SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
1
ข้อมูลและสารสนเทศ
ความหมายและประเภทของข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูล(Data) คือ สิ่งต่าง ๆหรือข้อเท็จจริง ที่ได้รับจากประสาทสัมผัสหรือสื่อต่าง
ๆที่ยังไม่ผ่านการวิเคราะห์ หรือการประมวลผล โดยข้อมูลอาจเป็นตัวเลข สัญลักษณ์ ตัวอักษร เสียง ภาพ
ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น
ข้อมูลดิบ (Raw Data) คือ ข้อมูลทุกรูปแบบที่ยังไม่ได้ผ่านการประมวลผล
การแบ่งประเภทของข้อมูลขึ้นอยู่กับ
- ความต้องการของผู้ใช้
- ลักษณะของข้อมูลที่นาไปใช้
- เกณฑ์ที่นามาพิจารณา
ในหน่วยการเรียนนี้จะยกตัวอย่างการแบ่งข้อมูลไว้ 4 รูปแบบ ดังนี้
1. การแบ่งข้อมูลตามลักษณะของข้อมูล
เป็นการแบ่งข้อมูลโดยพิจารณาจากการรับข้อมูลของประสาทสัมผัสของร่างกาย ได้แก่
- ข้อมูลภาพที่ได้รับจากการมองเห็นด้วยดวงตา
- ข้อมูลเสียงที่ได้รับจากการฟังด้วยหู
- ข้อมูลกลิ่นที่ได้รับจากการสูดดมด้วยจมูก
- ข้อมูลรสชาติที่ได้รับจากการรับรสชาติด้วยลิ้น
- ข้อมูลสัมผัสที่ได้รับจากความรู้สึกด้วยผิวหนัง
2. การแบ่งข้อมูลตามแหล่งข้อมูลที่ได้รับ
โดยพิจารณาจากลักษณะของที่มาหรือการได้รับข้อมูล ได้แก่
- ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) คือ ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมหรือบันทึกจากแหล่งข้อมูล
โดยตรงด้วยวิธีต่างๆ เช่นจากการสอบถามการสัมภาษณ์การสารวจการจดบันทึก
ตัวอย่างข้อมูลปฐมภูมิ ได้แก่ ข้อมูลการมาโรงเรียนสายของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ซึ่งได้จากการจดบันทึกในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมา
2
- ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) คือ การนาข้อมูลที่ผู้อื่นได้เก็บรวบรวมหรือบันทึกไว้มาใช้งาน
ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องเก็บรวบรวมและบันทึกด้วยตนเอง จัดเป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นในอดีต มักผ่านการประมวลผล
แล้ว ตัวอย่างข้อมูลทุติยภูมิ ได้แก่ สถิติการมาโรงเรียนสายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
1 ในปีพ.ศ.2550
3. การแบ่งข้อมูลตามการจัดเก็บในในสื่ออิเล็กทรอนิกส์
มีลักษณะคล้ายการแบ่งข้อมูลตามลักษณะของข้อมูล แต่มีการแยกลักษณะข้อมูลตามชนิดและนามสกุล
ของข้อมูลนั้น ๆ ได้แก่
- ข้อมูลตัวอักษร เช่น ตัวหนังสือ ตัวเลข และสัญลักษณ์ ข้อมูลประเภทนี้มักมีนามสกุลต่อท้าย
ชื่อไฟล์เป็น .txt และ .doc
- ข้อมูลภาพ เช่น ภาพกราฟิกต่าง ๆ และภาพถ่ายจากกล้องดิจิทัล ข้อมูลประเภทนี้มักมีนามสกุล
ต่อท้ายชื่อไฟล์เป็น .bmp .gif และ .jpg
- ข้อมูลเสียง เช่น เสียงพูด เสียงดนตรี และเสียงเพลง ข้อมูลประเภทนี้มักมีนามสกุลต่อท้าย
ชื่อไฟล์เป็น .wav .mp3 และ .au
- ข้อมูลภาพเคลื่อนไหว เช่น ภาพเคลื่อนไหว ภาพมิวสิกวีดีโอ ภาพยนตร์ คลิปวิดีโอ
ข้อมูลประเภทนี้มักมีนามสกุลต่อท้ายชื่อไฟล์เป็น .avi
4. การแบ่งข้อมูลตามระบบคอมพิวเตอร์
มีลักษณะคล้ายและใกล้เคียงกับการแบ่งข้อมูลตามการจัดเก็บในสื่ออิเล็กทรอนิกส์มาก แต่มุ่งเน้นพิจา
รณาการแบ่งประเภทตามการนาข้อมูลไปใช้งานในระบบคอมพิวเตอร์ ได้แก่
- ข้อมูลเชิงจานวน มีลักษณะเป็นตัวเลขที่สามารถนามาคานวณด้วยคอมพิวเตอร์ได้ เช่น
จานวนเงินในกระเป๋ า จานวนค่าโดยสารรถประจาทาง และจานวนนักเรียนในห้องเรียน
- ข้อมูลอักขระ มีลักษณะเป็นตัวอักษร ตัวหนังสือ และสัญลักษณ์ ต่างๆ
ซึ่งสามารถนาเสนอข้อมูล
และเรียงลาดับได้แต่ไม่สามารถนามาคานวณได้ เช่น หมายเลขโทรศัพท์ เลขที่บ้านและชื่อของนักเรียน
