SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
รำวงมำตรฐำน
ครูดวงฤทัย ช่วงชัย
ประวัติควำมเป็นมำของรำวงมำตรฐำน
"รำวงมำตรฐำน" เป็นกำรแสดงที่มีวิวัฒนำกำรมำจำก "รำโทน" (กรม
ศิลปำกร, ๒๕๕๐ : ๑๓๖-๑๔๓) เป็นกำรรำและกำรร้องของชำวบ้ำนซึ่งมีผู้รำทั้ง
ชำยและหญิง รำกันเป็นคู่ๆรอบๆครกตำข้ำวที่วำงคว่ำไว้ หรือไม่ก็รำกันเป็น
วงกลม โดยมีโทนเป็นเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ ลักษณะกำรรำและร้องเป็นไป
ตำมควำมถนัด ไม่มีแบบแผนกำหนดไว้ คงเป็นกำรรำและร้องง่ำย ๆ มุ่งเน้นที่
ควำมสนุกสนำนรื่นเริงเป็นสำคัญ เช่น เพลงช่อมำลี เพลงยวนยำเหล เพลงหล่อ
จริงนะดำรำ เพลงตำมองตำ เพลงใกล้เข้ำไปอีกนิด เป็นต้น ด้วยเหตุที่กำรรำ
ชนิดนี้มีโทนเป็นเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ จึงเรียกกำรแสดงชุดนี้ว่ำ รำโทน
ประวัติควำมเป็นมำของรำวงมำตรฐำน
ต่อมำ เมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๗ ในสมัย
จอมพล ป.พิบูลสงครำมเป็นนำยกรัฐมนตรี
รัฐบำลตระหนักถึงควำมสำคัญของกำรละเล่น
รื่นเริงประจำชำติและเห็นว่ำคนไทยนิยมเล่นรำ
โทนกันอย่ำงแพร่หลำย ถ้ำปรับปรุงกำรเล่นรำ
โทนให้เป็นระเบียบทั้งเพลงร้อง ลีลำท่ำรำ
และกำรแต่งกำยจะทำให้กำรเล่นรำโทนเป็นที่
น่ำนิยมมำกยิ่งขึ้น จึงได้มอบหมำยให้กรม
ศิลปำกรปรับปรุงรำโทนเสียใหม่ให้เป็น
มำตรฐำน มีกำรแต่งเนื้อร้องทำนองเพลง และ
นำท่ำรำจำกเพลงแม่บทมำกำหนดเป็นท่ำรำ
เฉพำะ แต่ละเพลงอย่ำงเป็นแบบแผน
ประวัติควำมเป็นมำของรำวงมำตรฐำน
รำวงมำตรฐำนประกอบด้วยเพลงทั้งหมด ๑๐
เพลง โดย กรมศิลปำกรแต่งเนื้อร้องจำนวน ๔ เพลง
ดังต่อไปนี้
๑. เพลงงำมแสงเดือน
๒. เพลงชำวไทย
๓. เพลงรำซิมำรำ
๔. คืนเดือนหงำย
ประวัติควำมเป็นมำของรำวงมำตรฐำน
โดย ท่ำนผู้หญิงละเอียด พิบูลย์สงครำมแต่งเนื้อ
ร้องเพิ่มอีก ๖ เพลง ดังนี้
๕. ดวงจันทร์วันเพ็ญ
๖. ดอกไม้ของชำติ
๗. หญิงไทยใจงำม
๘. ดวงจันทร์ขวัญฟ้ำ
๙. ยอดชำยใจหำญ
๑๐. บูชำนักรบ
๑. เพลงงำมแสงเดือน
คำร้อง : จมื่นมานิตย์นเรศ (นายเฉลิม เศวตนันท์)
หัวหน้ากองการสังคีต กรมศิลปากร (ประพันธ์ในนาม
กรมศิลปากร)
ทำนอง : อาจารย์มนตรี ตราโมท
ผู้ประดิษฐ์ที่รำ : หม่อมต่วน (นางศุภลักษณ์ ภัทร
นาวิก) ครูมัลลี คงประภัศร์ ครูลมุล ยมะคุปต์ และครู
ผัน โมรากุล
ท่ำรำ : ท่าสอดสร้อยมาลา
๑. เพลงงำมแสงเดือน
วีดีโอเพลงงำมแสงเดือน
๑. เพลงงำมแสงเดือน
เนื้อเพลง :
งามแสงเดือนมาเยือนส่องหล้า งามใบหน้าเมื่ออยู่วงรา (ซา)
เราเล่นกันเพื่อสนุก เปลืองทุกข์วายระกา
ขอให้เล่นฟ้อนรา เพื่อสามัคคีเอย
ควำมหมำยเพลง : ยามที่แสงจันทร์ส่องมายังโลกทาให้โลกนี ดูสวยงาม ผู้คนที่มา
เล่นราวงยามที่แสงจันทร์ส่องก็มีความงดงามด้วย การราวงนีเพื่อให้มีความ
สนุกสนาน มีความสามัคคีกัน และละทิงความทุกข์ให้หมดสินไป
๒. เพลงชำวไทย
คำร้อง : จมื่นมานิตย์นเรศ (นายเฉลิม เศวตนันท์)
หัวหน้ากองการสังคีต กรมศิลปากร (ประพันธ์ในนาม
กรมศิลปากร)
ทำนอง : อาจารย์มนตรี ตราโมท
ผู้ประดิษฐ์ท่ำรำ : หม่อมต่วน (นางศุภลักษณ์ ภัทร
นาวิก) ครูมัลลี คงประภัศร์ ครูลมุล ยมะคุปต์ และครู
ผัน โมรากุล
ท่ำรำ : ท่าชักแป้งผัดหน้า
๒. เพลงชำวไทย
วีดีโอเพลงชำวไทย
๒. เพลงชำวไทย
เนื้อเพลง :
ชาวไทยเจ้าเอ๋ย ขออย่าละเลยในการทาหน้าที่
การที่เราได้เล่นสนุก เปลืองทุกข์สบายอย่างนี
เพราะชาติเราได้เสรี มีเอกราชสมบูรณ์
เราจึงควรช่วยชูชาติ ให้เก่งกาจเจิดจารูญ
เพื่อความสุขเพิ่มพูน ของชาวไทยเราเอย
ควำมหมำยเพลง : หน้าที่ที่ชาวไทยพึงมีต่อประเทศชาตินัน เป็นสิ่งที่ทุกคนควรกระทา อย่าได้
ละเลยไปเสีย ในการที่เราได้มาเล่นราวงกันอย่างสนุกสนาน ปราศจากทุกข์โศกทังปวงนีก็
เพราะว่าประเทศไทยเรามีเอกราช ประชาชนมีเสรีในการคิดจะทาสิ่งใด ๆ ดังนันเราจึงควร
