SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Skeletal Muscle TissueSkeletal Muscle Tissue
กล้ามเนื้อลาย
(Skeletal muscle)
 กล้ามเนื้อชนิดนี้เมื่อมองดูด้วย
กล้องจุลทรรศน์ พบว่าภายในเซลล์ของ
กล้ามเนื้อมีลาย มองเห็นเป็นแถบใส
และทึบสลับกันเป็นระเบียบ
 กล้ามเนื้อลายจะเกาะติดอยู่กับกระดูกอย่าง
น้อย 2 ชิ้น ผ่านข้ออย่างน้อย 1 ข้อ
 แรงที่เกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อจะดึง
กระดูกให้เคลื่อนที่ตามไปด้วย ทำาให้ร่างกาย
เกิดการเคลื่อนไหว
Anatomy of skeletal muscles
Skeletal
muscle
fiber (cell)
Muscle
Fascicle
Surrounded by
perimysium
Surrounded by
endomysium
endomysium
perimysium
Skeletal
muscle
Surrounded by
epimysium
epimysium
tendon
กล้ามเนื้อลาย
(Skeletal muscle)
 การหดตัวของกล้ามเนื้อลายถูกควบคุมโดย
ระบบประสาทส่วนกลาง จึงอาจกล่าวได้
ว่ากล้ามเนื้อลายทำางานภายใต้อำานาจจิตใจ
 กล้ามเนื้อลายเป็นกล้ามเนื้อที่มีจำานวน
มากที่สุดในร่างกาย คือมีประมาณ
40-50% ของนำ้าหนักร่างกาย
โครงสร้างของกล้ามเนื้อลาย
(Architecture of Skeletal
muscle)
 มีรูปร่างเป็นรูปทรงกระบอกยาว (Cylinder)
 มีความยาวตั้งแต่ 1-40 มิลลิเมตร เนื่องจากมี
ความยาวมากนี้เองจึงเรียกเซลล์กล้ามเนื้ออีก
อย่างหนึ่งว่า muscle fiber
 ภายในเซลล์กล้ามเนื้อส่วนใหญ่จะมี
nucleus หลายอัน เราจึงเรียกว่า
multinucleated cell นิวเคลียสเหล่านี้จะ
กระจายอยู่ชิดกับผนังเซลล์ จึงอาจเป็น
สาเหตุหนึ่งที่ทำาให้กล้ามเนื้อลายหดตัว
Microanatomy of a Muscle Fiber (cell)
โครงสร้างของกล้ามเนื้อลาย
(Architecture of Skeletal
muscle)
 ผนังเซลล์กล้ามเนื้อมีชื่อเฉพาะว่า
Sarcolemma
 ส่วน Cytoplasm ก็มีชื่อเฉพาะเรียกว่า
Sarcoplasm ภายใน Cytoplasm จะมี
เส้นใยเล็ก ๆ สลับกันอยู่ตามยาวของ fiber
เรียกว่า myofibrils ซึ่ง myofibril จะเรียงตัว
กันอยู่อย่างหนาแน่นและเรียงตัวในแต่ละ
แห่งไม่เท่ากันจึงทำาให้มองเห็นเป็นลาย
 myofibrils เป็นกลุ่มของโปรตีนในกล้าม
bundle of
muscle fibers
muscle fiber
(cell)
myofibril
sarcomere
MuscleMuscle
AnatomyAnatomy
โครงสร้างของกล้ามเนื้อลาย
(Architecture of Skeletal
muscle)
 กลุ่มของ Contractile protein เหล่านี้ถูกหุ้ม
ด้วย Sarcoplasmic reticulum จึงพัฒนามา
จาก endoplasmic reticulum โดยมันจะหุ้ม
myofilament ไว้ตลอดความยาวของมัน อาจ
เรียกว่า longitudinal tubular system ตรง
ปลายสุดของ Sarcoplasmic reticulum จะ
ขยายออก เรียกว่า Terminal cisterna ทำา
หน้าที่เป็นแหล่งเก็บสะสม Ca++
 ส่วน Sarcolemma จะยื่นบางส่วนลงไปใน
myofibril ส่วนของผนังเซลล์ที่ยื่นลงไปเรียก
ว่า Transverse tubular system (T system
หรือ T tubule)
 หน้าที่สำาคัญของ T system คือช่วยกระจาย
action potential จากผนังเซลล์กล้ามเนื้อเข้า
มายัง myofibrils ซึ่งอยู่ใจกลางของเซลล์
