิเคราะหขอมูล
           จากการสังเกตพฤติกรรมและการทดสอบหลังใชแบบฝก ปรากฏวา นักเรียนสามารถออกเสียง
คําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ํา ไดจํานวนคํามากกวากอนการฝกทุกคน และผลการทดสอบสุดทายของ
ทุกคนผานเกณฑรอยละ 70 ซึ่งจากการทดลองใชนทานภาพและคูมอการฝกออกเสียง ชวยใหนกเรียน
                                                 ิ               ื                           ั
สามารถออกเสียงคําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ําไดถูกตอง
12. การสรุปผล และขอเสนอแนะ
           จากการทดลองใชนทานภาพและคูมือการฝกออกเสียง ซึ่งชวยใหนกเรียนสามารถออกเสียงคํา
                              ิ                                         ั
ที่มีเสียง ร และคําควบกล้าไดถูกตอง และครูลําพาไดนาไปเผยแพรแกครูผูสอนชั้น ...........และชันอื่น ๆ
                            ํ                         ํ                                        ้
ที่มีปญหาในลักษณะเดียวกันนี้ แตจะตองปรับเนื้อเรื่องและสรางนิทานภาพใหเหมาะสมกับนักเรียนเพื่อ
นําไปใชแกปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพตอไป
                 




                                             วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา                                                        22

แหลงขอมูล

ไพจิตร สดวกการ และ ศิรกาญจน โกสุมภ. ชุดฝกอบรมครู: ประมวลสาระ บทที่ 7 การวิจัยในชั้นเรียน.
                           ิ
         โครงการพัฒนาผูบริหารการศึกษา ผูบริหารสถานศึกษา ครู ผูนาชุมชนและผูนําองคกรปกครอง
                                                                        ํ
         สวนทองถิ่น, 2545
วิทยา ใจวิถี. เอกสารประกอบการวิจยในชันเรียน (ฉบับยอ). สืบคนจาก
                                      ั ้
         www.act.ac.th/download/inc_downloading.asp?iFile=2504 เมื่อ 18 สิงหาคม 2552
วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล. การพัฒนานวัตกรรมเพื่อสรางผลงานทางวิชาการ. ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา
         คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี, 2551
อุทุมพร จามรมาน. ชุดฝกอบรม เรื่อง การทําวิจัยในชั้นเรียน. 2545 สืบคนจาก
         http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~jutumpor เมื่อ 18 สิงหาคม 2552
Borg, R. and Gall, D. Educational Research: An Introduction (5th ed.). New York: Longman, 1989
Brien, R. Methodological Approach of Action Research. Faculty of Information Studies,
         University of Toronto, 1998.
Oliver, R. Exploring strategies for on-line teaching and learning. Distance Education, 1999.




                                             วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552

More Related Content

What's hot

รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้Wichai Likitponrak
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่Kobwit Piriyawat
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์Wichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2Aroonswat
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...Kobwit Piriyawat
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practicesthkitiya
 
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558Anusara Sensai
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)Wichai Likitponrak
 
ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่Napadon Yingyongsakul
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1พัน พัน
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงWichai Likitponrak
 

What's hot (20)

รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
 
ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 

Similar to นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----Alatreon Deathqz
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีguest65361fd
 
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนสภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนpentanino
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8Narut Keatnima
 
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยเค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยPiyarerk Bunkoson
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1Apinun Nadee
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1Apinun Nadee
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553Nattapon
 

Similar to นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา (20)

PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
 
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนสภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยเค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
 
Commm
CommmCommm
Commm
 
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรมใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
 

นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

  • 1. การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552 wuttisak@pochanukul.com, http://www.pochanukul.com การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action research) คือ กระบวนการวิจัยเพื่อการปรับปรุง พัฒนา และเพิ่ม พลังความสามารถของบุคคลในการปฏิบัติงาน โดยมีลักษณะเปนการเรียนรูโดยการทํางาน กําหนดปญหา ที่ตองการแกไข ทดลองปรับปรุงการทํางานเพื่อศึกษาผลการพัฒนา วิเคราะหแนวทางการปฏิบัติงานที่ ประสบความสํ า เร็ จ สะท อนความคิดและแบงปนประสบการณ และ นําประสบการณที่ไ ด ไปสูก าร ปรับปรุงพัฒนาการปฏิบัติงานในครั้งตอๆไป (Brien, 1998) การวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Action Research) เปนกระบวนการในการแกปญหาหรือพัฒนา กระบวนการจัดการเรียนรูในชั้นเรียนที่ครูรับผิดชอบอยางเปนระบบ เพื่อสืบคนใหไดสาเหตุของปญหา แล ว หาวิ ธี แ ก ไ ขหรื อ พั ฒ นาที่ เ ชื่ อ ถื อ ได เช น การสั ง เกต จดบั น ทึ ก และวิ เ คราะห ห รื อ สั ง เคราะห เพื่อนําไปสูการแกปญหาหรือพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนของครู และพัฒนาการเรียนรูของ ผูเรียนใหมีคุณภาพตามเปาหมายที่กําหนดไว เพื่อสงเสริมผูเรียนใหไดรับการพัฒนาตามธรรมชาติและ เต็มตามศักยภาพ(ไพจิตร สะดวกการ และ ศิริกาญจน โกสุมภ, 2545) ดังนั้น ดวยบทบาทของครูใน ภาระหนาที่ของการออกแบบการเรียนการสอน การจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม สื่อการเรียน และการ อํานวยความสะดวกใหผูเรียนเกิดการเรียนรู จึงทําใหครูตองเปลี่ยนบทบาทจากผูสอนมาเปนผูวิจัยเพื่อ พัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมการเรียนรูของผูเรียนเพื่อพัฒนาและแกปญหาตางที่ เกิดขึ้นจากการจัดการเรียนการสอน การวิจัยในชั้นเรียน จึงเปนปจจัยที่มีความจําเปนอยางยิ่งตอการ พัฒนาการจัดการศึกษาและวิชาชีพครู หลักการการวิจยในชั้นเรียน (วิทยา ใจวิถี, มปป.) ั - การวิจัยในชั้นเรียน เปนกระบวนการแกปญหา และพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีเปาหมาย ที่สําคัญคือ การพัฒนาผูเรียนใหเปนบุคคลแหงการเรียนรู มีจิตใจที่ดีงาม และดํารงชีวิตอยูในสังคมได อยางมีความสุข - การวิจัยในชั้นเรียน เปนกระบวนการแกปญหาแบบการมีสวนรวมระหวางผูสอนกับผูเรียน อยางแทจริงที่ตอบสนองการเรียนรูที่เปนธรรมชาติ รวมทั้งพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยางเปนระบบ
  • 2. การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา 2 - การวิจัยในชั้นเรียน มุงแกปญหาที่เกิดจากการจัดกิจกรรมการเรียนรูในชั้นเรียนเปนครั้ง ๆ ไป เปนการวิจัยปญหาของผูเรียนในชั้นเรียนของตนเอง เพื่อแกปญหาการเรียนการสอนเฉพาะชั้นเรียนนั้นๆ - เปาหมายที่สําคัญของการวิจัยในชั้นเรียน คือ การวิจัยเพื่อสรางและพัฒนางาน พัฒนาคน และพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา และองคความรูในศาสตรสาขาตาง ๆ ที่เปนประโยชนตอการ พัฒนากระบวนการเรียนรูที่สอดคลองและเหมาะสมกับความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกทั้งในปจจุบัน และอนาคตตอไป ขอบเขตการทําวิจัยในชั้นเรียน (วิทยา ใจวิถี, มปป.) - การวิจัยในชั้นเรียน กลุมตัวอยางและเปาหมายของการวิจัยจะใชกลุมตัวอยางขนาดเล็ก ใช ศึกษาในหองเรียนใดหองเรียนหนึ่งและมีเปาหมายคือการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน เพราะเชื่อวา ถาครูใชกิจกรรมการสอนที่ดีและเหมาะสมกับผูเรียนยอมมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและบรรลุเปาหมาย ทางการพัฒนานักเรียน - การวิจัยในชั้นเรียน เปนการวิจัยโดยครูผูสอนในหองเรียนกับนักเรียนเพื่อแกปญหาหรือ พัฒนาการเรียนการสอนในวิชาที่ครูรับผิดชอบ - ขอบเขตการวิจัยในชั้นเรียนนั้นจะใหความสําคัญกับการคิดคนพัฒนานวัตกรรมเพื่อแกปญหา หรือพัฒนาการเรียนการสอนอยางเหมาะสม ความแตกตางระหวางการวิจัยในชั้นเรียน กับ การวิจัยทางการศึกษา (อุทุมพร จามรมาน, 2545) รายการ การวิจัยในชั้นเรียน การวิจัยทางการศึกษา 1. ใครทํา ครูประจําการ ครูที่วาง นิสิต นักศึกษา ที่ทําวิทยานิพนธ นักการศึกษา 2. ทําอะไร แกปญหานักเรียน บางคน บางเรื่อง แกปญหาทางการศึกษา 3. เริ่มที่ไหน สังเกตวานักเรียนบางคนเรียน ไมทัน การทบทวนรายงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อน มีพฤติกรรมแตกตางจากกลุม 4. ทําที่ไหน ในหอง/โรงเรียน ในหอง/โรงเรียน ที่อื่นๆ 5. การออกแบบการวิจัย ไมตอง (อยางเปนทางการ) ตอง 6. สรางเครื่องมือวัด ไมตอง ครูคือเครื่องมือเก็บขอมูลโดย ตอง เชน แบบสอบถาม แบบสํารวจ แบบ การสังเกต ซักถาม สัมภาษณ แบบวัดตาง ๆ แบบทดสอบ 7. ระบุประชากร กลุม ไมตองใชเลือกเฉพาะนักเรียนที่เปน ตอง ตัวอยางหรือไม ปญหา 8. เก็บขอมูลนานหรือไม ไมนาน นาน 9. ใชเวลาทํานานเทาไร 2 วัน – 2 สัปดาห 1 ปการศึกษาเปนอยางนอย 10. ใน 1 ภาค การศึกษาทํา หลายเรื่อง อาจได 1 เรื่อง ไดกี่เรื่อง วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
  • 3. การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา 3 รายการ การวิจัยในชั้นเรียน การวิจัยทางการศึกษา 11. ใชสถิติหรือไม ไม ตอง 12. ทําเมื่อไร ทําไปสอนไป หนีสอนไปทํา 13. ทําเพื่ออะไร เพื่อแกปญหานักเรียน  เพื่อขอเปนผลงาน/องคความรู 14. ความยาว/เรื่อง 2 – 3 หนา 5 บท 15. เสียคาใชจายหรือไม ไมตองเสีย ตอง 16. อนาคตของผูทํา ครูมืออาชีพ นักวิจัยทางการศึกษา 17. ทําเพื่อใคร นักเรียน ตัวเอง 18. ชื่อเรื่อง “การแกปญหานักเรียน-กี่คน ชั้นใด ก. การหาความสัมพันธระหวาง เรื่องอะไร” ................... ข. การสํารวจ...................... ค. การทดลอง...................... ง. การเปรียบเทียบ................. จ. การพัฒนา......................... ฉ. การวิเคราะห...................... ช. การศึกษา........................... ซ. การทํานาย......................... ฌ. การสรุปอางอิง................... 19. ผลงานเอาไปทําอะไร ความเปนครู เพื่อนําไปขอผลงานในที่สุด 20. ขอบเขตที่ทํา ทําในหองเรียน/โรงเรียนของตน นอกโรงเรียนของตน กระบวนการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู Active Learning to Action Research (ALAR Model) (adapted from Simple Action Research Model; Maclsaac, 1995 and Active Learning Design: Oliver, 1999) (วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล, 2552) วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
