SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง 33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ไบโพล่าร์ ใน วัยรุ่นวัยเรียน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาว อิสลารัตน์ ใจอารีย์ เลขที่ 30
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวอิสลารัตน์ ใจอารีย์ เลขที่ 30
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การศึกษาโรคไบโพล่าร์ในวัยรุ่นวัยเรียน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Bipolar disorder in adolescents
ประเภทโครงงาน โครงงานศึกษาและสารวจ
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวอิสลารัตน์ ใจอารีย์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
โรคไบโพลาร์ (Bipolar) เป็นโรคทางอารมณ์ ทาให้ผู้ป่วยเป็นคนอารมณ์สองขั้ว เดี๋ยวดี เดี๋ยวร้าย ลองไป
ทาความรู้จักกับ โรคไบโพลาร์ อารมณ์แปรปรวนกันให้ชัดๆ สาหรับโรคไบโพลาร์ (Bipolar) นี้ เป็นโรคที่จัดอยู่ใน
กลุ่มโรคทางด้านเรื่องอารมณ์ กลุ่มเดียวกับโรคซึมเศร้า แต่โรคซึมเศร้านั้นคือ โรคอารมณ์ที่ชัดเจน ที่มีอารมณ์เบื่อ
เศร้า แต่โรคไบโพลาร์ จะมีลักษณะที่มีอารมณ์ช่วงหนึ่งจะมีลักษณะครื้นเครง รื่นเริง สนุกสนานสลับกับอารมณ์
ซึมเศร้าอีกช่วงหนึ่ง
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาและเรียนรู้ทาความเข้าใจโรคไบโพลาร์
2. เพื่อเป็นการแพร่กระจายข้อมูลให้กับผู้คนทั่วไปได้รับ
ขอบเขตโครงงาน
ศึกษาจากข้อมูลจากหนังสือ สื่อต่างๆ และ จากการสารวจในวัยรุ่น
หลักการและทฤษฎี
โรคไบโพล่าร์(Bipolar) เป็นโรคที่จัดอยู่ในกลุ่มโรคทางด้ารอารมณ์ กลุ่มเดียวกับโรคซึมเศร้า คือ โรค
อารมณ์ที่ชัดเจนที่มีอารมณ์เบื่อเศร้า แต่ไบโพล่าร์ จะมีลักษณะอารมณ์ช่วงหนึ่งจะมีลักษณะรื่นเริง สนุกสนานสลับ
กับอารมณ์ซึมเศร้าอีกช่วงหนึ่ง
อาการ อารมณ์ดีในลักษณะที่ผิดปกติ เรียกว่า mania หมายถึงอารมณ์ดีมากเกินกว่าปกติที่ควรจะ เป็น
และมักจะไม่มีเหตุผลหรือไม่สมเหตุสมผล อาจจะมีปัญหากระทบกระเทือนต่อหน้าที่การงาน อารมณ์ดีจนกระทั่ง
ตัดสินใจในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง ช่วงที่มีอารมณ์ดีจะช่างพูดช่างคุย คุยได้ไม่หยุด และ ไม่ชอบให้ใครมาขัดจะเกิดอารมณ์
หงุดหงิด แล้วถึงขั้นใช้อารมณ์ก้าวร้าวได้
แนวทางการรักษา
8.1. การรักษาในปัจจุบันนี้ ใช้ยาไปช่วยในการปรับสารสื่อนาประสาทตรงให้กลับมาทางาน ได้อย่างปกติ เรียกชื่อ
กลุ่มยานี้ว่า กลุ่มปรับอารมณ์ให้คงที่ mood stabilizer ซึ่งจะมียาเฉพาะไม่กี่ตัว ที่จะใช้ในการรักษาที่จะช่วย
อาการนี้ได้ ช่วงระยะการรักษา ช่วงแรกจะเป็นการคุมอาการให้กลับมา เป็นปกติที่สุดภายใน 1 สัปดาห์ก่อน หรือ
อย่างช้า 1 เดือน หลังจากนั้น จะเป็นการรักษาต่อเนื่องอาจ ต้องใช้ยาคุมอาการ ระยะเวลาการรักษาขึ้นอยู่กับ