ทำาให้ myofibril แต่ละส่วนได้รับ action
potential อย่างสมำ่าเสมอ ทำาให้กล้ามเนื้อ
Microanatomy of a Muscle Fiber (Cell)
sarcolemma
transverse
(T) tubules sarcoplasmic
reticulum
terminal
cisternae
myofibril
thin myofilament
thick myofilament
triad
mitochondria
nuclei
myoglobin
Muscle fiber
myofibril
Thin filaments Thick filaments
Thin myofilament
Myosin molecule of
thick myofilament
sarcomere
Z-line
การที่เรามองเห็นลายของกล้ามเนื้อ
ทางกล้องจุลทรรศน์นั้น เกิดจากการ
เรียงตัวของกลุ่มโปรตีนที่ทำาหน้าที่
ในการหดตัว ซึ่งมีการเรียงตัวใน
แต่ละแห่งไม่เท่ากัน
 บริเวณที่มีการเรียงตัวหนาแน่นจะ
มองเห็นเป็นแถบทึบ แสงผ่านได้
 บริเวณที่โปรตีนเรียงตัวกันไม่หนาแน่น
จะเห็นเป็นแถบใส โปร่งแสง เรียกว่า I
band
 ทั้ง A band และ I band จะเรียงตัว
สลับกันตลอดความยาวของเซลล์กล้าม
เนื้อ
 ใน A band จะมีบริเวณโป่งใสทอด
ขวางอยู่ตรงกลาง เรียกว่า H Zone
SarcomereSarcomere
Z
lines
SarcomereSarcomere A band
SarcomereSarcomere I bands
ใน I band จะมีเส้นทึบทอดขวางคั่น
อยู่ตรงกลางของแถบ เส้นทึบนี้เรียก
ว่า Z line
 พื้นที่ระหว่าง Z line เรียกว่า
Sarcomere ซึ่งถือว่าเป็นหน่วยที่ทำา
หน้าที่ของเซลล์กล้ามเนื้อ
Thin Myofilament
(myosin binding site)
 ถ้าเราตัดเซลล์กล้ามเนื้อตามขวางจะ
มองเห็นการเรียงตัวของ myofilament
โดย Thick filament แต่ละอันจะถูก
ล้อมรอบด้วย Thin filament 6 อัน
 Thick filament ประกอบด้วยโปรตีนที่
มีชื่อเรียกว่า myosin
 ส่วน Thin filament ประกอบด้วย
โปรตีน 3 ชนิด คือ Actin, Tropomysin
Thick myofilament
(has ATP
& actin
binding
site)
*Play IP sliding filament theory p.5-14 for overview of thin &
thick filaments
 ขณะหดตัวพบว่าปลายของ actin
filament ในแต่ละ Sarcomere จะเลื่อน
เข้ามาใกล้กันเรื่อย ๆ ตามความแรงของ
การหดตัวที่เพิ่มขึ้น
 ถ้ากล้ามเนื้อหดตัวแรงเต็มที่ actin
filaments จะเข้ามาซ้อนกัน
(Overlapse)
 เซลล์กล้ามเนื้อ (muscle cell หรือ
Endomysium หลาย ๆ อันรวมกัน
เป็นกลุ่ม ถูกหุ้มด้วยเยื่อบาง ๆ ที่
เรียกว่า Perimysium
 ใยกล้ามเนื้อแต่ละกลุ่มจะรวมกัน
เป็นมัด เรียกว่า bundle
 แต่ละมัดจะถูกหุ้มด้วย Epimysium
ที่ปลายทั้งสองข้างของกล้ามเนื้อ
Gross Anatomy Skeletal Muscle
Myofibril
Actin and Myosin Filaments
myosinactin
Myosin (Thick) FilamentMyosin (Thick) Filament
Actin (Thin) FilamentActin (Thin) Filament
Sliding Filament HypothesisSliding Filament Hypothesis
Actin (Thin) FilamentActin (Thin) Filament
No Calcium Ion
tropomyosin
Actin (Thin) FilamentActin (Thin) Filament
Calcium Ion Present
tropomyosin
myosin binding sites
axon
plasma
membrane
myofibrils
sarcomere
T tubules
sarcoplasmic
reticulum