  • 4. การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา 4 ALAR Model เปนเครื่องมือที่พัฒนาขึ้นเพื่อเปนเปนแนวทางในการดําเนินการวิจัยในในชั้นเรียน อันจะชวยครูผูสอนในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่แกปญหาการเรียนรูของผูเรียน ซึ่งพัฒนาจาก การบูรณาการแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการ Action Research ของ Maclsaac (1995) เขากับรูปแบบการ ออกแบบการเรียนรู (Learning Design) ของ Oliver (1999) โดย ALAR Model ประกอบดวยโครงสราง หลัก 2 สวนคือ 1) กระบวนการวิจัยแบบ Action Research มี 4 ขั้นตอนคือ การวางแผน (plan) การ ดํ า เนิ น การ (action) การสั ง เกตและบั น ทึ ก ผล (observe) และการสะท อ นความคิ ด (reflection), และ 2) การออกแบบการเรียนรู โดยในแตละขั้นตอนของ Action Research ตองพิจารณาปจจัยการออกแบบ การเรียนรู 3 ประการควบคูกับไปดวยคือ - กิจกรรมการเรียนรู (Learning Tasks) ไดแก การออกแบบการสอน การกําหนดจุดประสงค การกําหนดวิธีจัดการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนรู การกําหนดบทบาทครูและบทบาทผูเรียน และ การวัดและประเมินผล - ทรัพยากรการเรียนรู (Learning Resources)ไดแก สื่อ วัสดุ อุปกรณ อาคาร-สถานที่ บุคลากร และสภาพแวดลอมการศึกษาตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยตรง - การสนับสนุนการเรียนรู (Learning Supports) ไดแก ปจจัยสนับสนุนอื่น ๆ ที่นอกเหนือจาก ทรัพยากรการเรียนรู เช น การสนั บสนุ นของผูบริหาร ความร วมมือของครูและบุคลากรภายในและ ภายนอกโรงเรียน หองสมุด แหลงเรียนรู ระบบเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศ เปนตน ซึ่งการนํา ALAR Model ไปใชในการปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียนมีรายละเอียดในแตละขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 การวางแผน (Plan) 1. วิเคราะหสภาพปญหาที่เกิดขึ้น และสงผลตอการเรียนรูของผูเรียน โดยวิเคราะหเกี่ยวกับ ปญหาที่เกิดจาก ครู ผูเรียน กิจกรรมการเรียนรู ทรัพยากรการเรียนรู และ การสนับสนุนการเรียนรู 2. วิเคราะหสาเหตุที่แทจริงของปญหาที่เกิดขึ้นในการจัดการเรียนการสอน 3. การกําหนดปญหาเพื่อนําไปสูการวิจัยในชั้นเรียน โดยตองพิจารณาวา เปนปญหาที่แทจริง ครูสามารถแกปญหานั้นไดดวยตนเอง  4. หาวิธีการในการแกไขปญหา ดวยการศึกษาจากเอกสาร งานวิจัย จากแหลงขอมูลตาง ๆ และ หรือ ปรึกษากับผูที่มีความเชี่ยวชาญและประสบการณในการแกปญหานั้น ๆ โดยครูตองสรุปขอมูลที่ เกี่ยวกับ - ปญหาที่เกิดขึ้นจะแกไดอยางไร - แนวทางแกปญหามีอะไรบาง วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
  • 5. การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา 5 - จะใชวิธีการหรือนวัตกรรมใดในการแกปญหา - มีกระบวนการดําเนินการอยางไร - จะแกปญหาในชวงระยะเวลาใด 5. เขียนโครงรางการวิจัยในชั้นเรียน โดยการนําความรูที่ไดจากขอ 4 มาเขียนโครงรางการวิจัย โดยรายละเอียดประกอบดวย - ชื่อเรื่อง (แกปญหาอะไร ของใคร ดวยวิธีใด) - ชื่อผูวิจย ั - ปญหาและสาเหตุ (ปญหาแทที่ครูสามารถแกได และสาเหตุของปญหา) - วัตถุประสงคการวิจัย (เพื่อแกปญหาอะไร ของใคร ที่ไหน กี่คน) - วิธดําเนินการวิจัย (วิธีการที่คาดวาจะแกไขปญหาได ขั้นตอนในการดําเนินงาน) ี - นวัตกรรมในการแกปญหา (ใชวิธีการ สื่อ หรือทรัพยากรการเรียนรูอื่นๆ มีลักษณะ อยางไร วิธการสราง การหาประสิทธิภาพ การนํานวัตกรรมไปใช) ี - วิธีการและเครื่องมือที่ใชเก็บขอมูล (จะรูไดอยางไรวาประสบความสําเร็จ) - สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล (ถามี) - ระยะเวลาในการดําเนินการวิจัย - ผลที่คาดวาจะไดรับ (พฤติกรรมของผูเรียนที่ไดรับการแกไขแลวคืออะไร) ขั้นที่ 2 การดําเนินการ (Action) 1. ออกแบบการเรียนรู ดวยการพิจารณาปจจัยหลัก 3 ประการ คือ - กิจกรรมการเรียนรู (Learning Tasks) ไดแก การกําหนดเนื้อหา กิจกรรมที่จะเกิดขึ้น บทบาทของผูเรียน บทบาทของผูสอน ผลที่คาดหวังจากการเรียนรู และวิธีวัดและ ประเมินผลการเรียนรู - ทรัพยากรการเรียนรู (Learning Resources) ไดแก การเลือก ปรับปรุง หรือ สราง นวัตกรรมหรือทรัพยากรที่เหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนรูที่กําหนดไว เชน เอกสาร แบบเรียน สื่อ วัสดุ อุปกรณ แบบวัดและประเมินผล ทรัพยากรบุคคล และ สภาพแวดลอมทางการเรียนรูตาง ๆ รวมทั้งการเตรียมความพรอมในการใชและ การบํารุงรักษาทรัพยากรเหลานั้นดวย - การสนับสนุนการเรียนรู (Learning Supports) ไดแก ปจจัยตางๆ ที่ชวยใหกิจกรรม การเรี ย นรู ที่ กํ า หนดไว ดํ า เนิ น ไปอย า งราบรื่ น ปราศจากอุ ป สรรคและข อ จํ า กั ด ซึ่ง นอกเหนื อจากทรั พ ยากรการเรีย นรู เช น แหลงข อมู ลเพิ่ม เติ ม ห องสมุ ด เทคโนโลยี บุคคล และ สถานที่ เปนตน วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
