SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน โรคติดเกม
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อนายพงศ์ตระกุล วุฒิศักดิ์สกุล เลขที่ 7 ชั้น ม.6 ห้อง 4
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1 นายพงศ์ตระกุล วุฒิศักดิ์สกุล เลขที่ 7
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคติดเกม
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Gaming disorder
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อนการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายพงศ์ตระกุล วุฒิศักดิ์สกุล
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในปัจจุบันโลกออนไลน์เป็นเหมือนอีกโลกหนึ่งสาหรับเด็กๆ มีทั้งสื่อออนไลน์ต่างๆ สิ่งที่ให้ความบันเทิง เช่น
เกม ยูทูป ซึ่งในปัจจุบัน เกมเป็นสิ่งที่ให้ความบันเทิงให้แก่เด็กมากที่สุดชนิดหนึ่ง และปัญหาที่ตามมาเป็นอันดับต้นๆ
ของการเล่นเกมในเด็กนั้นคือ อาการติดเกมหรือภาษาอังกฤษชื่อว่า game disorder อาการติดเกมจะทาให้เด็กนั้น
หมกมุ่นอยู่แต่หน้าคอมพิวเตอร์หรือหน้าจอโทรศัพท์ทั้งวันทั้งคืนเป็นส่วนใหญ่ทาให้สุขภาพร่างกายและจิตใจของเด็กที่
ติดเกมนั้นแย่ลงอย่างมาก ทั้งสุขภาพทางด้านร่างกายและจิตใจ และอีกทั้งปัญหาอื่นๆที่จะตามมา อย่างเช่น เริ่มเสีย
การเรียน เสียทรัพย์สิน ปัญหาการขโมยเงินผู้ปกครองเพื่อนามาเติมเกมซื้อไอเทมต่างๆภายในเกมที่ต้องใช้เงินจริงใน
การซื้อหรือทาการก่ออาชญากรรมเช่น ปล้น จี้ ชิงทรัพย์ของผู้อื่น ซึ่งจะก่อให้เกิดประวัติที่ไม่ดีต่อตัวเด็กเองในอนาคต
อาการติดเกมนั้น ณ ปัจจุบัน องค์การอนามัยโลก หรือ WHO (World Health Organization) ได้กาหนดให้อาการ
ติดเกมเป็นโรคชนิดจิตเวชเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อได้รู้จักกับอาการติดเกม
2.ได้รู้ถึงสาเหตุของโรคที่อยู่ในเด็ก
3.สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยให้เด็กเกิดอาการติดเกม
4.ได้ทราบวิธีการรักษาอาการติดเกม
5.ได้รู้ถึงวิธีการป้องกันอาการติดเกมที่จะเกิดขึ้นในเด็ก
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
จัดทาโครงงานนี้ขึ้นมาเพื่อวัตถุประสงค์ในการให้ความรู้วิธีการรักษาและวิธีการป้องกันของโรคอาการติดเกม
ดังนั้น ขอบเขตในการจัดทาโครงงานในครั้งนี้เพื่อจะนาเสนอต่อผู้ที่อยากได้รู้จักกับโรคติดเกมอาการติดเกมหรือผู้ที่
ประสบ ปัญหาการติดเกมและอยากได้วิธีการรักษาป้องกันอาการติดเกม
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
องค์การอนามัยโลกได้จัดให้การติดเกมเป็นโรคชนิดหนึ่ง (Gaming disorder) เป็นอาการทางจิตที่รุนแรงและต้อง
ได้รับการบาบัดรักษาเช่นเดียวกับโรคอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นการติดเกมออนไลน์ หรือ วิดีโอเกม การเล่นจนติดเกม
แตกต่างจากการเล่นเพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน หรือเล่นเป็นงานอดิเรก คือ ผลกระทบที่เกิดจากการติดเกมเป็น
ผลทางด้านลบ ผู้เล่นไม่สามารถควบคุมตนเองได้ ต้องเล่นอย่างต่อเนื่องและะยะเวลาการเล่นเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยไม่