- ข้อมูลกราฟิก เป็นข้อมูลที่เกิดจากจุดพิกัดทางคอมพิวเตอร์ ทาให้เกิดรูปภาพหรือแผนที่ เช่น
เครื่องหมายการค้า แบบก่อสร้างอาคาร และกราฟ
-
ข้อมูลภาพลักษณ์ เป็นข้อมูลแสดงความเข้มและสีของรูปภาพที่เกิดจากการสแกนของสแกนเนอร์
3
เป็นหลัก ซึ่งสามารถนาเสนอข้อมูล ย่อหรือขยาย และตัดต่อได้ แต่ไม่สามารถนามาคานวณหรือดาเนินกา
ร อย่างอื่นได้
ปัจจุบันบริษัท NTT Communications Corp
ประเทศญี่ปุ่นได้มีการทดลองส่งข้อมูลกลิ่นผ่านทางอินเตอร์เน็ต
โดยมีโครงการที่จะเปิดให้บริการ Aromatherapy online ในอนาคต
สารสนเทศ(Information) คือ สิ่งที่ได้จากการประมวลผลของข้อมูล เพื่อให้สามารถนามาใช้ประโ
ยชน์ ในด้านการวางแผน การพัฒนา การควบคุม และการตัดสินใจ
การแบ่งสารสนเทศสามารถแบ่งได้หลายรูปแบบ เช่น
1. การแบ่งสารสนเทศตามหลักแห่งคุณภาพ ได้แก่ สารสนเทศแข็งและสารสนเทศอ่อน
2. การแบ่งสารสนเทศตามแหล่งกาเนิด ได้แก่ สารสนเทศภายในองค์กรและสารสนเทศ
ภายนอกองค์กร
3. การแบ่งสารสนเทศตามสาขาความรู้ ได้แก่ สารสนเทศสาขามนุษยศาสตร์ สารสนเทศ
สาขาสังคมศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสารสนเทศสาขาอื่น ๆ
4. การแบ่งตามการนาสารสนเทศไปใช้งาน ได้แก่ สารสนเทศด้านการตลาด สารสนเทศ
ด้านการวิจัยและพัฒนาบุคลากร และสารสนเทศด้านการเงิน
5. การแบ่งตามการใช้และการถ่ายทอดสารสนเทศ ได้แก่ สารสนเทศที่เน้นวิชาการ สารสนเทศ
ที่เน้นเทคนิค สารสนเทศที่เน้นบุคคล และสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ
6. การแบ่งตามขั้นตอนของการพัฒนาสารสนเทศ ได้แก่ สารสนเทศระยะแรกเริ่มและ
สารสนเทศระยะยาว
7. การแบ่งสารสนเทศตามวิธีการผลิตและการจัดทา ได้แก่ สารสนเทศต้นแบบและสารสนเทศ
ปรุงแต่ง
8.
การแบ่งสารสนเทศตามรูปแบบที่นาเสนอ ได้แก่ สารสนเทศที่มีลักษณะเป็นเสียง สารสนเทศ
ที่มีลักษณะเป็นข้อความ สารสนเทศที่มีลักษณะเป็นโสตทัศนวัสดุ และสารสนเทศที่มีลักษณะเป็นอิเล็กทร
อนิกส์
4
9. การแบ่งสารสนเทศตามสภาพความต้องการที่จัดทาขึ้น ได้แก่ สารสนเทศที่ทาประจา
สารสนเทศที่ต้องทาตามกฎหมาย และสารสนเทศที่ได้รับหมอบหมายให้จัดทาขึ้นโดยเฉพาะ
การนาความรู้หรือวิธีการมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง
และความรวดเร็วให้แก่ สารสนเทศ เรียกว่า ไอทีหรือเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT: Information Technolo
gy)
วิธีการประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูลสามารถทาได้ 2 วิธี คือ การประมวลผลแบบกลุ่มและการประมวลผลแบบทัน
ที ดังนี้
1. การประมวลผลแบบกลุ่ม ข้อมูลของการประมวลผลแบบนี้จะถูกเก็บสะสมไว้ในช่วงเวลาที่กาหนด
เช่น 7 วัน หรือ 1 เดือน แล้วจึงนาข้อมูลที่สะสมไว้มาประมวลผลรวมกันครั้งเดียว เช่น การคานวณค่าบ
ริการ น้าประปา โดยข้อมูลปริมาณน้าที่ใช้ทั้งหมดจะถูกเก็บบันทึกไว้ในรอบ 1 เดือน แล้วจึงนามาประมว
ลผลเป็น ค่าน้าประปาในครั้งเดียว การประมวลผลแบบนี้มักมีความผิดพลาดสูง แต่เสียค่าใช้จ่ายในการปร
ะมวลผลน้อย
2.
การประมวลผลแบบทันที เป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับการรับข้อมูลหรือหลังจากได้รับข้อมูลทัน
ที เช่นการฝากและถอนเงินธนาคาร เมื่อลูกค้าฝากเงิน ข้อมูลนั้นจะถูกประมวลผลทันที ทาให้ยอดฝากใน
บัญชีนั้นมีการเปลี่ยนแปลง การประมวลผลแบบนี้จะมีความผิดพลาดน้อย แต่เสียค่าใช้จ่ายในการประมวล
ผลมาก
การประมวลผลแบบทันที เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (Online Processisng) เนื่อ
งจากลักษณะการทางานจะต้องเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

