SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
รำไทยรำวงมำตรฐำนไทย
รำวงมำตรฐำน รำวง รำโทน เพลงช้ำ-เพลงเร็ว เพลงหน้ำพำทย์
แม่บทเล็ก แม่บทใหญ่
รำถวำยพระพรพระบำทสมเด็จ
พระเจ้ำอยู่หัว
รำถวำยพระพรสมเด็จพระนำงเจ้ำ
พระบรมรำชินีนำถ
รำบำยศรีสู่ขวัญ รำอวยพรอ่อนหวำน ระบำไกรลำสสำเริง ระบำเทพบันเทิง
ระบำสุโขทัย ระบำทวำรวดี ระบำเชียงแสน ระบำลพบุรี
ระบำศรีชัยสิงห์ ระบำศรีวิชัย รำมโนรำห์บูชำยัญ ระบำไตรรัตน์
รำฉุยฉำยนำฏศิลป์ รำฉุยฉำยวันทอง รำฉุยฉำยพรำหมณ์ รำฉุยฉำยเบญกำย
รำสีนวลออกอำหนู รำสีนวลวรเชษฐ์ ระบำกฤดำภินิหำร ฟ้ อนอวยพร
ฟ้ อนลำวแพน ฟ้ อนเล็บ ฟ้ อนมำลัย ฟ้ อนสำวไหม
ฟ้ อนเงี้ยว ระบำตำรีกีปัส รำเชิญพระขวัญ รำสี่ภำค
รำชุมนุมเผ่ำไทย เซิ้งกระติบ เซิ้งโปงลำง แพรวำกำฬสินธุ์
รำวงมำตรฐำน
เพลงงำมแสงเดือน เพลงดอกไม้ของชำติ
เพลงชำวไทย เพลงหญิงไทยใจงำม
เพลงรำซิมำรำ เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้ ำ
เพลงคืนเดือนหงำย เพลงยอดชำยใจหำญ
เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ เพลงบูชำนักรบ
รำวงมำตรฐำน วิวัฒนำกำรมำจำกกำรรำโทน เป็นกำรละเล่นพื้นเมืองของไทย ต่อมำท่ำนผู้หญิงละเอียด
พิบูลสงครำม ได้แต่งเนื้อร้องและมอบให้กรมศิลปำกรบรรจุท่ำรำไว้เป็นมำตรฐำน เป็นเพลงที่มีเนื้อร้องสุภำพ ใช้คำง่ำย
ทำนองเพลงง่ำย มุ่งให้เห็นวัฒนธรรมของชำติเป็นส่วนใหญ่ กำรแสดงจะใช้ผู้แสดงหญิงชำยไม่น้อยกว่ำ ๕ คู่
ท่ารา
คุณครูศุภลักษณ์ ภัทรนำวิก คุณครูมัลลี คงประภัศร์ และคุณครูลมุล ยมะคุปต์ ได้ร่วมกันประดิษฐ์ท่ำรำขึ้น
ทั้งหมด ๑๔ แม่ท่ำ เป็นชื่อท่ำรำที่อยู่ในรำแม่บท มีทั้งหมด ๑๐ เพลง ได้แก่เพลงงำมแสงเดือนเพลงชำวไทย เพลง
รำซิมำรำ เพลงคืนเดือนหงำย เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ เพลงดอกไม้ของชำติ เพลงหญิงไทยใจงำม
เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้ำ เพลงยอดชำยใจหำญ และเพลงบูชำนักรบ
คาร้อง
จมื่นมำนิตย์นเรศ (เฉลิมเศวตนันท์) หัวหน้ำกองกำรสังคีต กรมศิลปำกร ได้ประพันธ์ขึ้น ๔ เพลง คือ
เพลงงำมแสงเดือนเพลงชำวไทย เพลง รำซิมำรำ เพลงคืนเดือนหงำย
คุณหญิงละเอียด พิบูลสงครำม ได้ประพันธ์คำร้องไว้ ๖ เพลง คือ เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ เพลงดอกไม้ของชำติ
เพลงหญิงไทยใจงำม เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้ำ เพลงยอดชำยใจหำญ และเพลงบูชำนักรบ