อาการคนไข้เป็นสาคัญ ในคนไข้บางราย 1 ปี อาจ มาพบหมอแค่ 2-4 ครั้งเท่านั้น ไม่ต้องอยู่โรงพยาบาลตลอด
8.2. ยาหลักที่นิยมใช้รักษาและได้ผลดี คือ lithium ควบคุมอาการ mania ได้ดีมาก แต่ผู้ ป่วยอาจต้องใช้ยาเป็น
ระยะเวลานาน เนื่องจากโรคนี้อาจเป็นๆ หายๆ ได้ ตัวยายังสามารถป้องกัน ได้ทั้งอาการ mania และอาการ
ซึมเศร้า ยาอื่นๆ ที่ได้ผลดี ได้แก่ valproate, carbamazepine, lamotrigine, gabapentin และ topiramate
8.3. สิ่งสาคัญที่สุด คนรอบข้างต้องเข้าใจในผู้ป่วยที่เป็นภาวะเช่นนี้ด้วย ตัวผู้ป่วยเองก็ต้อง ดาเนินชีวิตในทางสาย
กลาง ควบคุมเวลานอนหลับให้เพียงพอ อย่างน้อยก็วันละ 6-8 ชั่วโมง พยายามหาวิธีแก้ปัญหาและลดความเครียด
และอย่าใช้ยากระตุ้นหรือสารมึนเมา เช่น เหล้า หรือ เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนสูง
8.4. ถ้ามีผู้ป่วยในครอบครัว คนรอบตัวต้องเข้าใจและช่วยกันป้องกันผู้ป่วยในช่วงก่อน โรค กาเริบรุนแรงเพราะว่า
มีโอกาส กลับไปเป็นซ้าอีก ช่วงอายุที่มีโอกาสเป็นโรคอารมณ์แปรปรวน มาก ที่สุด คือ 15-25 ปี กลุ่มนี้จะเริ่มต้น
ด้วยอาการขยันผิดปกติ หรือที่เรียกว่า “ไฮเปอร์แอคทีฟ”ต่อมา บางช่วงของการเจ็บป่วยก็จะเปลี่ยนเป็นซึมเศร้า
เป็นมากๆอาจถึงขั้นฆ่าตัวตาย
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโรคที่ต้องการศึกษา
2. ทาแบบสารวจในการศึกษาจากกลุ่มวัยรุ่น
3. เริ่มทาการสารวจ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์
2. INTERNET
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน อิสลารัตน์
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
อิสลารัตน์
3 จัดทาโครงร่างงาน อิสลารัตน์
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
อิสลารัตน์
5 ปรับปรุงทดสอบ อิสลารัตน์
6 การทา
เอกสารรายงาน
อิสลารัตน์
7 ประเมินผลงาน อิสลารัตน์
8 นาเสนอโครงงาน อิสลารัตน์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคไบโพล่าร์ในวัยรุ่น
2.ได้รับความรู้เกี่ยวกับสาเหตุ ผลกระทบและวิธีการแก้ไขอาการที่เกิดขึ้นในโรคไบโพล่าร์
3.ได้นาความรู้ที่ศึกษาไปเผยแพร่ในวัยรุ่นในโรงเรียนรู้เท่าทันโรคได้
สถานที่ดาเนินการ
นักเรียน ในโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
แหล่งอ้างอิง
มาโนช หล่อตระกูล. จิตเวชศาสตร์รามาธิบดี, โรคอารมณ์แปรปรวน, พิมพ์ครั้งที่ 6สวิชาการพิมพ์, กรุงเทพฯ: หน้า
153-157, พ.ศ. 2544. 14. มานิต ศรีสุรภานนท์. ตาราจิตเวชศาสตร์, โรคอารมณ์แปรปรวน, พิมพ์ครั้งที่ 2
เชียงใหม่โรงพิมพ์แสงศิลป์ , เชียงใหม่: หน้า 165, พ.ศ. 2544
ปราโมทย์ สุคนิชย์, และ มาโนช หล่อตระกูล. (2541).เกณฑ์การวินิจฉัยโรคทาง จิตเวช (DSM-IV) ฉบับภาษาไทย
(ใช้รหัสICD-10) (พิมพ์ครั้งที่2).กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ์.
มาโนช หล่อตระกูล. (2546).คู่มือการใช้ยาทางจิตเวช. (พิมพ์ครั้งที่1). กรุงเทพฯ: หมอชาวบ้าน.