ช่วยกันเชิดชูชาติไทยให้เจริญรุ่งเรืองต่อไป เพื่อความสุขยิ่ง ๆ ขึนของไทยเราตลอดไป
๓. เพลงรำซิมำรำ
คำร้อง : จมื่นมานิตย์นเรศ (นายเฉลิม เศวตนันท์)
หัวหน้ากองการสังคีต กรมศิลปากร (ประพันธ์ในนาม
กรมศิลปากร)
ทำนอง : อาจารย์มนตรี ตราโมท
ผู้ประดิษฐ์ท่ำรำ : หม่อมต่วน (นางศุภลักษณ์ ภัทร
นาวิก) ครูมัลลี คงประภัศร์ ครูลมุล ยมะคุปต์ และครู
ผัน โมรากุล
ท่ำรำ : ท่าราส่าย
๓. เพลงรำซิมำรำ
วีดีโอเพลงรำซิมำรำ
๓. เพลงรำซิมำรำ
เนื้อเพลง :
รามาซิมารา เริงระบากันให้สนุก
ยามงานเราทางานกันจริง ๆ ไม่ละไม่ทิงจะเกิดเข็ญขุก
ถึงยามว่างเราจึงราเล่น ตามเชิงเช่นเพื่อให้สร่างทุกข์
ตามเยี่ยงอย่างตามยุค เล่นสนุกอย่างวัฒนธรรม
เล่นอะไรให้มีระเบียบ ให้งามให้เรียบจึงจะคมขา
มาซิมาเจ้าเอ๋ยมาฟ้อนรา มาเล่นระบาของไทยเราเอย
ควำมหมำยเพลง : ขอพวกเรามาเล่นราวงกันให้สนุกสนานเถิดในยามว่างเช่นนีจะได้
คลายทุกข์ ถึงเวลางานเราก็จะทางานกันจริง ๆ เพื่อจะได้ไม่ลาบาก และการราก็จะรา
อย่างมีระเบียบแบบแผน ตามวัฒนธรรมไทยของเราแล้วจะดูงดงามยิ่ง
๔. เพลงคืนเดือนหงำย
คำร้อง : จมื่นมานิตย์นเรศ (นายเฉลิม เศวตนันท์)
หัวหน้ากองการสังคีต กรมศิลปากร (ประพันธ์ในนาม
กรมศิลปากร)
ทำนอง : อาจารย์มนตรี ตราโมท
ผู้ประดิษฐ์ท่ำรำ : หม่อมต่วน (นางศุภลักษณ์ ภัทร
นาวิก) ครูมัลลี คงประภัศร์ ครูลมุล ยมะคุปต์ และครู
ผัน โมรากุล
ท่ำรำ : ท่าสอดสร้อยมาลาแปลง
๔. เพลงคืนเดือนหงำย
วีดีโอเพลงคืนเดือนหงำย
๔. เพลงคืนเดือนหงำย
เนื้อเพลง :
ยามกลางคืนเดือนหงาย เย็นพระพายโบกพริวปลิวมา
เย็นอะไรก็ไม่เย็นจิต เท่าเย็นผูกมิตรไม่เบื่อระอา
เย็นร่มธงไทยปกไปทั่วหล้า เย็นยิ่งนาฟ้ามาประพรมเอย
ควำมหมำยเพลง : เวลากลางคืน เป็นคืนเดือนหงาย มีลมพัดมาเย็นสบายใจ
แต่ก็ยังไม่สบายใจเท่ากับการที่ได้ผูกมิตรกับผู้อื่น และที่ร่มเย็นไปทั่ว ทุกแห่งยิ่ง
กว่านาฝนที่โปรยลงมา ก็คือการที่ประเทศไทยเป็นประเทศที่เป็นเอกราช มีธง
ชาติไทยเป็นเอกลักษณ์ ทาให้ร่มเย็นทั่วไป
๕. เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ
คำร้อง : ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงครามทานอง
ทำนอง : อาจารย์มนตรี ตราโมท
ผู้ประดิษฐ์ท่ำรำ : หม่อมต่วน (นางศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก) ครูมัลลี คงประภัศร์
ครูลมุล ยมะคุปต์ และครูผัน โมรากุล
ท่ำรำ : ท่าแขกเต้าเข้ารังและท่าผาลาเพียงไหล่
๕. เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ
วีดีโอเพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ
๕. เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ
เนื้อเพลง :
ดวงจันทร์วันเพ็ญ ลอยเด่นอยู่ในนภา
ทรงกลดสดสี รัศมีทอแสงงามตา
แสงจันทร์อร่าม ฉายงามส่องฟ้า
ไม่งามเท่าหน้า นวลน้องยองใย
งามเอยแสงงาม งามจริงยอดหญิงชาติไทย
งามวงพักตร์ยิ่งดวงจันทรา จริตกิริยานิ่มนวลละไม
วาจากังวาน อ่อนหวานจับใจ
รูปทรงสมส่วน ยั่วยวนหทัย
สมเป็นดอกไม้ ขวัญใจชาติเอย
๕. เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ
ความหมายเพลง : พระจันทร์เต็มดวงที่
ลอยอยู่บนท้องฟ้านั้นช่างดูสวยงาม เพราะ
เป็นพระจันทร์ทรงกลด คือมีแสงเลื่อม
กระจายออกรอบดวงจันทร์ทั้งดวง แต่ถึงจะ
งามอย่างไรก็ยังไม่เท่าความงามของดวง
หน้าหญิงสาว ที่ดูผุดผ่องมีน้้ามีนวล อีกทั้ง
รูปร่างก็ดูสมส่วน กิริยาวาจาก็อ่อนหวาน
ไพเราะ สมแล้วกับที่เปรียบว่าหญิงไทยนี้คือ
ดอกไม้
๖. เพลงดอกไม้ของชำติ
คาร้อง : ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม
ทานอง : อาจารย์มนตรี ตราโมท
ผู้ประดิษฐ์ท่ารา : หม่อมต่วน (นางศุภลักษณ์ ภัทร
นาวิก) ครูมัลลี คงประภัศร์ ครูลมุล ยมะคุปต์ และ