ทานอง
อำจำรย์มนตรี ตรำโมท ผู้เชี่ยวชำญดนตรีไทย กรมศิลปำกร ได้แต่งทำนองไว้๖เพลง คือ เพลงงำมแสงเดือน
เพลงชำวไทย เพลง รำซิมำรำ เพลงคืนเดือนหงำย เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ เพลงดอกไม้ของชำติ
ครูเอื้อ สุนทรสนำน หัวหน้ำวงดนตรีกรมประชำสัมพันธ์ แต่งทำนองไว้๔ เพลง คือ เพลงหญิงไทยใจงำม
เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้ำ เพลงยอดชำยใจหำญ และเพลงบูชำนักรบ
เครื่องดนตรี
เดิมนั้นรำโทนมีเครื่องดนตรีประกอบ คือ ฉิ่งกรับ ฉำบ และโทนเมื่อมีกำรพัฒนำกำรรำขึ้น
จึงได้พัฒนำเครื่องดนตรีที่ใช้ด้วย โดยใช้วงดนตรีสำกลบรรเลง
การแต่งกาย
มิได้กำหนดเฉพำะเจำะจงว่ำต้องแต่งชุดไทยอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งแน่นอน แต่สำมำรถแต่งได้หลำยอย่ำง เช่น
แต่งชุดไทยจักรี ชุดไทยสมัย ร.๖ ชุดไทยแบบชำวบ้ำนคือห่มสไบ นุ่งโจงกระเบน หรือชุดไทยสมัยใดก็ได้
ขอให้เป็นแบบไทย ขอให้ดูสุภำพ งดงำม ชำยก็แต่งได้ทั้งชุดไทยแบบชำวบ้ำน คือ นุ่งโจงกระเบน ใส่เสื้อคอพวงมำลัย
แขนสั้นผ้ำคำดเอว หรือชุดไทยเสื้อพระรำชทำน กำงเกงขำยำว ชุดรำชปะแตน หรือชุดสำกลใส่เสื้อสูท ผูกเนคไทก็ได้
รำวงและรำโทน
รำวงเป็นกำรละเล่นอย่ำงหนึ่งของชำวบ้ำน ที่ร่วมกันเล่นเพื่อควำมสนุกสนำนและเพื่อควำมสำมัคคี นิยมเล่นกันในระหว่ำง
พ.ศ. ๒๔๘๔-๒๔๘๘ รำวงนั้นเดิมเรียกว่ำ "รำโทน" เพรำะได้ใช้โทนเป็นเครื่องดนตรีตีประกอบจังหวะ โดยใช้โทนเป็นจังหวะหลัก
มีกรับและฉิ่งเป็นเครื่องดนตรีประกอบ แต่ไม่มีเนื้อร้อง ผู้รำก็รำไปตำมจังหวะโทน ลักษณะกำรรำก็ไม่มีกำหนดกฏเกณฑ์
เพียงแต่ย่ำเท้ำให้ลงจังหวะโทน ต่อมำมีผู้คิดทำนองและบทร้องประกอบจังหวะโทนขึ้น ต่อมำรำโทนได้พัฒนำเป็น "รำวง"
มีลักษณะคือ มีโต๊ะตั้งอยู่กลำงวง ชำย-หญิงรำเป็นคู่ๆ ไปตำมวงอย่ำงมีระเบียบ เรียกว่ำ "รำวงพื้นเมือง" เล่นได้ทุกงำนเทศกำล
ทุกฤดูกำล หรือจะเล่นกันเองเพื่อควำมสนุกสนำน
ในช่วง พ.ศ. ๒๔๘๔ อยู่ระหว่ำงสงครำมโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นได้เจรจำขอตั้งฐำนทัพในประเทศไทย
เพื่อเป็นทำงผ่ำนสำหรับลำเลียงเสบียง อำวุธและกำลังพล เพื่อไปต่อสู้กับฝ่ำยสัมพันธมิตร โดยยกพลขึ้นที่ ตำบลบำงปู
จังหวัดสมุทรปรำกำร เมื่อวันที่ ๘ ธันวำคม ๒๔๘๔ จอมพล ป. พิบูลสงคำรม นำยกรัฐมนตรีในสมัยนั้น
จำเป็นต้องยอมให้ทหำรญี่ปุ่นตั้งฐำนทัพ