  • 6. การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา 6 การออกแบบการเรียนรู (วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล, 2552) 2. การพัฒนานวัตกรรมเพื่อแกปญหาการเรียนรูของผูเรียน นวัตกรรม หมายถึง การนําสิ่งใหม ๆ อาจเปนแนวความคิด หรือ สิ่งประดิษฐใหม ๆ หรือเปน การพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยูแลวใหทันสมัยและไดผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูง กวาเดิม นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง การนําเอาสิ่งใหม ๆ ซึ่งอาจจะอยูในรูปของความคิด หรือการ กระทํา รวมทั้งสิ่งประดิษฐใหม ๆ หรือเปนการพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยูแลว เขามาใชในระบบ การศึกษาเพื่อมุงหวังที่จะเปลี่ยนแปลงใหระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ความสําคัญของนวัตกรรมตอการศึกษา 1. เพื่อใหทันสมัยตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป 2. เพื่อแกไขปญหาทางดานการศึกษาบางอยางที่เกิดขึ้นอยางมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อแกไขปญหาทางดานการศึกษาในบางเรื่อง เชน ปญหาที่เกี่ยวเนื่องกับจํานวนผูเรียน การพัฒนาหลักสูตรใหทันสมัย การผลิตและพัฒนาสื่อใหม ๆ ขึ้นมา 4. เพื่อตอบสนองการเรียนรูของมนุษยใหเพิ่มมากขึ้นดวยระยะเวลาที่สั้นลง 5. การใชนวัตกรรมมาประยุกตในระบบการบริหารจัดการดานการศึกษา เพื่อชวยใหการใช ทรัพยากรการเรียนรูเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
  • 7. การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา 7 ประเภทของนวัตกรรมทางการศึกษา นวัตกรรมทางการศึกษาที่ใชแกปญหาหรือพัฒนาการเรียนการสอนมีหลายประเภท ในที่นี้ขอ นํา เสนอตัวอยางนวัตกรรมทางการศึกษาที่นิยมใชกันมากเพราะสะดวก ประหยัด สามารถจัดทําได ดวยตนเอง และงายแกการนําไปใช มี 2 ประเภท คือ สื่อการเรียนการสอนที่ประดิษฐ (Invention) และ เทคนิคการสอนกิจกรรมการพัฒนา หรือเทคนิควิธีสอน (Instruction) (วิทยา ใจวิถี, มปป.) ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา สื่อการสอน เทคนิควิธีการสอน สื่อสิ่งพิมพ สื่อโสตทัศน สื่ออิเลคทรอนิกส - แบบศูนยการเรียน - แบบการแสดงบทบาทสมมติ - เอกสารประกอบการสอน - ภาพยนตร วีดีทัศน - e-Book - การสอนซอมเสริม - บทเรียนสําเร็จรูป - สไลด แผนใส - CAI - แบบโครงงาน - ชุดการสอน/ชุดการเรียน - เทปเพลง แผนเสียง ซีดี - WBI - แบบปญหาเปนฐาน - รายงานการศึกษาคนควา - หุนจําลอง - WebQuest - แบบสมองเปนฐาน - รายงานโครงงาน - บัตรคํา แผนปาย - Learning Object - แบบรวมมือ - - ฯลฯ - - ฯลฯ - Blog - แบบโตวาที - Wiki - แบบกรณีศึกษา - Video on Demand - แบบเขียนแผนผังความคิด - Virtual Classroom - ฯลฯ - ฯลฯ กระบวนการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา Rogers (1983) ไดเสนอขั้นตอนในการพัฒนานวัตกรรมไวใน The Innovation-development Process ประกอบดวย 6 ขั้นตอน ประกอบดวย 1. การวิเคราะหความตองการหรือปญหา (Needs/Problems) 2. ศึกษาขอมูลหรือวิจัยเอกสาร (Research in basic and applied) 3. การพัฒนานวัตกรรม (Development) ดวยกระบวนการ R&D 4. การเตรียมนวัตกรรมเพื่อการนําไปใชงาน (Commercialization) 5. การแพรกระจายนวัตกรรม (Diffusion and Adoption) 6. การศึกษาผลการใชนวัตกรรม (Consequences) วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
  • 8. การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา 8 ในขั้ น ตอนของการพั ฒ นานวั ต กรรมนั้ น นั ก การศึ ก ษานิ ย มใช รู ป แบบการวิ จั ย และพั ฒ นา (Research and Development : R&D ของ Walter R. Borg and Meredith D. Gall) เปนระเบียบวิธีวิจัยใน การพัฒนานวัตกรรม โดยมีรายละเอียดของแตละขั้นตอนดังนี้ Research and Development ของ Walter R. Borg and Meredith D. Gall, 1989 1. การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ หมายถึง การศึกษาปญหาในการจัดการเรียน การสอน การศึกษาเอกสารและงานวิจัยเพื่อคนหาแนวทางที่เหมาะสมในการแกปญหา รวมทั้งความรู ที่จะใชในการพัฒนาสื่อและนวัตกรรม 2. การวางแผนพั ฒ นานวั ต กรรม หมายถึ ง การเตรี ย มการในด า นต า ง ๆ เช น หลั ก สู ต ร ระยะเวลา งบประมาณ วัสดุ-อุปกรณ บุคลากร ผูเชี่ยวชาญ กลุมตัวอยาง ฯลฯ วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
  • 9. การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา 9 3. การสรางนวัตกรรมตนแบบ หมายถึง การลงมือทําเพื่อสรางนวัตกรรมตนแบบ โดยมีการ ดําเนินงานดังนี้ - กําหนดเปาหมายและวัตถุประสงคของนวัตกรรม การสรางแผนการสอนและกําหนดเนื้อหา และการสร า งแบบทดสอบก อ นเรี ย น-หลั ง เรี ย น (โดยการวิ เ คราะห ค วามสอดคล อ งกั บ วัตถุประสงคโดยผูเชี่ยวชาญ และการวิเคราะหหาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ) - วิเคราะหโครงสรางนวัตกรรม ออกแบบขั้นแรก ประเมินและแกไขการออกแบบนวัตกรรม - เขียนแผนผังเพื่อใหเห็นโครงสรางทั้งหมดของนวัตกรรมที่จะสราง - รางลักษณะของนวัตกรรมแตสวนใหเห็นถึงรายละเอียดของนวัตกรรม - สรางนวัตกรรมตามที่ไดออกแบบไว - ผลิตเอกสารประกอบ ไดแก คูมือครู คูมือการใช คูมือนักเรียน เปนตน - ประเมินคุณภาพนวัตกรรมโดยผูเชี่ยวชาญในสาขาที่พัฒนานวัตกรรม จํานวน 3-5 คน และ ปรับปรุงตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ 4. การทดลองแบบหนึ่งตอหนึ่ง หมายถึง การทดลองใชนวัตกรรมกับผูเรียนทีละคน จํานวน 3 คน โดยสุมเลือกนักเรียนที่มีผลการเรียน เกง ปานกลาง และออน อยางละ 1 คน โดยผูพัฒนานวัตกรรม สังเกตการใชนวัตกรรมของแตละคนอยางใกลชิด 5. การประเมินคุณภาพนวัตกรรมและปรับปรุงครั้งที่ 1 หมายถึงการนําผลการทดลองแบบหนึ่ง ตอหนึ่งมาประเมินคุณภาพและปรับปรุงนวัตกรรมใหเหมาะสมยิ่งขึ้น 6. การทดลองแบบกลุมเล็ก หมายถึงการทดลองใชนวัตกรรมกับผูเรียนกลุมเล็ก จํานวน 9 คน โดยสุมเลือกนักเรียนที่มีผลการเรียน เกง ปานกลาง และออน อยางละ 3 คน 7. การประเมินประสิทธิภาพและปรับปรุงครั้งที่ 2 หมายถึงการนําผลการทดลองมาวิเคราะห ขอมูล หากผานเกณฑที่กําหนดก็สามารถนํานวัตกรรมไปทดลองขั้นตอไปได