ครูผัน โมรากุล
ท่ารา : ท่าร้ายั่ว
๖. เพลงดอกไม้ของชำติ
วีดีโอเพลงดอกไม้ของชำติ
๖. เพลงดอกไม้ของชำติ
เนื้อเพลง :
ขวัญใจดอกไม้ของชาติ งามวิลาศนวยนาดร่ายร้า (ซ้้า)
เอวองค์อ่อนงาม ตามแบบนาฏศิลป์
ชี้ชาติไทยเนาว์ถิ่น เจริญวัฒนธรรม
งามทุกสิ่งสามารถ สร้างชาติช่วยชาย
ด้าเนินตามนโยบาย สู้ทนเหนื่อยยากตรากตร้า
ความหมายเพลง : ผู้หญิงไทยเปรียบเสมือนดอกไม้อันเป็นเอกลักษณ์ของประเทศ
ไทย การร่ายร้าด้วยการแสดงออกอย่างอ่อนช้อย งดงามตามรูปแบบความเป็นไทย
แสดงให้เห็นถึงความเจริญทางด้านวัฒนธรรมของคนไทย นอกจากผู้หญิงจะดีเด่น
ทางด้านความงามแล้วยังมีความอดทน สามารถท้างานบ้าน ช่วยเหลืองานผู้ชาย
หรือแม้งานส้าคัญ ๆ ระดับประเทศก็สามารถช่วยเหลือได้เป็นอย่างดีไม่แพ้ผู้ชาย
๗. เพลงหญิงไทยใจงำม
คาร้อง : ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม
ทานอง : ครูเอื้อ สุนทรสนาน
ผู้ประดิษฐ์ท่ารา : หม่อมต่วน (นางศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก) ครูมัลลี คงประภัศร์
ครูลมุล ยมะคุปต์ และครูผัน โมรากุล
ท่ารา : ท่าพรหมสี่หน้าและท่ายูงฟ้อนหาง
๗. เพลงหญิงไทยใจงำม
วีดีโอเพลงหญิงไทยใจงำม
๗. เพลงหญิงไทยใจงำม
เนื้อเพลง :
เดือนพราว ดาวแวววาวระยับ
แสงดาวประดับ ส่งให้เดือนงามเด่น
ดวงหน้า โสภาเพียงเดือนเพ็ญ
คุณความดีที่เห็น เสริมให้เด่นเลิศงาม
ขวัญใจ หญิงไทยส่งศรีชาติ
รูปงามพิลาศ ใจกล้ากาจเรืองนาม
เกียรติยศ ก้องปรากฏทั่วคาม
หญิงไทยใจงาม ยิ่งเดือนดาวพราวแพรว
๗. เพลงหญิงไทยใจงำม
ความหมายเพลง : ดวงจันทร์ที่ส่องแสงอยู่บนท้องฟ้ามีความงดงาม
มาก และยิ่งได้แสงอันระยิบระยับของดวงดาวด้วยแล้ว ยิ่งท้าให้ดวง
จันทร์นั้นงามเด่นยิ่งขึ้น เปรียบเหมือนกับดวงหน้าของหญิงสาวที่มี
ความงดงามอยู่แล้ว ถ้ามีคุณความดีด้วย ก็จะท้าให้หญิงนั้นงามเป็น
เลิศ ผู้หญิงไทยนี้เป็นขวัญใจของชาติ เป็นที่เชิดหน้าชูตาของชาติ
รูปร่างก็งดงาม จิตใจก็กล้าหาญ ดังที่มีชื่อเสียงปรากฏอยู่ทั่วไป
๘. เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้ำ
คาร้อง : ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงครามท้านอง
ทานอง : ครูเอื้อ สุนทรสนาน
ผู้ประดิษฐ์ท่ารา : หม่อมต่วน (นางศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก) ครูมัลลี คงประภัศร์
ครูลมุล ยมะคุปต์ และครูผัน โมรากุล
ท่ารา : ท่าช้างประสานงาและท่าจันทร์ทรงกลด
๘. เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้ำ
วีดีโอเพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้ำ
๘. เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้ำ
เนื้อเพลง :
ดวงจันทร์ขวัญฟ้า ชื่นชีวาขวัญพี่
จันทร์ประจ้าราตรี แต่ขวัญพี่ประจ้าใจ
ที่เทิดทูนคือชาติ เอกราชอธิปไตย
ถนอมแนบสนิทใน คือขวัญใจพี่เอย
ความหมายเพลง : ในเวลาค่้าคืนท้องฟ้ามีดวงจันทร์ประจ้าอยู่ ในใจของชายก็มีหญิง
อันเป็นสุดที่รักประจ้าอยู่เช่นกัน สิ่งที่เทิดทูนยกย่องไว้ก็คือ ชาติไทยที่เป็นเอกราช มี
อิสระแก่ตนไม่ขึ้นกับใคร และสิ่งที่แนบสนิทอยู่ในใจของชายก็คือหญิงอันเป็นสุดที่รัก
๙. เพลงยอดชำยใจหำญ
คาร้อง : ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงครามท้านอง
ทานอง : ครูเอื้อ สุนทรสนาน
ผู้ประดิษฐ์ท่ารา : หม่อมต่วน (นางศุภลักษณ์ ภัทร
นาวิก) ครูมัลลี คงประภัศร์ ครูลมุล ยมะคุปต์ และ
ครูผัน โมรากุล
ท่ารา : ชาย ท่าจ่อเพลิงกาล
หญิง ท่าชะนีร่ายไม้
๙. เพลงยอดชำยใจหำญ
วีดีโอเพลงยอดชำยใจหำญ
๙. เพลงยอดชำยใจหำญ
เนื้อเพลง :
โอ้ยอดชายใจหาญ ขอสมานไมตรี
น้องขอร่วมชีวี กอบกรณีกิจชาติ
แม้สุดยากล้าเค็ญ ไม่ขอเว้นเดินตาม
น้องจักสู้พยายาม ท้าเต็มความสามารถ
ความหมายเพลง : ขอผูกมิตรไมตรีกับชายผู้กล้าหาญ และจะขอมีส่วนในการท้า