More Related Content

What's hot

การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2Wichai Likitponrak
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
การศึกษาโครงสร้างดอก ลีลาวดี ชงโค กล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห้อง6...
การศึกษาโครงสร้างดอก ลีลาวดี ชงโค กล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห้อง6...การศึกษาโครงสร้างดอก ลีลาวดี ชงโค กล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห้อง6...
การศึกษาโครงสร้างดอก ลีลาวดี ชงโค กล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห้อง6...JunlachatSunjaisue
 
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกบทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกWichai Likitponrak
 
Root structure and function
Root structure and functionRoot structure and function
Root structure and functionsukanya petin
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....Z-class Puttichon
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน Thitaree Samphao
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
2.ทำงานเซลล์ประสาท
2.ทำงานเซลล์ประสาท2.ทำงานเซลล์ประสาท
2.ทำงานเซลล์ประสาทWichai Likitponrak
 

What's hot (20)

การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
 
Bio 60 medical
Bio 60 medicalBio 60 medical
Bio 60 medical
 
การศึกษาโครงสร้างดอก ลีลาวดี ชงโค กล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห้อง6...
การศึกษาโครงสร้างดอก ลีลาวดี ชงโค กล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห้อง6...การศึกษาโครงสร้างดอก ลีลาวดี ชงโค กล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห้อง6...
การศึกษาโครงสร้างดอก ลีลาวดี ชงโค กล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห้อง6...
 
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกบทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
 
Root structure and function
Root structure and functionRoot structure and function
Root structure and function
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
Ecosys 1 62_new
Ecosys 1 62_newEcosys 1 62_new
Ecosys 1 62_new
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
1 nervesys plan
1 nervesys plan1 nervesys plan
1 nervesys plan
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
2.ทำงานเซลล์ประสาท
2.ทำงานเซลล์ประสาท2.ทำงานเซลล์ประสาท
2.ทำงานเซลล์ประสาท
 

Viewers also liked

Viewers also liked (7)

กล้ามเนื้อหัวใจ
กล้ามเนื้อหัวใจกล้ามเนื้อหัวใจ
กล้ามเนื้อหัวใจ
 
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
 
Muscle Skeletal (Thai)
Muscle Skeletal (Thai)Muscle Skeletal (Thai)
Muscle Skeletal (Thai)
 
Musscle1
Musscle1Musscle1
Musscle1
 
vbvb
vbvbvbvb
vbvb
 
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมองเทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
 
ระบบกล้ามเนื้อ
ระบบกล้ามเนื้อระบบกล้ามเนื้อ
ระบบกล้ามเนื้อ
 

Similar to Skeletal muscle

การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่Thanyamon Chat.
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemsupreechafkk
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนnokbiology
 
skeletal system
skeletal systemskeletal system
skeletal systemRungsaritS
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)Natthaya Khaothong
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkruchanon2555
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkalita123
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทbowpp
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนWan Ngamwongwan
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...kasidid20309
 

Similar to Skeletal muscle (18)

B08
B08B08
B08
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
skeletal system
skeletal systemskeletal system
skeletal system
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
Smooth muscle
Smooth muscleSmooth muscle
Smooth muscle
 