แตหากไมผานตองมีการ ปรับปรุงและนําไปทดลองกลุมเล็กกับนักเรียนชุดใหมอีกครั้ง 8. การทดลองแบบกลุมใหญ หมายถึงการทดลองใชนวัตกรรมกับผูเรียนกลุมใหญ จํานวน 30 คน โดยสุมเลือกนักเรียนที่มีผลการเรียน เกง ปานกลาง และออน อยางละ 10 คน (สําหรับการวิจัย ในชั้นเรียน สามารถใชขั้นตอนนี้ในการนํานวัตกรรมไปใชเพื่อแกปญหาการเรียนการสอนในสภาพจริง เนื่องจากเปนการวิจัยที่ดําเนินการกับกลุมประชากรโดยตรง) 9. การประเมินประสิทธิภาพและปรับปรุงครั้งที่ 3 หมายถึงการนําผลการทดลองมาวิเคราะห ขอมูล หากผานเกณฑที่กําหนดก็สามารถสรุปผลการพัฒนานวัตกรรมตอไป แตหากไมผานตองมีการ ปรับปรุงและนําไปทดลองกลุมใหญกับนักเรียนชุดใหมอีกครั้ง 10. การสรุปผล นําไปใช และเผยแพร หมายถึงการสรุปผลหรือเขียนรายงานผลการพัฒนา นวัตกรรมโดยจัดทําเปนผลงานทางวิชาการ รวมถึงการนําไปใชในการจัดการเรียนการสอนและเผยแพร วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
  • 10. การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา 10 การหาประสิทธิภาพนวัตกรรม (วิทยา ใจวิถี, มปป.) หลังจากการทดลองใชนวัตกรรมกับกลุมเล็ก และกลุมใหญแลว ผูพัฒนานวัตกรรมควรตอง ดําเนินการเพื่อหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมโดยมีวิธการดังนี้ ี 1. วิธีบรรยายเปรียบเทียบสภาพกอนและหลังการใชนวัตกรรม โดยการบันทึกหรือเก็บขอมูลที่ ไดจากการวัดผลผูเรียนดวยเครื่องมือตาง ๆ ทั้งกอนและหลังการใชนวัตกรรม แลวจึงนําขอมูลเหลานั้นมา ประกอบการบรรยายเชิงคุณภาพเพื่อแสดงใหเห็นวาหลังการใชนวัตกรรมแลวผูเรียนมีการพัฒนาเพิ่มขึ้น เปนที่นาพอใจมากนอยเพียงใด 2. วิ ธี นิ ย ามตั ว บ ง ชี้ ที่ แ สดงผลลั พ ธ ที่ ต อ งการ แล ว เปรี ย บเที ย บข อ มู ล ก อ นใช แ ละหลั ง ใช นวัตกรรม เชน กําหนดผลสัมฤทธิ์ไว รอยละ 65 แสดงวาหลังจากการใชนวัตกรรมแลวผูเรียนทุกคนที่เปน กลุมทดลองจะตองผานเกณฑที่กําหนดไวคือ รอยละ 65 จึงจะถือวานวัตกรรมนั้นมีประสิทธิภาพ 3. วิธีคํานวณหาอัตราสวน ระหวางรอยละของจํานวนผูเรียนที่สอบแบบทดสอบอิงเกณฑผาน เกณฑที่กําหนดไว (P1) ตอรอยละของคะแนนเต็มที่กําหนดเกณฑการผานไว(P2) เชน P1 : P2 = 70 : 60 หมายความวา กําหนดเกณฑการผานไววาตองมีผูเรียนรอยละ 70 ของจํานวนผูเรียนทั้งหมด ผานเกณฑ รอยละ 60 ของคะแนนเต็ม จึงจะแสดงวานวัตกรรมนั้นมีประสิทธิภาพ ขั้นที่ 3 การสังเกตและบันทึกผล (Observe) 1. การนํานวัตกรรมไปใชในการจัดการเรียนรูเพื่อแกปญหาของผูเรียน 2. สังเกตและบันทึกการดําเนินการวิจัยทุกขั้นตอน โดยกระบวนการ, การปฏิบัติ, และผลลัพธ 3. ประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูทั้งในสวนของกิจกรรมการเรียนรู ทรัพยากรการเรียนรู และการสนับสนุนการเรียนรู 4. วัดและประเมินพฤติกรรมการเรียนรูของผูเรียน 5. เครื่องมือสําหรับการเก็บขอมูล มีไดทั้งในลักษณะของการวิจัยเชิงปริมาณ เชน แบบทดสอบ และการวิจยเชิงปริมาณ เชน แบบสังเกต แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ เปนตน ั ขั้นที่ 4 การสะทอนความคิด (Reflection) 1. วิเคราะหขอมูลและสรุปผลการการดําเนินงาน 2. จั ด ทํ า บั น ทึ ก เพื่ อ สะท อ นความคิ ด จากการดํ า เนิ น การวิ จั ย ทั้ ง ในส ว นของ แนวคิ ด , กระบวนการ, ผลการเรียนรูของผูเรียน, ประโยชน, อุปสรรค, และแนวทางในการแกไข 3. จัดทําเอกสารรายงานผลการวิจัย และเผยแพรผลงานวิจัย 4. นําผลการวิจัยไปสูการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและวิชาชีพครู 5. ปรับปรุงการวางแผนอีกครั้งเพื่อการดําเนินการวิจัยในครั้งตอๆ ไป วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
  • 11. การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา 11 การเขียนรายการการวิจัยในชั้นเรียน (วิทยา ใจวิถี, มปป.) เมื่อครูทําวิจัยในชั้นเรียนเพื่อแกปญหาใดๆ ประสบความสําเร็จแลวใหจัดทํารายงานการวิจัยใน ชั้นเรียนเรื่องนั้น ๆ เปนการเขียนรายงานงานวิจัยตั้งแตเริ่มตนวิเคราะหและสํารวจปญหา การพัฒนา นวัตกรรม การทดลองใชเพื่อแกปญหาจนกระทั่งถึงการวิเคราะหผล สรุปผล อภิปราย และขอเสนอแนะ การเขียนรายงานการวิจัยเปนการเสนอสิ่งที่ไดศึกษาคนควาอยางเปนระบบใหผูอื่นทราบโดยมีหัวขอการ เขียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน ดังนี้ 1. ชื่อเรื่อง 2. ชื่อผูวิจย ั 3. ปญหาในการจัดการเรียนการสอน 4. สาเหตุของปญหา 5. วัตถุประสงคของการวิจัย 6. วิธีดําเนินงาน 7. นวัตกรรมที่ใชในการแกปญหา 8. วิธีการและเครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล 9. สถิตที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ิ 10. ระยะเวลาดําเนินการ 11. ผลการวิเคราะหขอมูล 12. สรุปและอภิปรายผลการวิจัย การนําผลการวิจัยไปใช (วิทยา ใจวิถี, มปป.) ครูผูสอนสามารถนําผลการวิจัยในชั้นเรียนไปใชดังนี้ 1. นําไปใชในการพัฒนา ปรับปรุงการเรียนการสอนในหองเรียน - ใชแกปญหาการเรียนการสอนโดยตรง เชน การใชเทคนิคการสอนซอมเสริมแบบตางๆ ที่ครู คิดคนขึ้นมาแลวนําไปสอนซอมเสริมผูเรียนที่เรียนชา - ใชเปนขอมูลในการปรับปรุงการเรียนการสอน - ใชในการพัฒนาหลักสูตร 2. นําไปใชเปนขอมูลพื้นฐานในการพัฒนาการเรียนการสอน - เผยแพรเพื่อใหบุคคลอื่น หรือหนวยงานที่เกี่ยวของนําไปใชประโยชนในการอางอิง - เผยแพรแกบุคคลอื่น หรือหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อใหเกิดแนวทางในการศึกษาคนหาความรู ใหมที่ลกซึ้งและมีประโยชนตอไป ึ วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