มิฉะนั้นจะถูกฝ่ำยอักษะซึ่งมีประเทศญี่ปุ่นรวมอยู่ด้วยนั้นปรำบปรำม ประเทศไทยขณะนั้นจึงเป็นจึงเป็นเป้ ำหมำยให้ฝ่ำยสัมพันธมิต
รโจมตี ส่งเครื่องบินมำทิ้งระเบิดทำลำย ทำให้ชีวิตผู้คน บ้ำนเรือน ทรัพย์สินเสียหำยยับเยิน โดยเฉพำะที่ที่อยู่ใกล้กับฐำนทัพญี่ปุ่น
ส่วนใหญ่แล้วฝ่ำยพันธมิตรจะส่งเครื่องบินมำรุกรำนจุดยุทธศำสตร์ในเวลำคืนเดือนหงำย
เพรำะจะมองเห็นจุดยุทธศำสตร์ได้ง่ำย ชำวไทยมีทั้งควำมหวำดกลัวและตึงเครียด จึงได้ชักชวนกันเล่นเพลงพื้นเมือง คือกำรรำโทน
เพื่อผ่อนคลำยอำรมณ์ที่ตึงเครียด ให้เพลิดเพลินสนุกสนำนขึ้นบ้ำง
กำรรำโทนนั้นใช้ภำษำที่เรียบง่ำย เนื้อร้องเป็นเชิงเย้ำแหย่หยอกล้อ เกี้ยวพำรำสีกันระหว่ำงหนุ่มสำว ทำนองเพลง กำรร้อง
ท่ำรำ กำรแต่งกำยก็เรียบง่ำย มุ่งควำมสนุกสนำนพอผ่อนคลำยควำมทุกข์ไปได้บ้ำงเท่ำนั้น จอมพล ป.
พิบูลสงครำมเกรงว่ำชำวต่ำงชำติที่ได้พบเห็นจะเข้ำใจว่ำ ศิลปะกำรฟ้อนรำของไทยมิได้ประณีตงดงำม
ท่ำนจึงได้ให้มีกำรพัฒนำกำรรำโทนขึ้นอย่ำงมีแบบแผน ประณีตงดงำม ทั้งท่ำรำ คำร้อง ทำนองเพลง
และเครื่องดนตรีที่ใช้ตลอดจนกำรแต่งกำย จึงเรียกกันว่ำ "รำวงมำตรฐำน" เพื่อจะได้เป็นแบบอย่ำงต่อไป
เนื้อเพลงรำวง-รำโทน มีดังต่อไปนี้
เพลงช่อมำลี
ช่อมำลี คนดีของพี่ก็มำ สวยจริงหนำเวลำค่ำคืน (ซ้ำ)
โอ้จันทร์ไปไหน ทำไมจึงไม่ส่องแสง
เดือนมำแฝงแสงสว่ำง เมฆน้อยลอยมำบัง (ซ้ำ)
เธอรำช่ำงน่ำดู
(ช) เธอรำช่ำงน่ำดู ถ้ำแม้นรำคู่จะเป็นบุญตำ
(ญ) อย่ำมำทำอย่ำมำทำพูดจำ ประเดี๋ยวจะว่ำให้ได้อำย
(ช) หวำนคำรมคำคมแง่งอน (ญ) รู้ว่ำงอนมำวอนทำไม
(ช) รับรักฉันหน่อยได้ไหม (ญ) อุ้ย ไม่ได้หวำนใจเธอมี
ยวน ยวน ยวน
ยวน ยวน ยวน กระบิดกระบวนยั่วยวนใจชำย
ยักท่ำมำแต่ระบำ ฟ้อนรำหมุนเวียนเปลี่ยนไป
ยักคิ้วยักเอวยักไหล ตำชม้ำยไม่วำยแลมอง
ตำมองตำ
ตำมองตำ สำยตำก็จ้องมองกัน รู้สึกเสียวซ่ำนหัวใจ
จะว่ำรักฉันก็ไม่รัก จะว่ำหลงฉันก็ไม่หลง ฉันยังอดโค้งเธอไม่ได้
เธอช่ำงงำมวิไล เหมือนดอกไม้ที่เธอถือมำ
ใกล้เข้ำไปอีกนิด
ใกล้เข้ำไปอีกนิด ชิดๆ เข้ำไปอีกหน่อย
สวรรค์น้อยน้อย อยู่ในวงฟ้อนรำ
รูปหล่อเขำเชิญมำเล่น เนื้อเย็นเขำเชิญมำรำ
มองมำนัยน์ตำหวำนฉ่ำ (ซ้ำ) มำมำรำกับพี่นี่เอย
ยวนยำเหล
ยวนยำเหล ยวนยำเหล หัวใจว้ำเหว่ ไม่รู้จะเร่ไปหำใคร
จะซื้อเปลยวน ที่ด้ำยหย่อน หย่อน (ซ้ำ) จะเอำน้องนอนไกวเช้ำ ไกวเย็น
เพลงลำ
ออกปำกว่ำจะลำ น้ำตำไหลร่วง (ซ้ำ) แสนรักแสนห่วงโอ้แม่ดวงจันทรำ
ด้วยถึงกำหนดหมดลำ ขอลำแล้วเธอจ๋ ำ
แต่ในอุรำนั้นคร่ำครวญ