More Related Content

What's hot

ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศWirot Chantharoek
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศnutoon
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศkartoon7
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศwannuka24
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศRawiwan Kashornchan
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศOwat
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศOwat
 
ข้อมูลและสารสนเทศMix
ข้อมูลและสารสนเทศMixข้อมูลและสารสนเทศMix
ข้อมูลและสารสนเทศMixphongwaruttt
 
ข้อมูล
ข้อมูลข้อมูล
ข้อมูลtungraya
 

What's hot (13)

ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 1 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยที่ 1   1 ข้อมูลและสารสนเทศหน่วยที่ 1   1 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศMix
ข้อมูลและสารสนเทศMixข้อมูลและสารสนเทศMix
ข้อมูลและสารสนเทศMix
 
ข้อมูล
ข้อมูลข้อมูล
ข้อมูล
 

Similar to ข้อมูลและสารสนเทศ

CE kalasin ข้อมูลและสารสนเทศ
  CE kalasin  ข้อมูลและสารสนเทศ  CE kalasin  ข้อมูลและสารสนเทศ
CE kalasin ข้อมูลและสารสนเทศKat Nattawan
 
1 ข้อมูลและและเทคโนโลยี (ใบความรู้)
1 ข้อมูลและและเทคโนโลยี (ใบความรู้)1 ข้อมูลและและเทคโนโลยี (ใบความรู้)
1 ข้อมูลและและเทคโนโลยี (ใบความรู้)phatrinn555
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศnutoon
 
ข้อมูลและสารสนเทศMix
ข้อมูลและสารสนเทศMixข้อมูลและสารสนเทศMix
ข้อมูลและสารสนเทศMixphongwaruttt
 