  • 12. การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา 12 3. นําไปใชในการพัฒนาวิชาชีพ - การวิจัยในชั้นเรียน นอกจากจะเปนการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนแลว ยังเปนการ พัฒนาวิชาชีพของครูอีกดวย คือ เมื่อครูทําการวิจัยในชั้นเรียน ทําใหเปนการเสริมสรางความรูทางวิชาการ ของตนเอง ทําใหครูมีนวัตกรรม ที่มีคุณภาพ ซึ่งทําใหเกิดมาตรฐานในการเรียนการสอนตามระบบการ ประกันคุณภาพการศึกษา ตอไป สรุปลักษณะการวิจัยในชันเรียน (วิทยา ใจวิถี, มปป.) ้ 1. ผูทําวิจัยยังคงทํางานตามปกติของตน 2. ไมตองสรางเครื่องมือวิจัย (แตสรางเครื่องวัดผล) 3. ไมมีขอมูลจํานวนมาก และไมตองใชสถิติที่ซับซอน 4. ขอมูลสวนใหญมาจากการสังเกต การพูดคุย และใชการวิเคราะหเนื้อหา 5. ไมตองทบทวนรายงานวิจยที่เกี่ยวของ ั 6. ใชเวลาทําวิจัยไมนาน 7. ความยาว 2 – 3 หนาตอเรื่อง 8. นักเรียนไดรับการพัฒนา 9. ไมมีระบุประชากร การสุมตัวอยาง 10. ไมตองใชสถิติสรุปอางอิง และไมมระดับนัยสําคัญ ี 11. ไมมีการทดสอบกอน หลัง 12. ไมมีกลุมทดลอง และกลุมควบคุม 13. เนนการแกไขที่สาเหตุของปญหาของนักเรียน บางคน บางเรื่อง วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
  • 13. การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา 13 แนวทางการเขียนเคาโครงการวิจัยในชั้นเรียน (1) (วิทยา ใจวิถี, มปป.) 1. ชื่อเรื่อง การฝกทักษะกระบวนการในการตรวจซอมและติดตั้งระบบเบรครถยนต สําหรับนักศึกษา ชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต ปการศึกษา 2545 วิทยาลัยเทคนิคหวยแกว จ.เชียงใหม จํานวน 20 คน 2. ชื่อผูดําเนินการวิจย นายวิทยา ใจวิถี ั 3. ปญหาในการจัดการเรียนการสอน “นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์เรื่องการตรวจซอม และติดตั้งระบบเบรครถยนตอยูในเกณฑต่ํา” 4. สาเหตุของปญหา นักศึกษามีโอกาสในการรับการฝกปฏิบัติเพื่อใหเกิดทักษะกระบวนการไมเพียงพอ เนื่องมาจาก เวลาการฝ ก ปฏิ บั ติ มี จํ า นวนจํ า กั ด รวมทั้ ง ยั ง ขาดสื่ อ การเรี ย นการสอนที่ เ ป น ตั ว ช ว ยในการเสริ ม ประสบการณการเรียนที่เหมาะสม 5. วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อใหนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต ปการศึกษา 2545 วิทยาลัยเทคนิคหวยแกว มี ความสามารถดานการฝกทักษะกระบวนการในการตรวจซอมและติดตั้งระบบเบรครถยนตไดอยางมี ประสิทธิภาพ จํานวน 20 คน 2. เพื่อสรางและพัฒนาชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการในการตรวจซอมและติดตั้งระบบ เบรครถยนตในชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต 6. วิธีดําเนินงาน 1. รวบรวมรายชื่อนักศึกษาที่ตองไดรับการพัฒนา 2. วิเคราะหเนื้อหา และจัดหา จัดสรางชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการในการตรวจซอม และติดตั้งระบบเบรครถยนตในชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต 3. แบงกลุมนักศึกษา และแนะนําการใชชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการในการตรวจซอม และติดตั้งระบบเบรครถยนตใหกับนักศึกษา จํานวน 20 คน 4. ใหนักศึกษาดําเนินการศึกษาชุดฝก และนําไปลงมือปฏิบัติการฝกในโรงงาน 5. ครูผูสอน ควบคุม สังเกตพฤติกรรม และใหขอเสนอแนะระหวางการฝกปฏิบัติอยางตอเนื่อง 6. นักศึกษาทดสอบ ทดลองปฏิบัติงานจนเกิดทักษะ 7. ใชกระบวนการกลุมในการสรุป และประเมินผลจากการฝกปฏิบัติ 8. ครูผูสอนรวมกับนัก ศึกษาสรุปผลของทุกกลุม ใหขอเสนอแนะจากการสังเกตการลงมือ ปฏิบัติกิจกรรม ใหขอเสนอแนะ รวมทั้งการปรับปรุงชุดฝกปฏิบัติ และประเมินผลรวมกัน  วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
  • 14. การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา 14 7. นวัตกรรมที่ใชในการแกปญหา ชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการในการตรวจซอมและติดตั้งระบบเบรครถยนต สําหรับ นักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต ปการศึกษา 2545 8. วิธีการวัดผลและเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล วิธีการวัดผล 1. ใชวิธีการสังเกตพฤติกรรมในระหวางการฝกปฏิบติ ั 2. การตรวจสอบผลงาน 3. ทดสอบผลงานจากการปฏิบัติ และใชแบบทดสอบเพื่อวัดความรูความเขาใจ  เครื่องมือ แบบสังเกตพฤติกรรม แบบประเมินตรวจสอบผลงาน และแบบทดสอบ เกณฑการผาน ผูเรียนแตละคนไดคะแนนรวมตั้งแตรอยละ 60 ขึ้นไป 9. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คารอยละ และคาเฉลี่ย 10. ระยะเวลาดําเนินการแกไขเสร็จ 10 สัปดาห 11. ความคาดหวัง 1. นักศึกษาชั้น ปวช.2 จํานวน 20 คน สาขางานยานยนต ปการศึกษา 2545 วิทยาลัยเทคนิคหวย แกว มีความสามารถดานการฝกทักษะกระบวนการในการตรวจซอมและติดตั้งระบบเบรครถยนตไดอยาง มีประสิทธิภาพ อยางนาพอใจ 2. ไดชุดฝกปฏิบติเสริมทักษะกระบวนการในการตรวจซอมและติดตั้งระบบเบรครถยนตในชั้น ั ปวช.2 สาขางานยานยนตที่มีประสิทธิภาพ วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
  • 15. การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา 15 แนวทางการเขียนเคาโครง การวิจัยในชั้นเรียน (2) (วิทยา ใจวิถี, มปป.) 1. ชื่อเรื่อง การออกเสียง ร และคําควบกล้ําในวิชาภาษาไทยไม ชัดเจน ของนักเรียนชั้น ......โรงเรียน / วิทยาลัย ........................จํานวน ........ คน 2. ชื่อผูดําเนินการวิจัย ครูลําพา รักการสอน 3. ปญหาในการจัดการเรียนการสอน นักเรียนจํานวน ..........คน มีปญหาการออกเสียง ร และคําควบกล้ําไมชัดเจน 4. สาเหตุของปญหา นั ก เรี ย นได รั บ การฝ ก การออกเสี ย ง ร และคํ า ควบกล้ํ า ไม เ พี ย งพอ ซึ่ ง ส ง ผลกระทบต อ การ ตีความหมายของประโยคหรือขอความและการติดตอสื่อสารกับผูอื่น 5. วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อใหนักเรียนจํานวน ........คน มีความสามารถในดานการออกเสียง ร และคําควบกล้ําได อยางมีถูกตอง 2. เพื่อสร างนิท านภาพและจั ด ทําคูมือการฝก อา นออกเสี ย งคํ าที่มีเ สีย ง ร และคํา ควบกล้ํ า นําไปใชกับนักเรียนที่อานออกเสียง ร และคําควบกล้ํา 6. วิธดาเนินงาน ี ํ 1. รวบรวมรายชื่อจํานวนนักเรียนที่มีปญหาในเรื่องอานออกเสียง ร และคําควบกล้ํา 2. สรางนิทานภาพและจัดทําคูมือการฝกอานออกเสียงคําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ํานําไปใชกับ นักเรียนที่อานออกเสียง ร และคําควบกล้ําไดไมเกิน 8 คํา 3. ใหนกเรียนอานทีละคน แลวบันทึกไว ั 4. นํานิทานภาพและคูมือการฝกมาฝกนักเรียน สัปดาหละ 2 ครั้ง ชวงเลิกเรียน จํานวน 16 ครั้ง และประเมินผลการฝกทุกครั้งใหไ ด ตามเกณฑที่ กําหนด เมื่ อผานเกณฑ แลว จึง จะ สามารถฝกในครั้งตอไปได 5. เมื่อฝกครบ 16 ครั้งแลว นําแบบทดสอบมาสอบนักเรียนทีละคนอีกครั้ง 6. ประเมินผลรายบุคคลและภาพรวม 7. นวัตกรรมที่ใชในการแกปญหา นิทานภาพและคูมือการฝกอานออกเสียงคําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ํา สําหรับนักเรียนชั้น..... โรงเรียน / วิทยาลัย ............. วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