ประโยชน์ท้าหน้าที่ของชาวไทย แม้จะล้าบากยากแค้น ก็จะขอช่วยเหลือจนเต็ม
ความสามารถ
๑๐. เพลงบูชำนักรบ
คาร้อง : ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม
ท้านอง
ทานอง : ครูเอื้อ สุนทรสนาน
ผู้ประดิษฐ์ท่ารา : หม่อมต่วน (นางศุภลักษณ์
ภัทรนาวิก) ครูมัลลี คงประภัศร์ ครูลมุล
ยมะคุปต์ และครูผัน โมรากุล
ท่ารา : ชาย ท่าจันทร์ทรงกลดและท่าขอแก้ว
หญิง ท่าขัดจางนางและท่าล่อแก้ว
๑๐. เพลงบูชำนักรบ
วีดีโอเพลงบูชำนักรบ
๑๐. เพลงบูชำนักรบ
เนื้อเพลง :
น้องรักรักบูชาพี่ ที่มั่นคงที่มั่นคงกล้าหาญ
เป็นนักสู้เชี่ยวชาญ สมศักดิ์ชาตินักรบ
น้องรักรักบูชาพี่ ที่มานะที่มานะอดทน
หนักแสนหนักพี่ผจญ เกียรติพี่ขจรจบ
น้องรักรักบูชาพี่ ที่ขยันที่ขยันกิจการ
บากบั่นสร้างหลักฐาน ท้าทุกด้านท้าทุกด้านครันครบ
น้องรักรักบูชาพี่ ที่รักชาติที่รักชาติยิ่งชีวิต
เลือดเนื้อพี่พลีอุทิศ ชาติยงอยู่ยงอยู่คู่พิภพ
๑๐. เพลงบูชำนักรบ
ความหมายเพลง : น้องรักและบูชาพี่ เพราะมีความกล้าหาญ เป็นนักสู้ที่
เก่งกล้าสามารถสมกับเป็นชายชาตินักรบที่มีความมานะอดทน แม้ว่าจะ
ยากเย็นแสนเข็ญ พี่ก็ต่อสู้จนชื่อเสียงเลื่องลือไปทั่ว นอกจากนี้ ยังขยัน
ขันแข็งในงานทุกอย่าง อุตส่าห์สร้างหลักฐานให้มั่นคง และพี่ยังมีความรัก
ในชาติบ้านเมืองยิ่งกว่าชีวิต ยอมสละได้แม้ชีวิตและเลือดเนื้อเพื่อให้ชาติ
ไทยคงอยู่คู่โลกต่อไป
รูปแบบและลักษณะการแสดง
ราวงมาตรฐาน เป็นการราหมู่ประกอบด้วยผู้แสดง ๘ คน ท่ารา
ประดิษฐ์ขึ้นจากท่ารามาตรฐานในเพลงแม่บท ความสวยงามของการรา อยู่ที่
กระบวนท่าราที่มีลักษณะเฉพาะในแต่ละเพลงและเครื่องแต่งกายไทยในสมัยต่าง
ๆ รวมทั้งรูปแบบการแสดงในลักษณะการแปรแถวเป็นวงกลม (ทวนเข็ม
นาฬิกา) การราแบ่งเป็นขั้นตอนต่าง ๆ ได้ ดังนี้
รูปแบบและลักษณะการแสดง
ขั้นตอนที่ ๑ : ผู้แสดงชายและหญิง เดินออกมาเป็นแถวตรง ๒ แถว หัน
หน้าเข้าหากัน ต่างฝ่ายท้าความเคารพด้วยการไหว้
รูปแบบและลักษณะการแสดง
ขั้นตอนที่ ๒ : ร้าแปรแถวเป็นวงกลมตามท้านองเพลงและร้าตามบทร้อง
รวม ๑๐ เพลง โดยเปลี่ยนท่าร้าไปตามเพลงต่าง ๆ เริ่มตั้งแต่เพลงงามแสงเดือน
เพลงชาวไทย เพลงร้าซิมาร้า เพลงคืนเดือนหงาย เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ เพลง
ดอกไม้ของชาติ เพลงหญิงไทยใจงาม เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า เพลงยอดชายใจหาญ
และเพลงบูชานักรบ
รูปแบบและลักษณะการแสดง
ขั้นตอนที่ ๓ : เมื่อร้าจบบทร้องในเพลงบูชานักรบ ผู้แสดงร้าเข้าเวที หรือ หัน
หน้าเข้าหาคู่ท้าความเคารพด้วยการไหว้ก่อนออกจากวง
การแต่งกาย
มีการกาหนดการแต่งกายของผู้แสดง ให้
มีระเบียบด้วยการใช้ชุดไทย และชุดสากลนิยม
โดยแต่งเป็นคู่ ๆ รับกันทั้งชายและหญิง ซึ่ง
สามารถแต่งได้ ๔ แบบ คือ
แบบที่ ๑ แบบชาวบ้าน
ชาย : นุ่งผ้าโจงกระเบน สวมเสื้อคอ
พวงมาลัย เอวคาดผ้าห้อยชายด้านหน้า
หญิง : นุ่งโจงกระเบน ห่มผ้าสไบอัดจีบ
ปล่อยผม ประดับดอกไม้ที่ผมด้านซ้าย คาดเข็ม
ขัด ใส่เครื่องประดับ
การแต่งกาย
แบบที่ 2 แบบไทยพระราชนิยม
ชาย : นุ่งผ้าโจงกระเบน สวมเสื้อราชปะ
แตน ใส่ถุงเท้ารองเท้า
หญิง : นุ่งผ้าโจงกระเบน สวมเสื้อลูกไม้
สไบพาดบ่าผูกเป็นโบว์ ทิ้งชายไว้ข้างล้าตัว
ด้านซ้าย ใส่เครื่องประดับมุก
การแต่งกาย
แบบที่ 3 แบบสากลนิยม
ชาย : นุ่งกางเกง สวมสูท ผูกเนคไท
หญิง : นุ่งกระโปรงป้ายข้าง ยาวกรอม
เท้า ใส่เสื้อคอกลมแขนกระบอก
การแต่งกาย
แบบที่ 4 แบบราตรีสโมสร
ชาย : นุ่งกางเกง สวมเสื้อคอ
พระราชทาน ผ้าคาดเอวห้อยชายด้านหน้า
หญิง : นุ่งโปรงยาวจีบหน้านาง ใส่เสื้อ
จับเดรป ชายผ้าห้อยจากบ่าลงไปทางด้านล่าง
เปิดไหล่ขวา ศีรษะท้าผมเกล้าเป็นมวยสูง ใส่
เกี้ยว และเครื่องประดับ