More Related Content

What's hot

2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17ssusera79710
 
2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupa2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupaSaiparnChitsanupa
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานkkkkkkamonnat
 
Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาmind jirapan
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22ssuser8b25961
 
Influenza
InfluenzaInfluenza
InfluenzaNutvipa
 
Aratchaporn chaimongkol
Aratchaporn chaimongkolAratchaporn chaimongkol
Aratchaporn chaimongkolTangJetsada
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1rungthiwa_
 
2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo
2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo
2562 final-project-605 from Tun SungkabunchooKTPH2348
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์isaka123
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1achirayaRchi
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project 34-6102562 final-project 34-610
2562 final-project 34-610ssuser015151
 

What's hot (20)

พีม
พีมพีม
พีม
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
 
2560 project 20
2560 project 202560 project 20
2560 project 20
 
21
2121
21
 
2562 final-project-18
2562 final-project-182562 final-project-18
2562 final-project-18
 
2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupa2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupa
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมา
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
Influenza
InfluenzaInfluenza
Influenza
 
Aratchaporn chaimongkol
Aratchaporn chaimongkolAratchaporn chaimongkol
Aratchaporn chaimongkol
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 
11111
1111111111
11111
 
2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo
2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo
2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1
 
Project com 47
Project com 47Project com 47
Project com 47
 
Suwadee22
Suwadee22Suwadee22
Suwadee22
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project 34-6102562 final-project 34-610
2562 final-project 34-610
 
Lin
LinLin
Lin
 

Similar to Bipolar disorder in adolescents

2562 final-project 612-33
2562 final-project 612-332562 final-project 612-33
2562 final-project 612-33fauunutcha
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project pawanza
 
2562 final-project-615-33
2562 final-project-615-332562 final-project-615-33
2562 final-project-615-33ssusere69edb
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1NichareeRD
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1NichareeRD
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1NichareeRD
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1NichareeRD
 
work 1 project com
work 1 project comwork 1 project com
work 1 project comNookNick8
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project ssuser0065a6
 
2562 final-project 612-37
2562 final-project 612-372562 final-project 612-37
2562 final-project 612-37ssuser980799
 
2562 final-project (1)thanatchaya kampasert
2562 final-project  (1)thanatchaya kampasert2562 final-project  (1)thanatchaya kampasert
2562 final-project (1)thanatchaya kampasertThanatchaya21
 
2562 final-project no.30-610
2562 final-project no.30-6102562 final-project no.30-610
2562 final-project no.30-610Preaw Ppy
 
Claustrophobia
ClaustrophobiaClaustrophobia
ClaustrophobiaPreaw Ppy
 

Similar to Bipolar disorder in adolescents (20)

2562 final-project 612-33
2562 final-project 612-332562 final-project 612-33
2562 final-project 612-33
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Sitanon chaisaen 607 31
Sitanon chaisaen 607 31Sitanon chaisaen 607 31
Sitanon chaisaen 607 31
 
2562 final-project-615-33
2562 final-project-615-332562 final-project-615-33
2562 final-project-615-33
 
Sitanon com
Sitanon comSitanon com
Sitanon com
 
2562 final-project -1-1
2562 final-project -1-12562 final-project -1-1
2562 final-project -1-1
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
work 1 project com
work 1 project comwork 1 project com
work 1 project com
 
Final project-4
Final project-4Final project-4
Final project-4
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 612-37
2562 final-project 612-372562 final-project 612-37
2562 final-project 612-37
 
Project45 6.07
Project45 6.07Project45 6.07
Project45 6.07
 
2562 final-project (1)thanatchaya kampasert
2562 final-project  (1)thanatchaya kampasert2562 final-project  (1)thanatchaya kampasert
2562 final-project (1)thanatchaya kampasert
 
2562 final-project no.30-610
2562 final-project no.30-6102562 final-project no.30-610
2562 final-project no.30-610
 
Claustrophobia
ClaustrophobiaClaustrophobia
Claustrophobia
 
2562 final-project 02
2562 final-project 022562 final-project 02
2562 final-project 02
 