ข้อมูลและสารสนเทศ โยยยย
ข้อมูลและสารสนเทศ โยยยยข้อมูลและสารสนเทศ โยยยย
ข้อมูลและสารสนเทศ โยยยยถั่วงอก โยชิ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ โยยยย
ข้อมูลและสารสนเทศ โยยยยข้อมูลและสารสนเทศ โยยยย
ข้อมูลและสารสนเทศ โยยยยถั่วงอก โยชิ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ โยยยย
ข้อมูลและสารสนเทศ โยยยยข้อมูลและสารสนเทศ โยยยย
ข้อมูลและสารสนเทศ โยยยยokbeer
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศtungraya
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศtungraya
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศtungraya
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศPraphaphun Kaewmuan
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศchushi1991
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18Wirot Chantharoek
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18Wirot Chantharoek
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศเรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศsarawoot7
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
หน่วยการเรียนรู้ที่3 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่3 ข้อมูลและสารสนเทศหน่วยการเรียนรู้ที่3 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่3 ข้อมูลและสารสนเทศWadchara Kakaew
 

Similar to ข้อมูลและสารสนเทศ (20)

CE kalasin ข้อมูลและสารสนเทศ
  CE kalasin  ข้อมูลและสารสนเทศ  CE kalasin  ข้อมูลและสารสนเทศ
CE kalasin ข้อมูลและสารสนเทศ
 
1 ข้อมูลและและเทคโนโลยี (ใบความรู้)
1 ข้อมูลและและเทคโนโลยี (ใบความรู้)1 ข้อมูลและและเทคโนโลยี (ใบความรู้)
1 ข้อมูลและและเทคโนโลยี (ใบความรู้)
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศMix
ข้อมูลและสารสนเทศMixข้อมูลและสารสนเทศMix
ข้อมูลและสารสนเทศMix
 
ข้อมูลและสารสนเทศ โยยยย
ข้อมูลและสารสนเทศ โยยยยข้อมูลและสารสนเทศ โยยยย
ข้อมูลและสารสนเทศ โยยยย
 
ข้อมูลและสารสนเทศ โยยยย
ข้อมูลและสารสนเทศ โยยยยข้อมูลและสารสนเทศ โยยยย
ข้อมูลและสารสนเทศ โยยยย
 
ข้อมูลและสารสนเทศ โยยยย
ข้อมูลและสารสนเทศ โยยยยข้อมูลและสารสนเทศ โยยยย
ข้อมูลและสารสนเทศ โยยยย
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
 
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศเรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่3 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่3 ข้อมูลและสารสนเทศหน่วยการเรียนรู้ที่3 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่3 ข้อมูลและสารสนเทศ
 