สนใจการทากิจกรรมอื่น กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข รายงานว่าเด็กไทยเล่นเกมออนไลน์ผ่านโทรศัพท์และ
อินเทอร์เน็ตเป็นอันดับ 1 ของประเทศในแถบเอเชีย ปัญหาเด็กติดเกมอยู่ในขั้นวิกฤต และทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นทุกปี
สัญญาณบ่งชี้ว่าเป็นโรคติดเกม
1.เมื่อต้องหยุดเล่นหรือถูกขัดจังหวะ จะรู้สึกโกรธ และหงุดหงิดฉุนเฉียวอย่างรุนแรง แสดงพฤติกรรมก้าวร้าวมากขึ้นและ
ไม่สามารถควบคุมอารมณ์ตนเองได้
2.แยกตัวออกจากสังคม ตัดขาดจากโลกภายนอก เลือกที่จะใช้เวลาอยู่หน้าจอมากกว่าจะมีปฏิสัมพันธ์กับครอบครัวและ
เพื่อนฝูง
3.ละเลยการเรียน การทางาน ตลอดจนกิจวัตรประจาวันต่าง ๆ
4.คิดและหมกมุ่นอยู่แต่กับการเล่นเกม วางแผนเพื่อที่จะเอาชนะในการเล่นเกมครั้งต่อไป จะโมโหฉุนเฉียวมากถ้าเล่นเกม
แพ้
5.ไม่สามารถหยุดเล่นได้ทั้ง ๆ ที่ทราบดีว่ามีผลกระทบต่อตนเองอย่างมาก พยายามและดิ้นรนอย่างมากเพื่อให้ได้เล่นเกม
6.ไม่ยอมรับความจริงว่าตนเองมีปัญหาติดเกม
7.พฤติกรรมทางด้านลบอื่น ๆ เช่น พูดโกหก หรือขโมยเงินเพื่อเอาไปเล่นเกม ไม่ยอมไปโรงเรียน หรือเล่นจนกลายเป็น
การติดการพนันในที่สุด
อันตรายของโรคติดเกม
อาการเสพติดเกม ก็คล้ายกับการเสพติดยา คือก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพกายและจิตใจไม่ทางตรงก็ทางอ้อม
เมื่อต้องหยุดเล่นก็จะเกิดอาการคล้ายอาการที่เกิดจากการหยุดยาเสพติด ผลเสียทางร่างกาย เช่น เมื่อต้องเพ่งสายตา
ไปที่หน้าจอเป็นเวลานานๆ จะทาให้ดวงตาเกิดความอ่อนล้า ตาพร่ามัว ตาแห้ง การนั่งเล่นเกมเป็นเวลานานทาให้เกิด
อาการปวดเมื่อยตามตัว คอ ไหล่ และข้อมือ เกิดอาการขาดน้าและขาดสารอาหาร หรือบางรายอาจเป็นโรคอ้วน
เนื่องจากร่างกายเคลื่อนไหวน้อยลง ขาดการออกกาลังกาย ตลอดจนได้รับอาหารที่ไม่เหมาะสม ดื่มเครื่องดื่มบารุง
กาลังซึ่งส่วนใหญ่ประกอบด้วยน้าตาลและคาเฟอีนมากเกินไป ขาดการพักผ่อนนอนหลับ หลายคนต้องทนทุกข์ทรมาน
จากการอดหลับอดนอน เกมที่รุนแรงจะทาให้ผู้เล่นเคยชินกับพฤติกรรมที่รุนแรง เกิดอาการก้าวร้าวจากการที่ไม่
สามารถเอาชนะเกม หรือในบางกรณีผู้เล่นสามารถเอาชนะเกมได้ทุกครั้ง แต่ชีวิตจริงไม่เหมือนกับในเกม ทาให้เกิด
อาการหงุดหงิดฉุนเฉียว ส่งผลกระทบต่อหน้าที่การงานที่รับผิดชอบ ผลการเรียนเลวลง ปัญหาทางด้านสุขภาพจิต
4
เช่น เกิดความวิตกกังวล ซึมเศร้า โรคสมาธิสั้น ในกรณีที่รุนแรง อาจถึงขั้นทาร้ายตัวเองหรือผู้อื่น เกิดอาการวิตกกังวล
ชนิดหนึ่งที่กลัวการออกจากบ้าน กลัวที่ชุมชน (agoraphobia) ซึ่งเป็นอาการที่เกิดขึ้นกับผู้ที่แยกตัวเองออกจาก
สังคม
คาแนะนาและแนวทางแก้ไข
โรคติดเกมเกิดได้กับเด็กและผู้ใหญ่ ในกรณีที่เป็นเด็ก พ่อแม่หรือผู้ปกครองจะมีบทบาทสาคัญที่สุด อย่ามองเกมที่เด็ก
เล่นว่าไม่เป็นพิษเป็นภัยเหมือนเป็นของเล่นชนิดหนึ่ง ควรตระหนักเสมอว่าเด็กมีโอกาสติดเกมได้เหมือนติดสิ่งเสพติด
ก่อนที่จะอนุญาตให้เด็กเล่นเกม ควรมีการสัญญาและตกลงกันก่อนว่า จะต้องทาการบ้าน อ่านหนังสือ หรืออาบน้ากิน
ข้าวก่อนถึงจะเล่นเกมได้ จากัดเวลาเล่นเกม เช่นเล่นได้ไม่เกินวันละ 2 ชั่วโมง เลือกประเภทเกมให้เด็กเล่น ให้รางวัล