  • 16. การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา 16 8. วิธีการวัดผลและเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล วิธีการ การสังเกตพฤติกรรม และการทดสอบ เครื่องมือ แบบสังเกตพฤติกรรม และแบบทดสอบ เกณฑการผาน นักเรียนสามารถออกเสียงคําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ํา เพิ่มมากขึ้นรอยละ 60 9. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล การบรรยายคุณภาพ และคารอยละ 10. ระยะเวลาดําเนินการแกไขเสร็จ 8 สัปดาห 11. ความคาดหวัง 1. นักเรียนจํานวน ........คน มีความสามารถในดานการออกเสียง ร และคําควบกล้ําไดอยางมี ถูกตอง 2. ไดนิทานภาพและคูมือการฝกอานออกเสียงคําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ํา นําไปใชกับนักเรียน ที่อานออกเสียง ร และคําควบกล้ํา ไดอยางมีประสิทธิภาพ วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
  • 17. การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา 17 แนวการเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน (1) (วิทยา ใจวิถี, มปป.) 1. ชื่อเรื่อง การฝกทักษะกระบวนการในการติดตั้งระบบเบรครถยนต สําหรับนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางาน ยานยนต ปการศึกษา 2545 วิทยาลัยเทคนิคหวยแกว จ.เชียงใหม จํานวน 12 คน 2. ชื่อผูดําเนินการวิจัย นายวิทยา ใจวิถี 3. ปญหาในการจัดการเรียนการสอน “นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์เรื่องการติดตั้งระบบเบรครถยนตอยูในเกณฑต่ํา” 4. สาเหตุของปญหา นักศึกษาไดรับการฝกปฏิบัติในเรื่องการติดตั้งระบบเบรครถยนตเพื่อใหเกิดทักษะกระบวนการ ไมเพียงพอ 5. วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อใหนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต ปการศึกษา 2545 วิทยาลัยเทคนิคหวยแกว มี ความสามารถด า นการฝ ก ทั ก ษะกระบวนการในการติ ด ตั้ง ระบบเบรครถยนตไ ด อย า งมี ประสิทธิภาพ จํานวน 12 คน 2. เพื่อสรางและพัฒนาชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการในการติดตั้งระบบเบรครถยนตใน ชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต 6. วิธีดําเนินงาน 1. รวบรวมรายชื่อนักศึกษาที่ตองไดรับการพัฒนา 2. วิเคราะหเนื้อหา และจัดสรางชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการในการติดตั้งระบบเบรค รถยนตในชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต 3. แบงกลุมนักศึกษา และแนะนําการใชชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการในการติดตั้ง ระบบเบรครถยนตใหกับนักศึกษา จํานวน 12 คน 4. ใหนักศึกษาดําเนินการศึกษาชุดฝก และนําไปลงมือปฏิบัติการฝกในโรงงาน 5. ครูผูสอน ควบคุม สังเกตพฤติกรรม และใหขอเสนอแนะระหวางการฝกปฏิบัติอยางตอเนื่อง 6. นักศึกษาทดสอบ ทดลองปฏิบัติงานจนเกิดทักษะ 7. ใชกระบวนการกลุมในการสรุปผล และประเมินผลจากการฝกปฏิบัติ 8. ครูผูสอนรวมกับนัก ศึกษาสรุปผลของทุ กกลุม ใหขอเสนอแนะจากการสังเกตการลงมือ ปฏิบัติกิจกรรม ใหขอเสนอแนะ รวมทั้งการปรับปรุงชุดฝกปฏิบัติ และประเมินผลรวมกัน วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
  • 18. การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา 18 7. นวัตกรรมที่ใชในการแกปญหา ชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการในการติดตั้งระบบเบรครถยนต สําหรับนักศึกษาชั้น ปวช. 2 สาขางานยานยนต ปการศึกษา 2545 8. วิธีการวัดผลและเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูล วิธีการวัดผล 1. ใชวิธีการสังเกตพฤติกรรมในระหวางการฝกปฏิบัติ 2. การตรวจสอบผลงาน 3. ทดสอบผลงานจากการปฏิบัติ และใชแบบทดสอบเพื่อวัดความรูความเขาใจ เครื่องมือ แบบสังเกตพฤติกรรม แบบประเมินตรวจสอบผลงาน และแบบทดสอบ เกณฑการผาน ผูเ รียนทัง 12 คนไดคะแนนตั้งแตรอยละ 60 ขึ้นไป ้ 9. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คารอยละ และคาเฉลี่ย 10. ระยะเวลาดําเนินการแกไขเสร็จ 5 สัปดาห 11. ผลการวิเคราะหขอมูล ประเมิน ทดสอบ การสังเกตรวมกิจกรรม รวม ลําดับที่ ชื่อผูเรียน ผลงาน 50 คะแนน 30 คะแนน 20 คะแนน 100 คะแนน 1 นาย ขาว 34 22 14 70 2 นายแดง 32 24 14 70 3 นายดํา 31 26 15 72 4 นายเขียว 34 24 16 74 5 นาย...... 34 21 14 69 6 นาย...... 31 23 17 71 7 นาย...... 32 23 14 69 8 นาย...... 31 24 15 70 9 นาย...... 30 22 14 66 10 นาย...... 35 22 13 70 11 นาย...... 36 23 16 75 12 นาย...... 33 21 16 70 คะแนนสูงสุด 36 21 17 75 คะแนนต่ําสุด 30 21 13 66 คาเฉลี่ย 32.75 22.92 14.83 70.50 คารอยละ 65.50 76.39 74.17 70.50 วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