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔kalayatookta
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...Panomporn Chinchana
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)WoraWat Somwongsaa
 
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรkruthai40
 
การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนTunggy
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101นารูโต๊ะ อิอิอิ
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3Wareerut Hunter
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4Panomporn Chinchana
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยBudsayamas Srirasan
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)niralai
 
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติเรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติPanomporn Chinchana
 
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆการประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆleemeanshun minzstar
 

What's hot (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
 
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
 
นาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมืองนาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมือง
 
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
 
การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
ประเภทของนาฏศิลป์
ประเภทของนาฏศิลป์ประเภทของนาฏศิลป์
ประเภทของนาฏศิลป์
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
 
โคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติ
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
 
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติเรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน
 
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆการประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
 

Similar to รำวงมาตรฐาน

พลงลูกกรุงFinish
พลงลูกกรุงFinishพลงลูกกรุงFinish
พลงลูกกรุงFinishlimitedbuff
 
ละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.docละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.docpinglada1
 
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกThassanee Buasri
 
เพลงลูกกรุง (1)
เพลงลูกกรุง (1)เพลงลูกกรุง (1)
เพลงลูกกรุง (1)limitedbuff
 
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยรำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยsangkeetwittaya stourajini
 
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยรำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยleemeanxun
 
ศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจPata_tuo
 
ละครรำ
ละครรำละครรำ
ละครรำleemeanxun
 
ละครรำ.docx
ละครรำ.docxละครรำ.docx
ละครรำ.docxpinglada1
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3Kruanchalee
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำkruying pornprasartwittaya
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55อำนาจ ศรีทิม
 
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรสื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรComputer ITSWKJ
 
คีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdfคีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdfpinglada
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลPonpirun Homsuwan
 

Similar to รำวงมาตรฐาน (20)

Art
ArtArt
Art
 
Art
ArtArt
Art
 
พลงลูกกรุงFinish
พลงลูกกรุงFinishพลงลูกกรุงFinish
พลงลูกกรุงFinish
 
ละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.docละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.doc
 
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
 
เพลงลูกกรุง (1)
เพลงลูกกรุง (1)เพลงลูกกรุง (1)
เพลงลูกกรุง (1)
 
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยรำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
 
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยรำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
 
ศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจ
 
ละครรำ
ละครรำละครรำ
ละครรำ
 
ละครรำ.docx
ละครรำ.docxละครรำ.docx
ละครรำ.docx
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำ
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
 
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรสื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
 
วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 
คีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdfคีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdf
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากล
 