เมื่อเด็กทาตามที่ตกลงกันไว้ได้ เก็บอุปกรณ์ในการเล่นเกมรวมทั้งมือถือให้ห่างไกลจากเด็ก เบี่ยงเบนความสนใจของ
เด็กให้หันไปทากิจกรรมอื่น ๆ โดยเฉพาะกิจกรรมที่สามารถทาร่วมกับพ่อแม่ได้ เช่น การอ่านหนังสือหรือเล่านิทาน
ก่อนนอน เล่นกีฬาที่เด็กชอบ พาไปเดินเที่ยวในสวนสาธารณะ เป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับพ่อแม่
ให้มากขึ้น
ผู้ใหญ่จานวนไม่น้อยโดยเฉพาะในวัยทางานเป็นโรคติดเกม ผู้ใหญ่ที่ติดเกมอาจจะแก้ไขได้ยากกว่าเด็ก เพราะไม่มี
ผู้ปกครองคอยตักเตือน โดยเฉพาะในรายที่อยู่คนเดียว แนวทางการแก้ไข เช่น จากัดเวลาเล่นเกม แบ่งแยกเวลาการ
ทางานกับการเล่นเกมให้ชัดเจน ปรึกษาคนในครอบครัวหรือเพื่อนสนิทให้ช่วยคอยห้ามคอยเตือน ให้กาลังใจ หรือคอย
ชักชวนให้หันไปทากิจกรรมอื่น ๆ เช่นเล่นกีฬา ออกกาลังกาย เล่นดนตรี ใช้เวลาว่างไปทากิจกรรมที่เป็น
สาธารณประโยชน์ เช่น ช่วยดูแลผู้ป่วยในโรงพยาบาล อาสาจราจร ทาความสะอาดวัดวาอาราม ปลูกต้นไม้ ปลูกป่า
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เป็นต้น ในรายที่ติดเกมรุนแรงมากอาจต้องพบนักจิตวิทยาหรือจิตแพทย์
การเล่นเกมอย่างพอดี ทาให้ผู้เล่นได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลิน คลายเครียด ฝึกทักษะ สมาธิ การตัดสินใจ การ
ประสานการทางานของกล้ามเนื้อและประสาทระหว่างมือกับตา อย่างไรก็ตาม การเล่นเกมไม่ควรเล่นติดต่อกันเป็น
เวลานาน หรือหมกมุ่นมากจนเกินไปจนทาให้เกิดอาการเสพติดและเกิดผลเสียต่อสุขภาพทางกายและจิตใจ
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
ศึกษาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตและนามาวิเคราะห์ข้อมูลว่าเป็นจริงหรือไม่หรือน่าเชื่อถือได้มากน้อยแค่
ไหน โดยหลักๆในการดาเนินงานจะศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเป็นส่วนใหญ่โดยหาจากตามอินเทอร์เน็ตหรือคลิปวีดิโอที่
มีการนาเสนอที่มีแหล่งน่าเชื่อถือได้ เช่น จากกระทรวงสาธารณะสุข รวบรวมความรู้แล้วจัดทาเป็น power point
หรือแผ่นผับในการนาเสนอ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.คอมพิวเตอร์
2.อินเทอร์เน็ต
3.กระดาษที่ใช้ในการพิมพ์แผ่นผับ
งบประมาณ
100 – 500 บาท
5
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
คนที่ได้รับข้อมูลไปจะได้ประโยชน์จากสิ่งที่ได้รับไม่มากก็น้อยและคาดหวังว่าผู้คนจะได้รู้จักกับโรคติดเกมและจะได้
รู้จักการป้องกันไม่ให้เป็นโรคติดเกม
สถานที่ดาเนินการ
1.โรงเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.สุขศึกษา
2.เทคโนโลยีสารสนเทศ
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
เว็บไซต์
1.https://www.pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/459/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B
8%84%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A1/
2. https://workpointnews.com/2019/10/21/g-3/
3. https://www.who.int/features/qa/gaming-disorder/en/
4. https://www.psychiatry.org/patients-families/internet-gaming
5. https://www.dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=28321

