SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
3.1 พิกัดความเผื่อ (Tolerance)
ในการผลิตชิ้นงานจานวนมากๆและต้องการความเที่ยงตรงของชิ้นงานให้มีขนาดเท่ากันทั้งหมดทุกชิ้นคงเป็นไปได้
ค่อนข้างยากซึ่งอาจมีผลมาจากเครื่องจักรหรือคน วิธีที่จะทาให้ชิ้นงานมีขนาดใกล้เคียงกับชิ้นงานจริงหรือให้มีขนาดค่าความ
ผิดพลาดน้อยที่สุดคือกาหนดให้ชิ้นงานมีขนาดโตสุดและเล็กสุดได้เรียกว่าพิกัดความเผื่อ (Tolerance)
รูปที่ 3.1 แสดงชิ้นงานสวมที่อยู่ในพิกัดความเผื่อ
3.1.1 นิยามพิกัดความเผื่อ
1.ขนาดกาหนด (Norminal Size) คือขนาดของชิ้นงานซึ่งกาหนดลงในงานเขียนแบบ
2. ค่าเผื่อต่าสุด (Allowance BelowNorminalSize) คือค่าความต่างระหว่างขนาดเล็กสุดของเพลาและรูคว้านกับ
ขนาดกาหนดของชิ้นงาน
3. ค่าเผื่อสูงสุด (Allowance Above Norminal Size) คือค่าความต่างระหว่างขนาดโตสุดของเพลาและรูคว้านกับ
ขนาดกาหนดของชิ้นงาน
4. พิกัดความเผื่อ (Tolerance) คือความแตกต่างระหว่างขนาดโตสุดและเล็กสุดที่ยอมให้ผิดพลาดได้
5. ขนาดจริง (Actual Size) คือขนาดที่วัดได้จากชิ้นงานที่อยู่ในพิกัดความเผื่อ
6. เส้นศูนย์(Zero Line) คือเส้นแสดงตาแหน่งเริ่มต้นของขนาดกาหนด
80
+0.2
-0.1
80.0079.99 80.02
 80.00  80.02
 79.99
รูปที่ 3.2 แสดงมาตรฐานพิกัดความเผื่อ
3.1.2 ระดับความละเอียดของพิกัดความเผื่อ
ระบบพิกัดความเผื่อแบ่งออกได้ เป็น 13 ช่วง และ 20 ระดับคือ IT 01- IT 18
IT 01- IT 5 ใช้สาหรับงานละเอียดมาก เช่น งานผลิตเครื่องมือวัด
IT 6- IT 11 ใช้สาหรับงานสวมประกอบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล
IT 12- IT 18 ใช้สาหรับงานหยาบๆเช่นงานเชื่อม งานหล่อ งานใส
หมายเหตุ IT ย่อมาจาก ISO - Tolerance - Series
ตารางที่ 3.1 แสดงค่าพิกัดความเผื่อ
ตัวอย่างการใช้ตาราง ชิ้นส่วนเครื่องจักรกลขนาดเพลา 28 มม. ใช้ IT 8 จะได้ค่าพิกัดความเผื่อเท่ากับ 33 µm หรือ
0.033 mm.

More Related Content

What's hot

สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01Narasak Sripakdee
 
งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2Pannathat Champakul
 
01 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r101 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r1MaloNe Wanger
 
ส่วนประกอบของโปรแกรม Illustrator
ส่วนประกอบของโปรแกรม Illustratorส่วนประกอบของโปรแกรม Illustrator
ส่วนประกอบของโปรแกรม IllustratorNichakorn Sengsui
 
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานSolidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานNut Veron
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธบทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธChattichai
 
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้นTolaha Diri
 
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คโครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คNichakarnkvc
 
ใบความรู้ เรื่อง โดเมนเนม คืออะไร
ใบความรู้ เรื่อง โดเมนเนม คืออะไรใบความรู้ เรื่อง โดเมนเนม คืออะไร
ใบความรู้ เรื่อง โดเมนเนม คืออะไรเทวัญ ภูพานทอง
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 

What's hot (20)

401
401401
401
 
สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01
 
งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2
 
2 2
2 22 2
2 2
 
01 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r101 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r1
 