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
Princess Chulabhon's College Chonburi
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
Sivagon Soontong
 
การเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการการเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการ
Puzzle Chalermwan
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2
Pattama Poyangyuen
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Sivagon Soontong
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
Princess Chulabhon's College Chonburi
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
Thitaree Permthongchuchai
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
somdetpittayakom school
 

What's hot (20)

คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
การเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการการเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการ
 
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2
 
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แผ่นพับ พระอภัยมณี น้ำทิพย์
แผ่นพับ พระอภัยมณี น้ำทิพย์แผ่นพับ พระอภัยมณี น้ำทิพย์
แผ่นพับ พระอภัยมณี น้ำทิพย์
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
 
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยาฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
 

Similar to รำไทย รำวง มาตรฐานไทย

รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน
พัน พัน
 
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
Tongsamut vorasan
 

Similar to รำไทย รำวง มาตรฐานไทย (13)

รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน
 
วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56
 
Art
ArtArt
Art
 
Art
ArtArt
Art
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน
 
Sukhothai
SukhothaiSukhothai
Sukhothai
 
สไลด์ ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคเหนือ ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f12-4page
สไลด์  ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคเหนือ ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f12-4pageสไลด์  ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคเหนือ ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f12-4page
สไลด์ ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคเหนือ ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f12-4page
 
สไลด์ ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคเหนือ ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f12-1page
สไลด์  ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคเหนือ ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f12-1pageสไลด์  ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคเหนือ ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f12-1page
สไลด์ ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคเหนือ ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f12-1page
 
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
 
17 Loykrathong
17 Loykrathong17 Loykrathong
17 Loykrathong
 
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
 
ละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.docละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.doc
 

More from leemeanxun

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
leemeanxun
 

More from leemeanxun (20)

Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบTcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
 
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขน
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขนห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขน
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขน
 
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนาการจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
 
สำนักบรรณสาร มสธ
สำนักบรรณสาร มสธสำนักบรรณสาร มสธ
สำนักบรรณสาร มสธ
 
กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย
กรมที่ดิน  กระทรวงมหาดไทยกรมที่ดิน  กระทรวงมหาดไทย
กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย
 
หอเกียรติยศ
หอเกียรติยศหอเกียรติยศ
หอเกียรติยศ
 
ราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชาราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชา
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
Thai music14
Thai music14Thai music14
Thai music14
 