More Related Content

What's hot

2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17ssusera79710
 
นัฐกมล60621
นัฐกมล60621นัฐกมล60621
นัฐกมล60621Geenpp21
 
2561 project thitichaya
2561 project  thitichaya2561 project  thitichaya
2561 project thitichayathitichaya2442
 
Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาmind jirapan
 
โครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทยโครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทยGuy Prp
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)2_PiR
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project THXB
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Rachan Potaya
 
Bipolar disorder in adolescents
Bipolar disorder in adolescentsBipolar disorder in adolescents
Bipolar disorder in adolescentsIssalaratJaiaree
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561NodChaa
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Panpreeya Kawturn
 
2562 final-project-14
2562 final-project-142562 final-project-14
2562 final-project-14Stamprsn
 

What's hot (20)

2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
 
นัฐกมล60621
นัฐกมล60621นัฐกมล60621
นัฐกมล60621
 
2561 project thitichaya
2561 project  thitichaya2561 project  thitichaya
2561 project thitichaya
 
Work1 dream
Work1 dreamWork1 dream
Work1 dream
 
Chel
ChelChel
Chel
 
Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมา
 
โครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทยโครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทย
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Unemployment
UnemploymentUnemployment
Unemployment
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Bipolar disorder in adolescents
Bipolar disorder in adolescentsBipolar disorder in adolescents
Bipolar disorder in adolescents
 
46 project 1
46 project 146 project 1
46 project 1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Kittapad
KittapadKittapad
Kittapad
 
2562 final-project-14
2562 final-project-142562 final-project-14
2562 final-project-14
 
Lin
LinLin
Lin
 

Similar to 2562 final-project -1

Similar to 2562 final-project -1 (20)

2562 final-project 0710
2562 final-project 07102562 final-project 0710
2562 final-project 0710
 
2562 final-project 07
2562 final-project 072562 final-project 07
2562 final-project 07
 
ภาคิน
ภาคิน ภาคิน
ภาคิน
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
11 602 finalproject
11 602 finalproject11 602 finalproject
11 602 finalproject
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
my computer project
my computer projectmy computer project
my computer project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project 17
2562 final-project  172562 final-project  17
2562 final-project 17
 
2562 final-project -teerapatr
2562 final-project -teerapatr2562 final-project -teerapatr
2562 final-project -teerapatr
 
Singular
SingularSingular
Singular
 
607_07
607_07607_07
607_07
 
Pijuck
PijuckPijuck
Pijuck
 
Piyawatn 09 603
Piyawatn 09 603Piyawatn 09 603
Piyawatn 09 603
 
work 1 project com
work 1 project comwork 1 project com
work 1 project com
 
AT1AT1
AT1AT1AT1AT1
AT1AT1
 
At1
At1At1
At1
 
T1 67 62
T1 67 62T1 67 62
T1 67 62
 
2562 final-project 02
2562 final-project 022562 final-project 02
2562 final-project 02
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 