Profileติดดิน
ProfileติดดินProfileติดดิน
Profileติดดิน
 

รำวงมาตรฐาน

  • 2. ประวัติควำมเป็นมำของรำวงมำตรฐำน "รำวงมำตรฐำน" เป็นกำรแสดงที่มีวิวัฒนำกำรมำจำก "รำโทน" (กรม ศิลปำกร, ๒๕๕๐ : ๑๓๖-๑๔๓) เป็นกำรรำและกำรร้องของชำวบ้ำนซึ่งมีผู้รำทั้ง ชำยและหญิง รำกันเป็นคู่ๆรอบๆครกตำข้ำวที่วำงคว่ำไว้ หรือไม่ก็รำกันเป็น วงกลม โดยมีโทนเป็นเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ ลักษณะกำรรำและร้องเป็นไป ตำมควำมถนัด ไม่มีแบบแผนกำหนดไว้ คงเป็นกำรรำและร้องง่ำย ๆ มุ่งเน้นที่ ควำมสนุกสนำนรื่นเริงเป็นสำคัญ เช่น เพลงช่อมำลี เพลงยวนยำเหล เพลงหล่อ จริงนะดำรำ เพลงตำมองตำ เพลงใกล้เข้ำไปอีกนิด เป็นต้น ด้วยเหตุที่กำรรำ ชนิดนี้มีโทนเป็นเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ จึงเรียกกำรแสดงชุดนี้ว่ำ รำโทน
  • 3. ประวัติควำมเป็นมำของรำวงมำตรฐำน ต่อมำ เมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๗ ในสมัย จอมพล ป.พิบูลสงครำมเป็นนำยกรัฐมนตรี รัฐบำลตระหนักถึงควำมสำคัญของกำรละเล่น รื่นเริงประจำชำติและเห็นว่ำคนไทยนิยมเล่นรำ โทนกันอย่ำงแพร่หลำย ถ้ำปรับปรุงกำรเล่นรำ โทนให้เป็นระเบียบทั้งเพลงร้อง ลีลำท่ำรำ และกำรแต่งกำยจะทำให้กำรเล่นรำโทนเป็นที่ น่ำนิยมมำกยิ่งขึ้น จึงได้มอบหมำยให้กรม ศิลปำกรปรับปรุงรำโทนเสียใหม่ให้เป็น มำตรฐำน มีกำรแต่งเนื้อร้องทำนองเพลง และ นำท่ำรำจำกเพลงแม่บทมำกำหนดเป็นท่ำรำ เฉพำะ แต่ละเพลงอย่ำงเป็นแบบแผน
  • 4. ประวัติควำมเป็นมำของรำวงมำตรฐำน รำวงมำตรฐำนประกอบด้วยเพลงทั้งหมด ๑๐ เพลง โดย กรมศิลปำกรแต่งเนื้อร้องจำนวน ๔ เพลง ดังต่อไปนี้ ๑. เพลงงำมแสงเดือน ๒. เพลงชำวไทย ๓. เพลงรำซิมำรำ ๔. คืนเดือนหงำย
  • 5. ประวัติควำมเป็นมำของรำวงมำตรฐำน โดย ท่ำนผู้หญิงละเอียด พิบูลย์สงครำมแต่งเนื้อ ร้องเพิ่มอีก ๖ เพลง ดังนี้ ๕. ดวงจันทร์วันเพ็ญ ๖. ดอกไม้ของชำติ ๗. หญิงไทยใจงำม ๘. ดวงจันทร์ขวัญฟ้ำ ๙. ยอดชำยใจหำญ ๑๐. บูชำนักรบ
  • 6. ๑. เพลงงำมแสงเดือน คำร้อง : จมื่นมานิตย์นเรศ (นายเฉลิม เศวตนันท์) หัวหน้ากองการสังคีต กรมศิลปากร (ประพันธ์ในนาม กรมศิลปากร) ทำนอง : อาจารย์มนตรี ตราโมท ผู้ประดิษฐ์ที่รำ : หม่อมต่วน (นางศุภลักษณ์ ภัทร นาวิก) ครูมัลลี คงประภัศร์ ครูลมุล ยมะคุปต์ และครู ผัน โมรากุล ท่ำรำ : ท่าสอดสร้อยมาลา
  • 8. ๑. เพลงงำมแสงเดือน เนื้อเพลง : งามแสงเดือนมาเยือนส่องหล้า งามใบหน้าเมื่ออยู่วงรา (ซา) เราเล่นกันเพื่อสนุก เปลืองทุกข์วายระกา ขอให้เล่นฟ้อนรา เพื่อสามัคคีเอย ควำมหมำยเพลง : ยามที่แสงจันทร์ส่องมายังโลกทาให้โลกนี ดูสวยงาม ผู้คนที่มา เล่นราวงยามที่แสงจันทร์ส่องก็มีความงดงามด้วย การราวงนีเพื่อให้มีความ สนุกสนาน มีความสามัคคีกัน และละทิงความทุกข์ให้หมดสินไป
  • 9. ๒. เพลงชำวไทย คำร้อง : จมื่นมานิตย์นเรศ (นายเฉลิม เศวตนันท์) หัวหน้ากองการสังคีต กรมศิลปากร (ประพันธ์ในนาม กรมศิลปากร) ทำนอง : อาจารย์มนตรี ตราโมท ผู้ประดิษฐ์ท่ำรำ : หม่อมต่วน (นางศุภลักษณ์ ภัทร นาวิก) ครูมัลลี คงประภัศร์ ครูลมุล ยมะคุปต์ และครู ผัน โมรากุล ท่ำรำ : ท่าชักแป้งผัดหน้า
  • 11. ๒. เพลงชำวไทย เนื้อเพลง : ชาวไทยเจ้าเอ๋ย ขออย่าละเลยในการทาหน้าที่ การที่เราได้เล่นสนุก เปลืองทุกข์สบายอย่างนี เพราะชาติเราได้เสรี มีเอกราชสมบูรณ์ เราจึงควรช่วยชูชาติ ให้เก่งกาจเจิดจารูญ เพื่อความสุขเพิ่มพูน ของชาวไทยเราเอย ควำมหมำยเพลง : หน้าที่ที่ชาวไทยพึงมีต่อประเทศชาตินัน เป็นสิ่งที่ทุกคนควรกระทา อย่าได้ ละเลยไปเสีย ในการที่เราได้มาเล่นราวงกันอย่างสนุกสนาน ปราศจากทุกข์โศกทังปวงนีก็ เพราะว่าประเทศไทยเรามีเอกราช ประชาชนมีเสรีในการคิดจะทาสิ่งใด ๆ ดังนันเราจึงควร ช่วยกันเชิดชูชาติไทยให้เจริญรุ่งเรืองต่อไป เพื่อความสุขยิ่ง ๆ ขึนของไทยเราตลอดไป
  • 12. ๓. เพลงรำซิมำรำ คำร้อง : จมื่นมานิตย์นเรศ (นายเฉลิม เศวตนันท์) หัวหน้ากองการสังคีต กรมศิลปากร (ประพันธ์ในนาม กรมศิลปากร) ทำนอง : อาจารย์มนตรี ตราโมท ผู้ประดิษฐ์ท่ำรำ : หม่อมต่วน (นางศุภลักษณ์ ภัทร นาวิก) ครูมัลลี คงประภัศร์ ครูลมุล ยมะคุปต์ และครู ผัน โมรากุล ท่ำรำ : ท่าราส่าย
  • 14. ๓. เพลงรำซิมำรำ เนื้อเพลง : รามาซิมารา เริงระบากันให้สนุก ยามงานเราทางานกันจริง ๆ ไม่ละไม่ทิงจะเกิดเข็ญขุก ถึงยามว่างเราจึงราเล่น ตามเชิงเช่นเพื่อให้สร่างทุกข์ ตามเยี่ยงอย่างตามยุค เล่นสนุกอย่างวัฒนธรรม เล่นอะไรให้มีระเบียบ ให้งามให้เรียบจึงจะคมขา มาซิมาเจ้าเอ๋ยมาฟ้อนรา มาเล่นระบาของไทยเราเอย ควำมหมำยเพลง : ขอพวกเรามาเล่นราวงกันให้สนุกสนานเถิดในยามว่างเช่นนีจะได้ คลายทุกข์ ถึงเวลางานเราก็จะทางานกันจริง ๆ เพื่อจะได้ไม่ลาบาก และการราก็จะรา อย่างมีระเบียบแบบแผน ตามวัฒนธรรมไทยของเราแล้วจะดูงดงามยิ่ง