6 3
6 36 3
6 3
 
ภาพฉายมุมที่1 3
ภาพฉายมุมที่1 3ภาพฉายมุมที่1 3
ภาพฉายมุมที่1 3
 
Catia full manual
Catia full manualCatia full manual
Catia full manual
 
ส่วนประกอบของโปรแกรม Illustrator
ส่วนประกอบของโปรแกรม Illustratorส่วนประกอบของโปรแกรม Illustrator
ส่วนประกอบของโปรแกรม Illustrator
 
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานSolidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
 
405
405405
405
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธบทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
 
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
 
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คโครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
 
ใบความรู้ เรื่อง โดเมนเนม คืออะไร
ใบความรู้ เรื่อง โดเมนเนม คืออะไรใบความรู้ เรื่อง โดเมนเนม คืออะไร
ใบความรู้ เรื่อง โดเมนเนม คืออะไร
 
4 1
4 14 1
4 1
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 
304
304304
304
 
303
303303
303
 

3 1

  • 1. 3.1 พิกัดความเผื่อ (Tolerance) ในการผลิตชิ้นงานจานวนมากๆและต้องการความเที่ยงตรงของชิ้นงานให้มีขนาดเท่ากันทั้งหมดทุกชิ้นคงเป็นไปได้ ค่อนข้างยากซึ่งอาจมีผลมาจากเครื่องจักรหรือคน วิธีที่จะทาให้ชิ้นงานมีขนาดใกล้เคียงกับชิ้นงานจริงหรือให้มีขนาดค่าความ ผิดพลาดน้อยที่สุดคือกาหนดให้ชิ้นงานมีขนาดโตสุดและเล็กสุดได้เรียกว่าพิกัดความเผื่อ (Tolerance) รูปที่ 3.1 แสดงชิ้นงานสวมที่อยู่ในพิกัดความเผื่อ 3.1.1 นิยามพิกัดความเผื่อ 1.ขนาดกาหนด (Norminal Size) คือขนาดของชิ้นงานซึ่งกาหนดลงในงานเขียนแบบ 2. ค่าเผื่อต่าสุด (Allowance BelowNorminalSize) คือค่าความต่างระหว่างขนาดเล็กสุดของเพลาและรูคว้านกับ ขนาดกาหนดของชิ้นงาน 3. ค่าเผื่อสูงสุด (Allowance Above Norminal Size) คือค่าความต่างระหว่างขนาดโตสุดของเพลาและรูคว้านกับ ขนาดกาหนดของชิ้นงาน 4. พิกัดความเผื่อ (Tolerance) คือความแตกต่างระหว่างขนาดโตสุดและเล็กสุดที่ยอมให้ผิดพลาดได้ 5. ขนาดจริง (Actual Size) คือขนาดที่วัดได้จากชิ้นงานที่อยู่ในพิกัดความเผื่อ 6. เส้นศูนย์(Zero Line) คือเส้นแสดงตาแหน่งเริ่มต้นของขนาดกาหนด 80 +0.2 -0.1 80.0079.99 80.02  80.00  80.02  79.99
  • 2. รูปที่ 3.2 แสดงมาตรฐานพิกัดความเผื่อ 3.1.2 ระดับความละเอียดของพิกัดความเผื่อ ระบบพิกัดความเผื่อแบ่งออกได้ เป็น 13 ช่วง และ 20 ระดับคือ IT 01- IT 18 IT 01- IT 5 ใช้สาหรับงานละเอียดมาก เช่น งานผลิตเครื่องมือวัด IT 6- IT 11 ใช้สาหรับงานสวมประกอบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล IT 12- IT 18 ใช้สาหรับงานหยาบๆเช่นงานเชื่อม งานหล่อ งานใส หมายเหตุ IT ย่อมาจาก ISO - Tolerance - Series ตารางที่ 3.1 แสดงค่าพิกัดความเผื่อ ตัวอย่างการใช้ตาราง ชิ้นส่วนเครื่องจักรกลขนาดเพลา 28 มม. ใช้ IT 8 จะได้ค่าพิกัดความเผื่อเท่ากับ 33 µm หรือ 0.033 mm.