2562 final-project -1

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน โรคติดเกม ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อนายพงศ์ตระกุล วุฒิศักดิ์สกุล เลขที่ 7 ชั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 นายพงศ์ตระกุล วุฒิศักดิ์สกุล เลขที่ 7 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคติดเกม ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Gaming disorder ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อนการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นายพงศ์ตระกุล วุฒิศักดิ์สกุล ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในปัจจุบันโลกออนไลน์เป็นเหมือนอีกโลกหนึ่งสาหรับเด็กๆ มีทั้งสื่อออนไลน์ต่างๆ สิ่งที่ให้ความบันเทิง เช่น เกม ยูทูป ซึ่งในปัจจุบัน เกมเป็นสิ่งที่ให้ความบันเทิงให้แก่เด็กมากที่สุดชนิดหนึ่ง และปัญหาที่ตามมาเป็นอันดับต้นๆ ของการเล่นเกมในเด็กนั้นคือ อาการติดเกมหรือภาษาอังกฤษชื่อว่า game disorder อาการติดเกมจะทาให้เด็กนั้น หมกมุ่นอยู่แต่หน้าคอมพิวเตอร์หรือหน้าจอโทรศัพท์ทั้งวันทั้งคืนเป็นส่วนใหญ่ทาให้สุขภาพร่างกายและจิตใจของเด็กที่ ติดเกมนั้นแย่ลงอย่างมาก ทั้งสุขภาพทางด้านร่างกายและจิตใจ และอีกทั้งปัญหาอื่นๆที่จะตามมา อย่างเช่น เริ่มเสีย การเรียน เสียทรัพย์สิน ปัญหาการขโมยเงินผู้ปกครองเพื่อนามาเติมเกมซื้อไอเทมต่างๆภายในเกมที่ต้องใช้เงินจริงใน การซื้อหรือทาการก่ออาชญากรรมเช่น ปล้น จี้ ชิงทรัพย์ของผู้อื่น ซึ่งจะก่อให้เกิดประวัติที่ไม่ดีต่อตัวเด็กเองในอนาคต อาการติดเกมนั้น ณ ปัจจุบัน องค์การอนามัยโลก หรือ WHO (World Health Organization) ได้กาหนดให้อาการ ติดเกมเป็นโรคชนิดจิตเวชเป็นที่เรียบร้อยแล้ว วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อได้รู้จักกับอาการติดเกม 2.ได้รู้ถึงสาเหตุของโรคที่อยู่ในเด็ก 3.สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยให้เด็กเกิดอาการติดเกม 4.ได้ทราบวิธีการรักษาอาการติดเกม 5.ได้รู้ถึงวิธีการป้องกันอาการติดเกมที่จะเกิดขึ้นในเด็ก
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) จัดทาโครงงานนี้ขึ้นมาเพื่อวัตถุประสงค์ในการให้ความรู้วิธีการรักษาและวิธีการป้องกันของโรคอาการติดเกม ดังนั้น ขอบเขตในการจัดทาโครงงานในครั้งนี้เพื่อจะนาเสนอต่อผู้ที่อยากได้รู้จักกับโรคติดเกมอาการติดเกมหรือผู้ที่ ประสบ ปัญหาการติดเกมและอยากได้วิธีการรักษาป้องกันอาการติดเกม หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) องค์การอนามัยโลกได้จัดให้การติดเกมเป็นโรคชนิดหนึ่ง (Gaming disorder) เป็นอาการทางจิตที่รุนแรงและต้อง ได้รับการบาบัดรักษาเช่นเดียวกับโรคอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นการติดเกมออนไลน์ หรือ วิดีโอเกม การเล่นจนติดเกม แตกต่างจากการเล่นเพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน หรือเล่นเป็นงานอดิเรก คือ ผลกระทบที่เกิดจากการติดเกมเป็น ผลทางด้านลบ ผู้เล่นไม่สามารถควบคุมตนเองได้ ต้องเล่นอย่างต่อเนื่องและะยะเวลาการเล่นเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยไม่ สนใจการทากิจกรรมอื่น กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข รายงานว่าเด็กไทยเล่นเกมออนไลน์ผ่านโทรศัพท์และ อินเทอร์เน็ตเป็นอันดับ 1 ของประเทศในแถบเอเชีย ปัญหาเด็กติดเกมอยู่ในขั้นวิกฤต และทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นทุกปี สัญญาณบ่งชี้ว่าเป็นโรคติดเกม 1.