Thai music13
Thai music13Thai music13
Thai music13
 

รำไทย รำวง มาตรฐานไทย

  • 1. รำไทยรำวงมำตรฐำนไทย รำวงมำตรฐำน รำวง รำโทน เพลงช้ำ-เพลงเร็ว เพลงหน้ำพำทย์ แม่บทเล็ก แม่บทใหญ่ รำถวำยพระพรพระบำทสมเด็จ พระเจ้ำอยู่หัว รำถวำยพระพรสมเด็จพระนำงเจ้ำ พระบรมรำชินีนำถ รำบำยศรีสู่ขวัญ รำอวยพรอ่อนหวำน ระบำไกรลำสสำเริง ระบำเทพบันเทิง ระบำสุโขทัย ระบำทวำรวดี ระบำเชียงแสน ระบำลพบุรี ระบำศรีชัยสิงห์ ระบำศรีวิชัย รำมโนรำห์บูชำยัญ ระบำไตรรัตน์
  • 2. รำฉุยฉำยนำฏศิลป์ รำฉุยฉำยวันทอง รำฉุยฉำยพรำหมณ์ รำฉุยฉำยเบญกำย รำสีนวลออกอำหนู รำสีนวลวรเชษฐ์ ระบำกฤดำภินิหำร ฟ้ อนอวยพร ฟ้ อนลำวแพน ฟ้ อนเล็บ ฟ้ อนมำลัย ฟ้ อนสำวไหม ฟ้ อนเงี้ยว ระบำตำรีกีปัส รำเชิญพระขวัญ รำสี่ภำค รำชุมนุมเผ่ำไทย เซิ้งกระติบ เซิ้งโปงลำง แพรวำกำฬสินธุ์ รำวงมำตรฐำน เพลงงำมแสงเดือน เพลงดอกไม้ของชำติ เพลงชำวไทย เพลงหญิงไทยใจงำม เพลงรำซิมำรำ เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้ ำ เพลงคืนเดือนหงำย เพลงยอดชำยใจหำญ เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ เพลงบูชำนักรบ รำวงมำตรฐำน วิวัฒนำกำรมำจำกกำรรำโทน เป็นกำรละเล่นพื้นเมืองของไทย ต่อมำท่ำนผู้หญิงละเอียด พิบูลสงครำม ได้แต่งเนื้อร้องและมอบให้กรมศิลปำกรบรรจุท่ำรำไว้เป็นมำตรฐำน เป็นเพลงที่มีเนื้อร้องสุภำพ ใช้คำง่ำย ทำนองเพลงง่ำย มุ่งให้เห็นวัฒนธรรมของชำติเป็นส่วนใหญ่ กำรแสดงจะใช้ผู้แสดงหญิงชำยไม่น้อยกว่ำ ๕ คู่ ท่ารา คุณครูศุภลักษณ์ ภัทรนำวิก คุณครูมัลลี คงประภัศร์ และคุณครูลมุล ยมะคุปต์ ได้ร่วมกันประดิษฐ์ท่ำรำขึ้น ทั้งหมด ๑๔ แม่ท่ำ เป็นชื่อท่ำรำที่อยู่ในรำแม่บท มีทั้งหมด ๑๐ เพลง ได้แก่เพลงงำมแสงเดือนเพลงชำวไทย เพลง รำซิมำรำ เพลงคืนเดือนหงำย เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ เพลงดอกไม้ของชำติ เพลงหญิงไทยใจงำม เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้ำ เพลงยอดชำยใจหำญ และเพลงบูชำนักรบ คาร้อง จมื่นมำนิตย์นเรศ (เฉลิมเศวตนันท์) หัวหน้ำกองกำรสังคีต กรมศิลปำกร ได้ประพันธ์ขึ้น ๔ เพลง คือ เพลงงำมแสงเดือนเพลงชำวไทย เพลง รำซิมำรำ เพลงคืนเดือนหงำย คุณหญิงละเอียด พิบูลสงครำม ได้ประพันธ์คำร้องไว้ ๖ เพลง คือ เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ เพลงดอกไม้ของชำติ เพลงหญิงไทยใจงำม เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้ำ เพลงยอดชำยใจหำญ และเพลงบูชำนักรบ ทานอง อำจำรย์มนตรี ตรำโมท ผู้เชี่ยวชำญดนตรีไทย กรมศิลปำกร ได้แต่งทำนองไว้๖เพลง คือ เพลงงำมแสงเดือน เพลงชำวไทย เพลง รำซิมำรำ เพลงคืนเดือนหงำย เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ เพลงดอกไม้ของชำติ