Brachial Plexus Injury
Brachial Plexus InjuryBrachial Plexus Injury
Brachial Plexus Injury
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
Disc Herniation
Disc HerniationDisc Herniation
Disc Herniation
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
 

More from Sarawut Fnp

ใบงาน บทที่ 3
ใบงาน บทที่ 3ใบงาน บทที่ 3
ใบงาน บทที่ 3Sarawut Fnp
 
แบบฝึกหัดมหิดล
แบบฝึกหัดมหิดลแบบฝึกหัดมหิดล
แบบฝึกหัดมหิดลSarawut Fnp
 
แบบฝึกหัดท้ายบทห้องก
แบบฝึกหัดท้ายบทห้องกแบบฝึกหัดท้ายบทห้องก
แบบฝึกหัดท้ายบทห้องกSarawut Fnp
 
ชนิดของกล้ามเนื้อ
ชนิดของกล้ามเนื้อชนิดของกล้ามเนื้อ
ชนิดของกล้ามเนื้อSarawut Fnp
 
การตั้งชื่อกล้ามเนื้อ
การตั้งชื่อกล้ามเนื้อการตั้งชื่อกล้ามเนื้อ
การตั้งชื่อกล้ามเนื้อSarawut Fnp
 
กล้ามเนื้อแสดงความรู้สึกของหน้า
กล้ามเนื้อแสดงความรู้สึกของหน้ากล้ามเนื้อแสดงความรู้สึกของหน้า
กล้ามเนื้อแสดงความรู้สึกของหน้าSarawut Fnp
 
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อ
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อกลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อ
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อSarawut Fnp
 
แบบฝึกหัดท้ายบทห้องข
แบบฝึกหัดท้ายบทห้องขแบบฝึกหัดท้ายบทห้องข
แบบฝึกหัดท้ายบทห้องขSarawut Fnp
 
Lab Anatomy of Muscular System
Lab Anatomy of Muscular SystemLab Anatomy of Muscular System
Lab Anatomy of Muscular SystemSarawut Fnp
 
Anatomy of Muscular System
Anatomy of Muscular SystemAnatomy of Muscular System
Anatomy of Muscular SystemSarawut Fnp
 

More from Sarawut Fnp (10)

ใบงาน บทที่ 3
ใบงาน บทที่ 3ใบงาน บทที่ 3
ใบงาน บทที่ 3
 
แบบฝึกหัดมหิดล
แบบฝึกหัดมหิดลแบบฝึกหัดมหิดล
แบบฝึกหัดมหิดล
 
แบบฝึกหัดท้ายบทห้องก
แบบฝึกหัดท้ายบทห้องกแบบฝึกหัดท้ายบทห้องก
แบบฝึกหัดท้ายบทห้องก
 
ชนิดของกล้ามเนื้อ
ชนิดของกล้ามเนื้อชนิดของกล้ามเนื้อ
ชนิดของกล้ามเนื้อ
 
การตั้งชื่อกล้ามเนื้อ
การตั้งชื่อกล้ามเนื้อการตั้งชื่อกล้ามเนื้อ
การตั้งชื่อกล้ามเนื้อ
 
กล้ามเนื้อแสดงความรู้สึกของหน้า
กล้ามเนื้อแสดงความรู้สึกของหน้ากล้ามเนื้อแสดงความรู้สึกของหน้า
กล้ามเนื้อแสดงความรู้สึกของหน้า
 
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อ
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อกลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อ
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อ
 
แบบฝึกหัดท้ายบทห้องข
แบบฝึกหัดท้ายบทห้องขแบบฝึกหัดท้ายบทห้องข
แบบฝึกหัดท้ายบทห้องข
 
Lab Anatomy of Muscular System
Lab Anatomy of Muscular SystemLab Anatomy of Muscular System
Lab Anatomy of Muscular System
 
Anatomy of Muscular System
Anatomy of Muscular SystemAnatomy of Muscular System
Anatomy of Muscular System
 

Skeletal muscle