Bipolar disorder in adolescents

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง 33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ไบโพล่าร์ ใน วัยรุ่นวัยเรียน ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาว อิสลารัตน์ ใจอารีย์ เลขที่ 30 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาวอิสลารัตน์ ใจอารีย์ เลขที่ 30 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การศึกษาโรคไบโพล่าร์ในวัยรุ่นวัยเรียน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Bipolar disorder in adolescents ประเภทโครงงาน โครงงานศึกษาและสารวจ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวอิสลารัตน์ ใจอารีย์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน โรคไบโพลาร์ (Bipolar) เป็นโรคทางอารมณ์ ทาให้ผู้ป่วยเป็นคนอารมณ์สองขั้ว เดี๋ยวดี เดี๋ยวร้าย ลองไป ทาความรู้จักกับ โรคไบโพลาร์ อารมณ์แปรปรวนกันให้ชัดๆ สาหรับโรคไบโพลาร์ (Bipolar) นี้ เป็นโรคที่จัดอยู่ใน กลุ่มโรคทางด้านเรื่องอารมณ์ กลุ่มเดียวกับโรคซึมเศร้า แต่โรคซึมเศร้านั้นคือ โรคอารมณ์ที่ชัดเจน ที่มีอารมณ์เบื่อ เศร้า แต่โรคไบโพลาร์ จะมีลักษณะที่มีอารมณ์ช่วงหนึ่งจะมีลักษณะครื้นเครง รื่นเริง สนุกสนานสลับกับอารมณ์ ซึมเศร้าอีกช่วงหนึ่ง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาและเรียนรู้ทาความเข้าใจโรคไบโพลาร์ 2. เพื่อเป็นการแพร่กระจายข้อมูลให้กับผู้คนทั่วไปได้รับ
  • 3. ขอบเขตโครงงาน ศึกษาจากข้อมูลจากหนังสือ สื่อต่างๆ และ จากการสารวจในวัยรุ่น หลักการและทฤษฎี โรคไบโพล่าร์(Bipolar) เป็นโรคที่จัดอยู่ในกลุ่มโรคทางด้ารอารมณ์ กลุ่มเดียวกับโรคซึมเศร้า คือ โรค อารมณ์ที่ชัดเจนที่มีอารมณ์เบื่อเศร้า แต่ไบโพล่าร์ จะมีลักษณะอารมณ์ช่วงหนึ่งจะมีลักษณะรื่นเริง สนุกสนานสลับ กับอารมณ์ซึมเศร้าอีกช่วงหนึ่ง อาการ อารมณ์ดีในลักษณะที่ผิดปกติ เรียกว่า mania หมายถึงอารมณ์ดีมากเกินกว่าปกติที่ควรจะ เป็น และมักจะไม่มีเหตุผลหรือไม่สมเหตุสมผล อาจจะมีปัญหากระทบกระเทือนต่อหน้าที่การงาน อารมณ์ดีจนกระทั่ง ตัดสินใจในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง ช่วงที่มีอารมณ์ดีจะช่างพูดช่างคุย คุยได้ไม่หยุด และ ไม่ชอบให้ใครมาขัดจะเกิดอารมณ์ หงุดหงิด แล้วถึงขั้นใช้อารมณ์ก้าวร้าวได้ แนวทางการรักษา 8.1. การรักษาในปัจจุบันนี้ ใช้ยาไปช่วยในการปรับสารสื่อนาประสาทตรงให้กลับมาทางาน ได้อย่างปกติ เรียกชื่อ กลุ่มยานี้ว่า กลุ่มปรับอารมณ์ให้คงที่ mood stabilizer ซึ่งจะมียาเฉพาะไม่กี่ตัว ที่จะใช้ในการรักษาที่จะช่วย อาการนี้ได้ ช่วงระยะการรักษา ช่วงแรกจะเป็นการคุมอาการให้กลับมา เป็นปกติที่สุดภายใน 1 สัปดาห์ก่อน หรือ อย่างช้า 1 เดือน หลังจากนั้น จะเป็นการรักษาต่อเนื่องอาจ ต้องใช้ยาคุมอาการ ระยะเวลาการรักษาขึ้นอยู่กับ อาการคนไข้เป็นสาคัญ ในคนไข้บางราย 