  • 3. ครูเอื้อ สุนทรสนำน หัวหน้ำวงดนตรีกรมประชำสัมพันธ์ แต่งทำนองไว้๔ เพลง คือ เพลงหญิงไทยใจงำม เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้ำ เพลงยอดชำยใจหำญ และเพลงบูชำนักรบ เครื่องดนตรี เดิมนั้นรำโทนมีเครื่องดนตรีประกอบ คือ ฉิ่งกรับ ฉำบ และโทนเมื่อมีกำรพัฒนำกำรรำขึ้น จึงได้พัฒนำเครื่องดนตรีที่ใช้ด้วย โดยใช้วงดนตรีสำกลบรรเลง การแต่งกาย มิได้กำหนดเฉพำะเจำะจงว่ำต้องแต่งชุดไทยอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งแน่นอน แต่สำมำรถแต่งได้หลำยอย่ำง เช่น แต่งชุดไทยจักรี ชุดไทยสมัย ร.๖ ชุดไทยแบบชำวบ้ำนคือห่มสไบ นุ่งโจงกระเบน หรือชุดไทยสมัยใดก็ได้ ขอให้เป็นแบบไทย ขอให้ดูสุภำพ งดงำม ชำยก็แต่งได้ทั้งชุดไทยแบบชำวบ้ำน คือ นุ่งโจงกระเบน ใส่เสื้อคอพวงมำลัย แขนสั้นผ้ำคำดเอว หรือชุดไทยเสื้อพระรำชทำน กำงเกงขำยำว ชุดรำชปะแตน หรือชุดสำกลใส่เสื้อสูท ผูกเนคไทก็ได้ รำวงและรำโทน รำวงเป็นกำรละเล่นอย่ำงหนึ่งของชำวบ้ำน ที่ร่วมกันเล่นเพื่อควำมสนุกสนำนและเพื่อควำมสำมัคคี นิยมเล่นกันในระหว่ำง พ.ศ. ๒๔๘๔-๒๔๘๘ รำวงนั้นเดิมเรียกว่ำ "รำโทน" เพรำะได้ใช้โทนเป็นเครื่องดนตรีตีประกอบจังหวะ โดยใช้โทนเป็นจังหวะหลัก มีกรับและฉิ่งเป็นเครื่องดนตรีประกอบ แต่ไม่มีเนื้อร้อง ผู้รำก็รำไปตำมจังหวะโทน ลักษณะกำรรำก็ไม่มีกำหนดกฏเกณฑ์ เพียงแต่ย่ำเท้ำให้ลงจังหวะโทน ต่อมำมีผู้คิดทำนองและบทร้องประกอบจังหวะโทนขึ้น ต่อมำรำโทนได้พัฒนำเป็น "รำวง" มีลักษณะคือ มีโต๊ะตั้งอยู่กลำงวง ชำย-หญิงรำเป็นคู่ๆ ไปตำมวงอย่ำงมีระเบียบ เรียกว่ำ "รำวงพื้นเมือง" เล่นได้ทุกงำนเทศกำล ทุกฤดูกำล หรือจะเล่นกันเองเพื่อควำมสนุกสนำน ในช่วง พ.ศ. ๒๔๘๔ อยู่ระหว่ำงสงครำมโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นได้เจรจำขอตั้งฐำนทัพในประเทศไทย เพื่อเป็นทำงผ่ำนสำหรับลำเลียงเสบียง อำวุธและกำลังพล เพื่อไปต่อสู้กับฝ่ำยสัมพันธมิตร โดยยกพลขึ้นที่ ตำบลบำงปู จังหวัดสมุทรปรำกำร เมื่อวันที่ ๘ ธันวำคม ๒๔๘๔ จอมพล ป. พิบูลสงคำรม นำยกรัฐมนตรีในสมัยนั้น จำเป็นต้องยอมให้ทหำรญี่ปุ่นตั้งฐำนทัพ มิฉะนั้นจะถูกฝ่ำยอักษะซึ่งมีประเทศญี่ปุ่นรวมอยู่ด้วยนั้นปรำบปรำม