ข้อมูลและสารสนเทศ

  • 1. 1 ข้อมูลและสารสนเทศ ความหมายและประเภทของข้อมูลและสารสนเทศ ข้อมูล(Data) คือ สิ่งต่าง ๆหรือข้อเท็จจริง ที่ได้รับจากประสาทสัมผัสหรือสื่อต่าง ๆที่ยังไม่ผ่านการวิเคราะห์ หรือการประมวลผล โดยข้อมูลอาจเป็นตัวเลข สัญลักษณ์ ตัวอักษร เสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น ข้อมูลดิบ (Raw Data) คือ ข้อมูลทุกรูปแบบที่ยังไม่ได้ผ่านการประมวลผล การแบ่งประเภทของข้อมูลขึ้นอยู่กับ - ความต้องการของผู้ใช้ - ลักษณะของข้อมูลที่นาไปใช้ - เกณฑ์ที่นามาพิจารณา ในหน่วยการเรียนนี้จะยกตัวอย่างการแบ่งข้อมูลไว้ 4 รูปแบบ ดังนี้ 1. การแบ่งข้อมูลตามลักษณะของข้อมูล เป็นการแบ่งข้อมูลโดยพิจารณาจากการรับข้อมูลของประสาทสัมผัสของร่างกาย ได้แก่ - ข้อมูลภาพที่ได้รับจากการมองเห็นด้วยดวงตา - ข้อมูลเสียงที่ได้รับจากการฟังด้วยหู - ข้อมูลกลิ่นที่ได้รับจากการสูดดมด้วยจมูก - ข้อมูลรสชาติที่ได้รับจากการรับรสชาติด้วยลิ้น - ข้อมูลสัมผัสที่ได้รับจากความรู้สึกด้วยผิวหนัง 2. การแบ่งข้อมูลตามแหล่งข้อมูลที่ได้รับ โดยพิจารณาจากลักษณะของที่มาหรือการได้รับข้อมูล ได้แก่ - ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) คือ ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมหรือบันทึกจากแหล่งข้อมูล โดยตรงด้วยวิธีต่างๆ เช่นจากการสอบถามการสัมภาษณ์การสารวจการจดบันทึก ตัวอย่างข้อมูลปฐมภูมิ ได้แก่ ข้อมูลการมาโรงเรียนสายของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งได้จากการจดบันทึกในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมา
  • 2. 2 - ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) คือ การนาข้อมูลที่ผู้อื่นได้เก็บรวบรวมหรือบันทึกไว้มาใช้งาน ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องเก็บรวบรวมและบันทึกด้วยตนเอง จัดเป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นในอดีต มักผ่านการประมวลผล แล้ว ตัวอย่างข้อมูลทุติยภูมิ ได้แก่ สถิติการมาโรงเรียนสายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในปีพ.ศ.2550 3. การแบ่งข้อมูลตามการจัดเก็บในในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ มีลักษณะคล้ายการแบ่งข้อมูลตามลักษณะของข้อมูล แต่มีการแยกลักษณะข้อมูลตามชนิดและนามสกุล ของข้อมูลนั้น ๆ ได้แก่ - ข้อมูลตัวอักษร เช่น ตัวหนังสือ ตัวเลข และสัญลักษณ์ ข้อมูลประเภทนี้มักมีนามสกุลต่อท้าย ชื่อไฟล์เป็น .txt และ .doc - ข้อมูลภาพ เช่น ภาพกราฟิกต่าง ๆ และภาพถ่ายจากกล้องดิจิทัล ข้อมูลประเภทนี้มักมีนามสกุล ต่อท้ายชื่อไฟล์เป็น .bmp .gif และ .jpg - ข้อมูลเสียง เช่น เสียงพูด เสียงดนตรี และเสียงเพลง ข้อมูลประเภทนี้มักมีนามสกุลต่อท้าย ชื่อไฟล์เป็น .wav .mp3 และ .au - ข้อมูลภาพเคลื่อนไหว เช่น ภาพเคลื่อนไหว ภาพมิวสิกวีดีโอ ภาพยนตร์ คลิปวิดีโอ ข้อมูลประเภทนี้มักมีนามสกุลต่อท้ายชื่อไฟล์เป็น .avi 4. การแบ่งข้อมูลตามระบบคอมพิวเตอร์ มีลักษณะคล้ายและใกล้เคียงกับการแบ่งข้อมูลตามการจัดเก็บในสื่ออิเล็กทรอนิกส์มาก แต่มุ่งเน้นพิจา รณาการแบ่งประเภทตามการนาข้อมูลไปใช้งานในระบบคอมพิวเตอร์ ได้แก่ - ข้อมูลเชิงจานวน มีลักษณะเป็นตัวเลขที่สามารถนามาคานวณด้วยคอมพิวเตอร์ได้ เช่น จานวนเงินในกระเป๋ า จานวนค่าโดยสารรถประจาทาง และจานวนนักเรียนในห้องเรียน - ข้อมูลอักขระ มีลักษณะเป็นตัวอักษร ตัวหนังสือ และสัญลักษณ์ ต่างๆ ซึ่งสามารถนาเสนอข้อมูล และเรียงลาดับได้แต่ไม่สามารถนามาคานวณได้ เช่น หมายเลขโทรศัพท์ เลขที่บ้านและชื่อของนักเรียน - ข้อมูลกราฟิก เป็นข้อมูลที่เกิดจากจุดพิกัดทางคอมพิวเตอร์ ทาให้เกิดรูปภาพหรือแผนที่ เช่น เครื่องหมายการค้า แบบก่อสร้างอาคาร และกราฟ - ข้อมูลภาพลักษณ์ เป็นข้อมูลแสดงความเข้มและสีของรูปภาพที่เกิดจากการสแกนของสแกนเนอร์