1 ปี อาจ มาพบหมอแค่ 2-4 ครั้งเท่านั้น ไม่ต้องอยู่โรงพยาบาลตลอด 8.2. ยาหลักที่นิยมใช้รักษาและได้ผลดี คือ lithium ควบคุมอาการ mania ได้ดีมาก แต่ผู้ ป่วยอาจต้องใช้ยาเป็น ระยะเวลานาน เนื่องจากโรคนี้อาจเป็นๆ หายๆ ได้ ตัวยายังสามารถป้องกัน ได้ทั้งอาการ mania และอาการ ซึมเศร้า ยาอื่นๆ ที่ได้ผลดี ได้แก่ valproate, carbamazepine, lamotrigine, gabapentin และ topiramate 8.3. สิ่งสาคัญที่สุด คนรอบข้างต้องเข้าใจในผู้ป่วยที่เป็นภาวะเช่นนี้ด้วย ตัวผู้ป่วยเองก็ต้อง ดาเนินชีวิตในทางสาย กลาง ควบคุมเวลานอนหลับให้เพียงพอ อย่างน้อยก็วันละ 6-8 ชั่วโมง พยายามหาวิธีแก้ปัญหาและลดความเครียด และอย่าใช้ยากระตุ้นหรือสารมึนเมา เช่น เหล้า หรือ เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนสูง 8.4. ถ้ามีผู้ป่วยในครอบครัว คนรอบตัวต้องเข้าใจและช่วยกันป้องกันผู้ป่วยในช่วงก่อน โรค กาเริบรุนแรงเพราะว่า มีโอกาส กลับไปเป็นซ้าอีก ช่วงอายุที่มีโอกาสเป็นโรคอารมณ์แปรปรวน มาก ที่สุด คือ 15-25 ปี กลุ่มนี้จะเริ่มต้น ด้วยอาการขยันผิดปกติ หรือที่เรียกว่า “ไฮเปอร์แอคทีฟ”ต่อมา บางช่วงของการเจ็บป่วยก็จะเปลี่ยนเป็นซึมเศร้า เป็นมากๆอาจถึงขั้นฆ่าตัวตาย
  • 4. วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโรคที่ต้องการศึกษา 2. ทาแบบสารวจในการศึกษาจากกลุ่มวัยรุ่น 3. เริ่มทาการสารวจ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. INTERNET งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน อิสลารัตน์ 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล อิสลารัตน์ 3 จัดทาโครงร่างงาน อิสลารัตน์ 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน อิสลารัตน์ 5 ปรับปรุงทดสอบ อิสลารัตน์ 6 การทา เอกสารรายงาน อิสลารัตน์ 7 ประเมินผลงาน อิสลารัตน์ 8 นาเสนอโครงงาน อิสลารัตน์
  • 5. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคไบโพล่าร์ในวัยรุ่น 2.ได้รับความรู้เกี่ยวกับสาเหตุ ผลกระทบและวิธีการแก้ไขอาการที่เกิดขึ้นในโรคไบโพล่าร์ 3.ได้นาความรู้ที่ศึกษาไปเผยแพร่ในวัยรุ่นในโรงเรียนรู้เท่าทันโรคได้ สถานที่ดาเนินการ นักเรียน ในโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย แหล่งอ้างอิง มาโนช หล่อตระกูล. จิตเวชศาสตร์รามาธิบดี, โรคอารมณ์แปรปรวน, พิมพ์ครั้งที่ 6สวิชาการพิมพ์, กรุงเทพฯ: หน้า 153-157, พ.ศ. 2544. 14. มานิต ศรีสุรภานนท์. ตาราจิตเวชศาสตร์, โรคอารมณ์แปรปรวน, พิมพ์ครั้งที่ 2 เชียงใหม่โรงพิมพ์แสงศิลป์ , เชียงใหม่: หน้า 165, พ.ศ. 2544 ปราโมทย์ สุคนิชย์, และ มาโนช หล่อตระกูล. (2541).เกณฑ์การวินิจฉัยโรคทาง จิตเวช (DSM-IV) ฉบับภาษาไทย (ใช้รหัสICD-10) (พิมพ์ครั้งที่2).กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ์. มาโนช หล่อตระกูล. (2546).คู่มือการใช้ยาทางจิตเวช. (พิมพ์ครั้งที่1). กรุงเทพฯ: หมอชาวบ้าน.