  • 15. ๔. เพลงคืนเดือนหงำย คำร้อง : จมื่นมานิตย์นเรศ (นายเฉลิม เศวตนันท์) หัวหน้ากองการสังคีต กรมศิลปากร (ประพันธ์ในนาม กรมศิลปากร) ทำนอง : อาจารย์มนตรี ตราโมท ผู้ประดิษฐ์ท่ำรำ : หม่อมต่วน (นางศุภลักษณ์ ภัทร นาวิก) ครูมัลลี คงประภัศร์ ครูลมุล ยมะคุปต์ และครู ผัน โมรากุล ท่ำรำ : ท่าสอดสร้อยมาลาแปลง
  • 17. ๔. เพลงคืนเดือนหงำย เนื้อเพลง : ยามกลางคืนเดือนหงาย เย็นพระพายโบกพริวปลิวมา เย็นอะไรก็ไม่เย็นจิต เท่าเย็นผูกมิตรไม่เบื่อระอา เย็นร่มธงไทยปกไปทั่วหล้า เย็นยิ่งนาฟ้ามาประพรมเอย ควำมหมำยเพลง : เวลากลางคืน เป็นคืนเดือนหงาย มีลมพัดมาเย็นสบายใจ แต่ก็ยังไม่สบายใจเท่ากับการที่ได้ผูกมิตรกับผู้อื่น และที่ร่มเย็นไปทั่ว ทุกแห่งยิ่ง กว่านาฝนที่โปรยลงมา ก็คือการที่ประเทศไทยเป็นประเทศที่เป็นเอกราช มีธง ชาติไทยเป็นเอกลักษณ์ ทาให้ร่มเย็นทั่วไป
  • 18. ๕. เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ คำร้อง : ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงครามทานอง ทำนอง : อาจารย์มนตรี ตราโมท ผู้ประดิษฐ์ท่ำรำ : หม่อมต่วน (นางศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก) ครูมัลลี คงประภัศร์ ครูลมุล ยมะคุปต์ และครูผัน โมรากุล ท่ำรำ : ท่าแขกเต้าเข้ารังและท่าผาลาเพียงไหล่
  • 20. ๕. เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ เนื้อเพลง : ดวงจันทร์วันเพ็ญ ลอยเด่นอยู่ในนภา ทรงกลดสดสี รัศมีทอแสงงามตา แสงจันทร์อร่าม ฉายงามส่องฟ้า ไม่งามเท่าหน้า นวลน้องยองใย งามเอยแสงงาม งามจริงยอดหญิงชาติไทย งามวงพักตร์ยิ่งดวงจันทรา จริตกิริยานิ่มนวลละไม วาจากังวาน อ่อนหวานจับใจ รูปทรงสมส่วน ยั่วยวนหทัย สมเป็นดอกไม้ ขวัญใจชาติเอย
  • 21. ๕. เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ ความหมายเพลง : พระจันทร์เต็มดวงที่ ลอยอยู่บนท้องฟ้านั้นช่างดูสวยงาม เพราะ เป็นพระจันทร์ทรงกลด คือมีแสงเลื่อม กระจายออกรอบดวงจันทร์ทั้งดวง แต่ถึงจะ งามอย่างไรก็ยังไม่เท่าความงามของดวง หน้าหญิงสาว ที่ดูผุดผ่องมีน้้ามีนวล อีกทั้ง รูปร่างก็ดูสมส่วน กิริยาวาจาก็อ่อนหวาน ไพเราะ สมแล้วกับที่เปรียบว่าหญิงไทยนี้คือ ดอกไม้
  • 22. ๖. เพลงดอกไม้ของชำติ คาร้อง : ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม ทานอง : อาจารย์มนตรี ตราโมท ผู้ประดิษฐ์ท่ารา : หม่อมต่วน (นางศุภลักษณ์ ภัทร นาวิก) ครูมัลลี คงประภัศร์ ครูลมุล ยมะคุปต์ และ ครูผัน โมรากุล ท่ารา : ท่าร้ายั่ว
  • 24. ๖. เพลงดอกไม้ของชำติ เนื้อเพลง : ขวัญใจดอกไม้ของชาติ งามวิลาศนวยนาดร่ายร้า (ซ้้า) เอวองค์อ่อนงาม ตามแบบนาฏศิลป์ ชี้ชาติไทยเนาว์ถิ่น เจริญวัฒนธรรม งามทุกสิ่งสามารถ สร้างชาติช่วยชาย ด้าเนินตามนโยบาย สู้ทนเหนื่อยยากตรากตร้า ความหมายเพลง : ผู้หญิงไทยเปรียบเสมือนดอกไม้อันเป็นเอกลักษณ์ของประเทศ ไทย การร่ายร้าด้วยการแสดงออกอย่างอ่อนช้อย งดงามตามรูปแบบความเป็นไทย แสดงให้เห็นถึงความเจริญทางด้านวัฒนธรรมของคนไทย นอกจากผู้หญิงจะดีเด่น ทางด้านความงามแล้วยังมีความอดทน สามารถท้างานบ้าน ช่วยเหลืองานผู้ชาย หรือแม้งานส้าคัญ ๆ ระดับประเทศก็สามารถช่วยเหลือได้เป็นอย่างดีไม่แพ้ผู้ชาย
  • 25. ๗. เพลงหญิงไทยใจงำม คาร้อง : ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม ทานอง : ครูเอื้อ สุนทรสนาน ผู้ประดิษฐ์ท่ารา : หม่อมต่วน (นางศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก) ครูมัลลี คงประภัศร์ ครูลมุล ยมะคุปต์ และครูผัน โมรากุล ท่ารา : ท่าพรหมสี่หน้าและท่ายูงฟ้อนหาง
  • 27. ๗. เพลงหญิงไทยใจงำม เนื้อเพลง : เดือนพราว ดาวแวววาวระยับ แสงดาวประดับ ส่งให้เดือนงามเด่น ดวงหน้า โสภาเพียงเดือนเพ็ญ คุณความดีที่เห็น เสริมให้เด่นเลิศงาม ขวัญใจ หญิงไทยส่งศรีชาติ รูปงามพิลาศ ใจกล้ากาจเรืองนาม เกียรติยศ ก้องปรากฏทั่วคาม หญิงไทยใจงาม ยิ่งเดือนดาวพราวแพรว
  • 28. ๗. เพลงหญิงไทยใจงำม ความหมายเพลง : ดวงจันทร์ที่ส่องแสงอยู่บนท้องฟ้ามีความงดงาม มาก และยิ่งได้แสงอันระยิบระยับของดวงดาวด้วยแล้ว ยิ่งท้าให้ดวง จันทร์นั้นงามเด่นยิ่งขึ้น เปรียบเหมือนกับดวงหน้าของหญิงสาวที่มี ความงดงามอยู่แล้ว ถ้ามีคุณความดีด้วย ก็จะท้าให้หญิงนั้นงามเป็น เลิศ ผู้หญิงไทยนี้เป็นขวัญใจของชาติ เป็นที่เชิดหน้าชูตาของชาติ รูปร่างก็งดงาม จิตใจก็กล้าหาญ ดังที่มีชื่อเสียงปรากฏอยู่ทั่วไป
  • 29. ๘. เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้ำ คาร้อง : ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงครามท้านอง ทานอง : ครูเอื้อ สุนทรสนาน ผู้ประดิษฐ์ท่ารา : หม่อมต่วน (นางศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก) ครูมัลลี คงประภัศร์ ครูลมุล ยมะคุปต์ และครูผัน โมรากุล ท่ารา : ท่าช้างประสานงาและท่าจันทร์ทรงกลด