  • 19. การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา 19 จากตาราง พบวา นักศึกษามีคาคะแนนรวมจากการประเมินทั้ง 3 เรื่อง อยูในระดับที่นาพอใจ ซึ่งมี คาคะแนนรวมรอยละ 70.50 ในจํานวนดังกลาว มีนักศึกษามีคาคะแนนสูงสุด 75 คะแนน และคาคะแนน ต่ําสุด 66 คะแนน จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน 12. การสรุปผลการวิจัย ผลจากการใชชุดฝกปฏิบัติเพื่อเสริมทักษะสําหรับนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต ป การศึกษา 2545 จํานวน 12 คน ปรากฏวา ผลสัมฤทธิ์จากการเรียนรูและการรวมกิจกรรมการฝกทักษะโดย ใชชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะโดยรวม มีผลสัมฤทธิ์เปนที่นาพอใจ บรรลุตามวัตถุประสงคของการวิจัย นั่น คือการนําเอาชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการมาใชในกระบวนการเรียนการสอนสามารถที่จะชวย ครูผูสอนไดพัฒนาผูเรียนใหเกิดกระบวนการเรียนรู และสามารถเพิ่มทักษะสําหรับผูเรียนไดเปนอยางดี วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
  • 20. การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา 20 แนวทางการเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน (2) 1. ชื่อเรื่อง การออกเสียง ร และคําควบกล้ําในวิชาภาษาไทยไมชดเจน ของนักเรียนชั้น ...... วิทยาลัย ั .................จํานวน ........ คน 2. ชื่อผูดําเนินการวิจัย ครูบังอร รักการสอน 3. ปญหาในการจัดการเรียนการสอน นักเรียนจํานวน .......คน มีปญหาการออกเสียง ร และคําควบกล้ําไมชัดเจน 4. สาเหตุของปญหา นั ก เรี ย นได รั บ การฝ ก การออกเสี ย ง ร และคํ า ควบกล้ํ า ไม เ พี ย งพอ ซึ่ ง ส ง ผลกระทบต อ การ ตีความหมายของประโยคหรือขอความและการติดตอสื่อสารกับผูอื่น 5. วัตถุประสงคของการวิจัย 2. เพื่อใหนักเรียนจํานวน ........คน มีความสามารถในดานการออกเสียง ร และคําควบกล้ําได อยางมีถูกตอง 3. เพื่อสร างนิ ท านภาพและจัด ทําคูมือการฝก อา นออกเสีย งคํ าที่มีเ สีย ง ร และคํา ควบกล้ํ า นําไปใชกับนักเรียนที่อานออกเสียง ร และคําควบกล้ํา 6. วิธีดําเนินงาน 1. รวบรวมรายชื่อจํานวนนักเรียนที่มปญหาในเรื่องอานออกเสียง ร และคําควบกล้ํา ี 2. ศึกษาวิธีการสรางนิทานภาพและคูมือการฝกออกเสียงคําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ํา จาก เอกสารตาง ๆ 3. สรางนิทานภาพและจัดทําคูมือการฝกอานออกเสียงคําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ํานําไปใชกับ นักเรียนที่อานออกเสียง ร และคําควบกล้ําไดไมเกิน 8 คํา 4. ใหนักเรียนที่มีปญหาอานทีละคนแลวบันทึกไว 5. นํานิทานภาพและคูมือการฝกมาฝกนักเรียน สัปดาหละ 2 ครั้ง ชวงเลิกเรียน จํานวน 16 ครั้ง และประเมินผลการฝกทุกครั้งโดยใหไดตามเกณฑรอยละ 70 ของคําที่กําหนดให ทั้งหมด เมื่อผานเกณฑแลวจึงจะสามารถฝกในครั้งตอไปได 6. เมื่อฝกครบ 16 ครั้งแลว นําแบบทดสอบมาสอบนักเรียนทีละคนทั้ง 12 คนอีกครั้ง 7. ประเมินผลรายบุคคลและภาพรวม 7. นวัตกรรมที่ใชในการแกปญหา  นิทานภาพและคูมือการฝกอานออกเสียงคําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ํา สําหรับนักเรียนชั้น ............ วิทยาลัย .................. วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
  • 21. การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา 21 8. วิธีการวัดผลและเครื่องมือการเก็บรวบรวมขอมูล วิธีการ การสังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียง และการทดสอบ เครื่องมือ แบบสังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียง และแบบทดสอบ เกณฑการผาน นักเรียนสามารถออกเสียงคําที่มเี สียง ร และคําควบกล้ํา ผานเกณฑการฝกใน แตละครั้ง 9. สถิติท่ใชในการวิเคราะหขอมูล ี การบรรยายคุณภาพ และคารอยละ 10. ระยะเวลาดําเนินการแกไขเสร็จ 8 สัปดาห 11. ผลการวิเคราะหขอมูล จากการสังเกตพฤติกรรมและการทดสอบหลังใชแบบฝก ปรากฏวา นักเรียนสามารถออกเสียง คําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ํา ไดจํานวนคํามากกวากอนการฝกทุกคน และผลการทดสอบสุดทายของ ทุกคนผานเกณฑรอยละ 70 ซึ่งจากการทดลองใชนทานภาพและคูมอการฝกออกเสียง ชวยใหนกเรียน ิ ื ั สามารถออกเสียงคําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ําไดถูกตอง 12. การสรุปผล และขอเสนอแนะ จากการทดลองใชนทานภาพและคูมือการฝกออกเสียง ซึ่งชวยใหนกเรียนสามารถออกเสียงคํา ิ ั ที่มีเสียง ร และคําควบกล้าไดถูกตอง และครูลําพาไดนาไปเผยแพรแกครูผูสอนชั้น ...........และชันอื่น ๆ ํ ํ ้ ที่มีปญหาในลักษณะเดียวกันนี้ แตจะตองปรับเนื้อเรื่องและสรางนิทานภาพใหเหมาะสมกับนักเรียนเพื่อ นําไปใชแกปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพตอไป  วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552
  • 22. การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา 22 แหลงขอมูล ไพจิตร สดวกการ และ ศิรกาญจน โกสุมภ. ชุดฝกอบรมครู: ประมวลสาระ บทที่ 7 การวิจัยในชั้นเรียน. ิ โครงการพัฒนาผูบริหารการศึกษา ผูบริหารสถานศึกษา ครู ผูนาชุมชนและผูนําองคกรปกครอง ํ สวนทองถิ่น, 2545 วิทยา ใจวิถี. เอกสารประกอบการวิจยในชันเรียน (ฉบับยอ). สืบคนจาก ั ้ www.act.ac.th/download/inc_downloading.asp?iFile=2504 เมื่อ 18 สิงหาคม 2552 วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล. การพัฒนานวัตกรรมเพื่อสรางผลงานทางวิชาการ. ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี, 2551 อุทุมพร จามรมาน. ชุดฝกอบรม เรื่อง การทําวิจัยในชั้นเรียน. 2545 สืบคนจาก http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~jutumpor เมื่อ 18 สิงหาคม 2552 Borg, R. and Gall, D. Educational Research: An Introduction (5th ed.). New York: Longman, 1989 Brien, R. Methodological Approach of Action Research. Faculty of Information Studies, University of Toronto, 1998. Oliver, R. Exploring strategies for on-line teaching and learning. Distance Education, 1999. วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552