  • 3. 3 เป็นหลัก ซึ่งสามารถนาเสนอข้อมูล ย่อหรือขยาย และตัดต่อได้ แต่ไม่สามารถนามาคานวณหรือดาเนินกา ร อย่างอื่นได้ ปัจจุบันบริษัท NTT Communications Corp ประเทศญี่ปุ่นได้มีการทดลองส่งข้อมูลกลิ่นผ่านทางอินเตอร์เน็ต โดยมีโครงการที่จะเปิดให้บริการ Aromatherapy online ในอนาคต สารสนเทศ(Information) คือ สิ่งที่ได้จากการประมวลผลของข้อมูล เพื่อให้สามารถนามาใช้ประโ ยชน์ ในด้านการวางแผน การพัฒนา การควบคุม และการตัดสินใจ การแบ่งสารสนเทศสามารถแบ่งได้หลายรูปแบบ เช่น 1. การแบ่งสารสนเทศตามหลักแห่งคุณภาพ ได้แก่ สารสนเทศแข็งและสารสนเทศอ่อน 2. การแบ่งสารสนเทศตามแหล่งกาเนิด ได้แก่ สารสนเทศภายในองค์กรและสารสนเทศ ภายนอกองค์กร 3. การแบ่งสารสนเทศตามสาขาความรู้ ได้แก่ สารสนเทศสาขามนุษยศาสตร์ สารสนเทศ สาขาสังคมศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสารสนเทศสาขาอื่น ๆ 4. การแบ่งตามการนาสารสนเทศไปใช้งาน ได้แก่ สารสนเทศด้านการตลาด สารสนเทศ ด้านการวิจัยและพัฒนาบุคลากร และสารสนเทศด้านการเงิน 5. การแบ่งตามการใช้และการถ่ายทอดสารสนเทศ ได้แก่ สารสนเทศที่เน้นวิชาการ สารสนเทศ ที่เน้นเทคนิค สารสนเทศที่เน้นบุคคล และสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ 6. การแบ่งตามขั้นตอนของการพัฒนาสารสนเทศ ได้แก่ สารสนเทศระยะแรกเริ่มและ สารสนเทศระยะยาว 7. การแบ่งสารสนเทศตามวิธีการผลิตและการจัดทา ได้แก่ สารสนเทศต้นแบบและสารสนเทศ ปรุงแต่ง 8. การแบ่งสารสนเทศตามรูปแบบที่นาเสนอ ได้แก่ สารสนเทศที่มีลักษณะเป็นเสียง สารสนเทศ ที่มีลักษณะเป็นข้อความ สารสนเทศที่มีลักษณะเป็นโสตทัศนวัสดุ และสารสนเทศที่มีลักษณะเป็นอิเล็กทร อนิกส์
  • 4. 4 9. การแบ่งสารสนเทศตามสภาพความต้องการที่จัดทาขึ้น ได้แก่ สารสนเทศที่ทาประจา สารสนเทศที่ต้องทาตามกฎหมาย และสารสนเทศที่ได้รับหมอบหมายให้จัดทาขึ้นโดยเฉพาะ การนาความรู้หรือวิธีการมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง และความรวดเร็วให้แก่ สารสนเทศ เรียกว่า ไอทีหรือเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT: Information Technolo gy) วิธีการประมวลผลข้อมูล การประมวลผลข้อมูลสามารถทาได้ 2 วิธี คือ การประมวลผลแบบกลุ่มและการประมวลผลแบบทัน ที ดังนี้ 1. การประมวลผลแบบกลุ่ม ข้อมูลของการประมวลผลแบบนี้จะถูกเก็บสะสมไว้ในช่วงเวลาที่กาหนด เช่น 7 วัน หรือ 1 เดือน แล้วจึงนาข้อมูลที่สะสมไว้มาประมวลผลรวมกันครั้งเดียว เช่น การคานวณค่าบ ริการ น้าประปา โดยข้อมูลปริมาณน้าที่ใช้ทั้งหมดจะถูกเก็บบันทึกไว้ในรอบ 1 เดือน แล้วจึงนามาประมว ลผลเป็น ค่าน้าประปาในครั้งเดียว การประมวลผลแบบนี้มักมีความผิดพลาดสูง แต่เสียค่าใช้จ่ายในการปร ะมวลผลน้อย 2. การประมวลผลแบบทันที เป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับการรับข้อมูลหรือหลังจากได้รับข้อมูลทัน ที เช่นการฝากและถอนเงินธนาคาร เมื่อลูกค้าฝากเงิน ข้อมูลนั้นจะถูกประมวลผลทันที ทาให้ยอดฝากใน บัญชีนั้นมีการเปลี่ยนแปลง การประมวลผลแบบนี้จะมีความผิดพลาดน้อย แต่เสียค่าใช้จ่ายในการประมวล ผลมาก การประมวลผลแบบทันที เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (Online Processisng) เนื่อ งจากลักษณะการทางานจะต้องเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์