เมื่อต้องหยุดเล่นหรือถูกขัดจังหวะ จะรู้สึกโกรธ และหงุดหงิดฉุนเฉียวอย่างรุนแรง แสดงพฤติกรรมก้าวร้าวมากขึ้นและ ไม่สามารถควบคุมอารมณ์ตนเองได้ 2.แยกตัวออกจากสังคม ตัดขาดจากโลกภายนอก เลือกที่จะใช้เวลาอยู่หน้าจอมากกว่าจะมีปฏิสัมพันธ์กับครอบครัวและ เพื่อนฝูง 3.ละเลยการเรียน การทางาน ตลอดจนกิจวัตรประจาวันต่าง ๆ 4.คิดและหมกมุ่นอยู่แต่กับการเล่นเกม วางแผนเพื่อที่จะเอาชนะในการเล่นเกมครั้งต่อไป จะโมโหฉุนเฉียวมากถ้าเล่นเกม แพ้ 5.ไม่สามารถหยุดเล่นได้ทั้ง ๆ ที่ทราบดีว่ามีผลกระทบต่อตนเองอย่างมาก พยายามและดิ้นรนอย่างมากเพื่อให้ได้เล่นเกม 6.ไม่ยอมรับความจริงว่าตนเองมีปัญหาติดเกม 7.พฤติกรรมทางด้านลบอื่น ๆ เช่น พูดโกหก หรือขโมยเงินเพื่อเอาไปเล่นเกม ไม่ยอมไปโรงเรียน หรือเล่นจนกลายเป็น การติดการพนันในที่สุด อันตรายของโรคติดเกม อาการเสพติดเกม ก็คล้ายกับการเสพติดยา คือก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพกายและจิตใจไม่ทางตรงก็ทางอ้อม เมื่อต้องหยุดเล่นก็จะเกิดอาการคล้ายอาการที่เกิดจากการหยุดยาเสพติด ผลเสียทางร่างกาย เช่น เมื่อต้องเพ่งสายตา ไปที่หน้าจอเป็นเวลานานๆ จะทาให้ดวงตาเกิดความอ่อนล้า ตาพร่ามัว ตาแห้ง การนั่งเล่นเกมเป็นเวลานานทาให้เกิด อาการปวดเมื่อยตามตัว คอ ไหล่ และข้อมือ เกิดอาการขาดน้าและขาดสารอาหาร หรือบางรายอาจเป็นโรคอ้วน เนื่องจากร่างกายเคลื่อนไหวน้อยลง ขาดการออกกาลังกาย ตลอดจนได้รับอาหารที่ไม่เหมาะสม ดื่มเครื่องดื่มบารุง กาลังซึ่งส่วนใหญ่ประกอบด้วยน้าตาลและคาเฟอีนมากเกินไป ขาดการพักผ่อนนอนหลับ หลายคนต้องทนทุกข์ทรมาน จากการอดหลับอดนอน เกมที่รุนแรงจะทาให้ผู้เล่นเคยชินกับพฤติกรรมที่รุนแรง เกิดอาการก้าวร้าวจากการที่ไม่ สามารถเอาชนะเกม หรือในบางกรณีผู้เล่นสามารถเอาชนะเกมได้ทุกครั้ง แต่ชีวิตจริงไม่เหมือนกับในเกม ทาให้เกิด อาการหงุดหงิดฉุนเฉียว ส่งผลกระทบต่อหน้าที่การงานที่รับผิดชอบ ผลการเรียนเลวลง ปัญหาทางด้านสุขภาพจิต
  • 4. 4 เช่น เกิดความวิตกกังวล ซึมเศร้า โรคสมาธิสั้น ในกรณีที่รุนแรง อาจถึงขั้นทาร้ายตัวเองหรือผู้อื่น เกิดอาการวิตกกังวล ชนิดหนึ่งที่กลัวการออกจากบ้าน กลัวที่ชุมชน (agoraphobia) ซึ่งเป็นอาการที่เกิดขึ้นกับผู้ที่แยกตัวเองออกจาก สังคม คาแนะนาและแนวทางแก้ไข โรคติดเกมเกิดได้กับเด็กและผู้ใหญ่ ในกรณีที่เป็นเด็ก พ่อแม่หรือผู้ปกครองจะมีบทบาทสาคัญที่สุด อย่ามองเกมที่เด็ก เล่นว่าไม่เป็นพิษเป็นภัยเหมือนเป็นของเล่นชนิดหนึ่ง ควรตระหนักเสมอว่าเด็กมีโอกาสติดเกมได้เหมือนติดสิ่งเสพติด ก่อนที่จะอนุญาตให้เด็กเล่นเกม ควรมีการสัญญาและตกลงกันก่อนว่า จะต้องทาการบ้าน อ่านหนังสือ หรืออาบน้ากิน ข้าวก่อนถึงจะเล่นเกมได้ จากัดเวลาเล่นเกม เช่นเล่นได้ไม่เกินวันละ 2 ชั่วโมง เลือกประเภทเกมให้เด็กเล่น