  • 31. ๘. เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้ำ เนื้อเพลง : ดวงจันทร์ขวัญฟ้า ชื่นชีวาขวัญพี่ จันทร์ประจ้าราตรี แต่ขวัญพี่ประจ้าใจ ที่เทิดทูนคือชาติ เอกราชอธิปไตย ถนอมแนบสนิทใน คือขวัญใจพี่เอย ความหมายเพลง : ในเวลาค่้าคืนท้องฟ้ามีดวงจันทร์ประจ้าอยู่ ในใจของชายก็มีหญิง อันเป็นสุดที่รักประจ้าอยู่เช่นกัน สิ่งที่เทิดทูนยกย่องไว้ก็คือ ชาติไทยที่เป็นเอกราช มี อิสระแก่ตนไม่ขึ้นกับใคร และสิ่งที่แนบสนิทอยู่ในใจของชายก็คือหญิงอันเป็นสุดที่รัก
  • 32. ๙. เพลงยอดชำยใจหำญ คาร้อง : ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงครามท้านอง ทานอง : ครูเอื้อ สุนทรสนาน ผู้ประดิษฐ์ท่ารา : หม่อมต่วน (นางศุภลักษณ์ ภัทร นาวิก) ครูมัลลี คงประภัศร์ ครูลมุล ยมะคุปต์ และ ครูผัน โมรากุล ท่ารา : ชาย ท่าจ่อเพลิงกาล หญิง ท่าชะนีร่ายไม้
  • 34. ๙. เพลงยอดชำยใจหำญ เนื้อเพลง : โอ้ยอดชายใจหาญ ขอสมานไมตรี น้องขอร่วมชีวี กอบกรณีกิจชาติ แม้สุดยากล้าเค็ญ ไม่ขอเว้นเดินตาม น้องจักสู้พยายาม ท้าเต็มความสามารถ ความหมายเพลง : ขอผูกมิตรไมตรีกับชายผู้กล้าหาญ และจะขอมีส่วนในการท้า ประโยชน์ท้าหน้าที่ของชาวไทย แม้จะล้าบากยากแค้น ก็จะขอช่วยเหลือจนเต็ม ความสามารถ
  • 35. ๑๐. เพลงบูชำนักรบ คาร้อง : ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม ท้านอง ทานอง : ครูเอื้อ สุนทรสนาน ผู้ประดิษฐ์ท่ารา : หม่อมต่วน (นางศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก) ครูมัลลี คงประภัศร์ ครูลมุล ยมะคุปต์ และครูผัน โมรากุล ท่ารา : ชาย ท่าจันทร์ทรงกลดและท่าขอแก้ว หญิง ท่าขัดจางนางและท่าล่อแก้ว
  • 37. ๑๐. เพลงบูชำนักรบ เนื้อเพลง : น้องรักรักบูชาพี่ ที่มั่นคงที่มั่นคงกล้าหาญ เป็นนักสู้เชี่ยวชาญ สมศักดิ์ชาตินักรบ น้องรักรักบูชาพี่ ที่มานะที่มานะอดทน หนักแสนหนักพี่ผจญ เกียรติพี่ขจรจบ น้องรักรักบูชาพี่ ที่ขยันที่ขยันกิจการ บากบั่นสร้างหลักฐาน ท้าทุกด้านท้าทุกด้านครันครบ น้องรักรักบูชาพี่ ที่รักชาติที่รักชาติยิ่งชีวิต เลือดเนื้อพี่พลีอุทิศ ชาติยงอยู่ยงอยู่คู่พิภพ
  • 38. ๑๐. เพลงบูชำนักรบ ความหมายเพลง : น้องรักและบูชาพี่ เพราะมีความกล้าหาญ เป็นนักสู้ที่ เก่งกล้าสามารถสมกับเป็นชายชาตินักรบที่มีความมานะอดทน แม้ว่าจะ ยากเย็นแสนเข็ญ พี่ก็ต่อสู้จนชื่อเสียงเลื่องลือไปทั่ว นอกจากนี้ ยังขยัน ขันแข็งในงานทุกอย่าง อุตส่าห์สร้างหลักฐานให้มั่นคง และพี่ยังมีความรัก ในชาติบ้านเมืองยิ่งกว่าชีวิต ยอมสละได้แม้ชีวิตและเลือดเนื้อเพื่อให้ชาติ ไทยคงอยู่คู่โลกต่อไป
  • 39. รูปแบบและลักษณะการแสดง ราวงมาตรฐาน เป็นการราหมู่ประกอบด้วยผู้แสดง ๘ คน ท่ารา ประดิษฐ์ขึ้นจากท่ารามาตรฐานในเพลงแม่บท ความสวยงามของการรา อยู่ที่ กระบวนท่าราที่มีลักษณะเฉพาะในแต่ละเพลงและเครื่องแต่งกายไทยในสมัยต่าง ๆ รวมทั้งรูปแบบการแสดงในลักษณะการแปรแถวเป็นวงกลม (ทวนเข็ม นาฬิกา) การราแบ่งเป็นขั้นตอนต่าง ๆ ได้ ดังนี้
  • 40. รูปแบบและลักษณะการแสดง ขั้นตอนที่ ๑ : ผู้แสดงชายและหญิง เดินออกมาเป็นแถวตรง ๒ แถว หัน หน้าเข้าหากัน ต่างฝ่ายท้าความเคารพด้วยการไหว้
  • 41. รูปแบบและลักษณะการแสดง ขั้นตอนที่ ๒ : ร้าแปรแถวเป็นวงกลมตามท้านองเพลงและร้าตามบทร้อง รวม ๑๐ เพลง โดยเปลี่ยนท่าร้าไปตามเพลงต่าง ๆ เริ่มตั้งแต่เพลงงามแสงเดือน เพลงชาวไทย เพลงร้าซิมาร้า เพลงคืนเดือนหงาย เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ เพลง ดอกไม้ของชาติ เพลงหญิงไทยใจงาม เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า เพลงยอดชายใจหาญ และเพลงบูชานักรบ
  • 42. รูปแบบและลักษณะการแสดง ขั้นตอนที่ ๓ : เมื่อร้าจบบทร้องในเพลงบูชานักรบ ผู้แสดงร้าเข้าเวที หรือ หัน หน้าเข้าหาคู่ท้าความเคารพด้วยการไหว้ก่อนออกจากวง
  • 43. การแต่งกาย มีการกาหนดการแต่งกายของผู้แสดง ให้ มีระเบียบด้วยการใช้ชุดไทย และชุดสากลนิยม โดยแต่งเป็นคู่ ๆ รับกันทั้งชายและหญิง ซึ่ง สามารถแต่งได้ ๔ แบบ คือ แบบที่ ๑ แบบชาวบ้าน ชาย : นุ่งผ้าโจงกระเบน สวมเสื้อคอ พวงมาลัย เอวคาดผ้าห้อยชายด้านหน้า หญิง : นุ่งโจงกระเบน ห่มผ้าสไบอัดจีบ ปล่อยผม ประดับดอกไม้ที่ผมด้านซ้าย คาดเข็ม ขัด ใส่เครื่องประดับ
  • 44. การแต่งกาย แบบที่ 2 แบบไทยพระราชนิยม ชาย : นุ่งผ้าโจงกระเบน สวมเสื้อราชปะ แตน ใส่ถุงเท้ารองเท้า หญิง : นุ่งผ้าโจงกระเบน สวมเสื้อลูกไม้ สไบพาดบ่าผูกเป็นโบว์ ทิ้งชายไว้ข้างล้าตัว ด้านซ้าย ใส่เครื่องประดับมุก
  • 45. การแต่งกาย แบบที่ 3 แบบสากลนิยม ชาย : นุ่งกางเกง สวมสูท ผูกเนคไท หญิง : นุ่งกระโปรงป้ายข้าง ยาวกรอม เท้า ใส่เสื้อคอกลมแขนกระบอก
  • 46. การแต่งกาย แบบที่ 4 แบบราตรีสโมสร ชาย : นุ่งกางเกง สวมเสื้อคอ พระราชทาน ผ้าคาดเอวห้อยชายด้านหน้า หญิง : นุ่งโปรงยาวจีบหน้านาง ใส่เสื้อ จับเดรป ชายผ้าห้อยจากบ่าลงไปทางด้านล่าง เปิดไหล่ขวา ศีรษะท้าผมเกล้าเป็นมวยสูง ใส่ เกี้ยว และเครื่องประดับ