ประเทศไทยขณะนั้นจึงเป็นจึงเป็นเป้ ำหมำยให้ฝ่ำยสัมพันธมิต รโจมตี ส่งเครื่องบินมำทิ้งระเบิดทำลำย ทำให้ชีวิตผู้คน บ้ำนเรือน ทรัพย์สินเสียหำยยับเยิน โดยเฉพำะที่ที่อยู่ใกล้กับฐำนทัพญี่ปุ่น ส่วนใหญ่แล้วฝ่ำยพันธมิตรจะส่งเครื่องบินมำรุกรำนจุดยุทธศำสตร์ในเวลำคืนเดือนหงำย เพรำะจะมองเห็นจุดยุทธศำสตร์ได้ง่ำย ชำวไทยมีทั้งควำมหวำดกลัวและตึงเครียด จึงได้ชักชวนกันเล่นเพลงพื้นเมือง คือกำรรำโทน เพื่อผ่อนคลำยอำรมณ์ที่ตึงเครียด ให้เพลิดเพลินสนุกสนำนขึ้นบ้ำง กำรรำโทนนั้นใช้ภำษำที่เรียบง่ำย เนื้อร้องเป็นเชิงเย้ำแหย่หยอกล้อ เกี้ยวพำรำสีกันระหว่ำงหนุ่มสำว ทำนองเพลง กำรร้อง
  • 4. ท่ำรำ กำรแต่งกำยก็เรียบง่ำย มุ่งควำมสนุกสนำนพอผ่อนคลำยควำมทุกข์ไปได้บ้ำงเท่ำนั้น จอมพล ป. พิบูลสงครำมเกรงว่ำชำวต่ำงชำติที่ได้พบเห็นจะเข้ำใจว่ำ ศิลปะกำรฟ้อนรำของไทยมิได้ประณีตงดงำม ท่ำนจึงได้ให้มีกำรพัฒนำกำรรำโทนขึ้นอย่ำงมีแบบแผน ประณีตงดงำม ทั้งท่ำรำ คำร้อง ทำนองเพลง และเครื่องดนตรีที่ใช้ตลอดจนกำรแต่งกำย จึงเรียกกันว่ำ "รำวงมำตรฐำน" เพื่อจะได้เป็นแบบอย่ำงต่อไป เนื้อเพลงรำวง-รำโทน มีดังต่อไปนี้ เพลงช่อมำลี ช่อมำลี คนดีของพี่ก็มำ สวยจริงหนำเวลำค่ำคืน (ซ้ำ) โอ้จันทร์ไปไหน ทำไมจึงไม่ส่องแสง เดือนมำแฝงแสงสว่ำง เมฆน้อยลอยมำบัง (ซ้ำ) เธอรำช่ำงน่ำดู (ช) เธอรำช่ำงน่ำดู ถ้ำแม้นรำคู่จะเป็นบุญตำ (ญ) อย่ำมำทำอย่ำมำทำพูดจำ ประเดี๋ยวจะว่ำให้ได้อำย (ช) หวำนคำรมคำคมแง่งอน (ญ) รู้ว่ำงอนมำวอนทำไม (ช) รับรักฉันหน่อยได้ไหม (ญ) อุ้ย ไม่ได้หวำนใจเธอมี ยวน ยวน ยวน ยวน ยวน ยวน กระบิดกระบวนยั่วยวนใจชำย ยักท่ำมำแต่ระบำ ฟ้อนรำหมุนเวียนเปลี่ยนไป ยักคิ้วยักเอวยักไหล ตำชม้ำยไม่วำยแลมอง ตำมองตำ ตำมองตำ สำยตำก็จ้องมองกัน รู้สึกเสียวซ่ำนหัวใจ จะว่ำรักฉันก็ไม่รัก จะว่ำหลงฉันก็ไม่หลง ฉันยังอดโค้งเธอไม่ได้ เธอช่ำงงำมวิไล เหมือนดอกไม้ที่เธอถือมำ ใกล้เข้ำไปอีกนิด ใกล้เข้ำไปอีกนิด ชิดๆ เข้ำไปอีกหน่อย สวรรค์น้อยน้อย อยู่ในวงฟ้อนรำ รูปหล่อเขำเชิญมำเล่น เนื้อเย็นเขำเชิญมำรำ มองมำนัยน์ตำหวำนฉ่ำ (ซ้ำ) มำมำรำกับพี่นี่เอย ยวนยำเหล ยวนยำเหล ยวนยำเหล หัวใจว้ำเหว่ ไม่รู้จะเร่ไปหำใคร จะซื้อเปลยวน ที่ด้ำยหย่อน หย่อน (ซ้ำ) จะเอำน้องนอนไกวเช้ำ ไกวเย็น
  • 5. เพลงลำ ออกปำกว่ำจะลำ น้ำตำไหลร่วง (ซ้ำ) แสนรักแสนห่วงโอ้แม่ดวงจันทรำ ด้วยถึงกำหนดหมดลำ ขอลำแล้วเธอจ๋ ำ แต่ในอุรำนั้นคร่ำครวญ