ให้รางวัล เมื่อเด็กทาตามที่ตกลงกันไว้ได้ เก็บอุปกรณ์ในการเล่นเกมรวมทั้งมือถือให้ห่างไกลจากเด็ก เบี่ยงเบนความสนใจของ เด็กให้หันไปทากิจกรรมอื่น ๆ โดยเฉพาะกิจกรรมที่สามารถทาร่วมกับพ่อแม่ได้ เช่น การอ่านหนังสือหรือเล่านิทาน ก่อนนอน เล่นกีฬาที่เด็กชอบ พาไปเดินเที่ยวในสวนสาธารณะ เป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับพ่อแม่ ให้มากขึ้น ผู้ใหญ่จานวนไม่น้อยโดยเฉพาะในวัยทางานเป็นโรคติดเกม ผู้ใหญ่ที่ติดเกมอาจจะแก้ไขได้ยากกว่าเด็ก เพราะไม่มี ผู้ปกครองคอยตักเตือน โดยเฉพาะในรายที่อยู่คนเดียว แนวทางการแก้ไข เช่น จากัดเวลาเล่นเกม แบ่งแยกเวลาการ ทางานกับการเล่นเกมให้ชัดเจน ปรึกษาคนในครอบครัวหรือเพื่อนสนิทให้ช่วยคอยห้ามคอยเตือน ให้กาลังใจ หรือคอย ชักชวนให้หันไปทากิจกรรมอื่น ๆ เช่นเล่นกีฬา ออกกาลังกาย เล่นดนตรี ใช้เวลาว่างไปทากิจกรรมที่เป็น สาธารณประโยชน์ เช่น ช่วยดูแลผู้ป่วยในโรงพยาบาล อาสาจราจร ทาความสะอาดวัดวาอาราม ปลูกต้นไม้ ปลูกป่า อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เป็นต้น ในรายที่ติดเกมรุนแรงมากอาจต้องพบนักจิตวิทยาหรือจิตแพทย์ การเล่นเกมอย่างพอดี ทาให้ผู้เล่นได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลิน คลายเครียด ฝึกทักษะ สมาธิ การตัดสินใจ การ ประสานการทางานของกล้ามเนื้อและประสาทระหว่างมือกับตา อย่างไรก็ตาม การเล่นเกมไม่ควรเล่นติดต่อกันเป็น เวลานาน หรือหมกมุ่นมากจนเกินไปจนทาให้เกิดอาการเสพติดและเกิดผลเสียต่อสุขภาพทางกายและจิตใจ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ศึกษาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตและนามาวิเคราะห์ข้อมูลว่าเป็นจริงหรือไม่หรือน่าเชื่อถือได้มากน้อยแค่ ไหน โดยหลักๆในการดาเนินงานจะศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเป็นส่วนใหญ่โดยหาจากตามอินเทอร์เน็ตหรือคลิปวีดิโอที่ มีการนาเสนอที่มีแหล่งน่าเชื่อถือได้ เช่น จากกระทรวงสาธารณะสุข รวบรวมความรู้แล้วจัดทาเป็น power point หรือแผ่นผับในการนาเสนอ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.คอมพิวเตอร์ 2.อินเทอร์เน็ต 3.กระดาษที่ใช้ในการพิมพ์แผ่นผับ งบประมาณ 100 – 500 บาท
  • 5. 5 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) คนที่ได้รับข้อมูลไปจะได้ประโยชน์จากสิ่งที่ได้รับไม่มากก็น้อยและคาดหวังว่าผู้คนจะได้รู้จักกับโรคติดเกมและจะได้ รู้จักการป้องกันไม่ให้เป็นโรคติดเกม สถานที่ดาเนินการ 1.โรงเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.สุขศึกษา 2.เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) เว็บไซต์ 1.https://www.pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/459/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B 8%84%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A1/ 2. https://workpointnews.com/2019/10/21/g-3/ 3. https://www.who.int/features/qa/gaming-disorder/en/ 4. https://www.psychiatry.org/patients-families/internet-gaming 5. https://www.dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=28321