SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
4.3 สลัก (Pin)
การยึดชิ้นงานด้วยสลักจะเป็นการป้ องกันไม่ให้ชิ้นส่วนของเครื่องจักรคลายตัวและหลุดออกจากกัน และสามารถ
ถอดประกอบได้ป้ องกันการเกินกาลังของเพลาส่งกาลัง
ชนิดและการเขียนแบบสลัก สามารถแบ่งได้หลายประเภทดังนี้
1. สลักรูปทรงกระบอก(Cylindrical Pins) มีรูปร่างทรงกระบอกตามมาตรฐาน DIN 7มี3ชนิดคือสลักทรงกระบอกหัว
มนโค้ง สลักทรงกระบอกหัวลบคม สลักทรงกระบอกหัวปาดเรียบ
2. สลักรูปทรงเรียว(Taper Pins) เป็นสลักที่มีอัตราการเรียว 1:50ใช้ยึดชิ้นงานให้แน่นป้ องกันการเลื่อนตัวสามารถรับ
แรงกระแทกได้ดีตามมาตรฐานDIN 1,DIN258,DIN7978
3. สลักปลอกแบ่ง(Sleeve Pins)เป็นสลักที่ทาจากสปริงม้วนเป็นรูปทรงกระบอกการประกอบสลักเมื่อสวมอัดลงไป
สลักจะเบ่งตัวเพื่อยึดงานไห้แน่นแบ่งตามมาตรฐานDIN1481มี2แบบคือปลายลบคม 30องศาทั้งสองด้านและแบบ
ปลายลบคม 15องศาด้านเดียว
4. สลักผ่าข้าง(Grooved Pins) เป็นสลักทรงกระบอกลาตัวผ่าตามยาว 3 แนวการประกอบใช้วิธีตอกอัดเข้าไปทาให้สลัก
ยึดแน่นแบ่งตามมาตรฐาน DIN1471-1477
5. สลักแบบเคลฟวิส(Clevis Pins)เป็นสลักรูปทรงกระบอกใช้กับงานที่เป็นแกนหมุนของแขนโยกมี 3 รูปแบบคือแบมี
หัว แบบไม่มีหัว แบบมีหัวและปลายเป็นเกลียวแบ่งตามมาตรฐานDIN1443-1445
รูปที่ 4.12 แสดงการใช้งานของสลักชนิดต่างๆ
การเขียนแบบสลัก(Pin) สลักที่ยึดชิ้นงานจะนิยมแสดงเป็นภาคตัดโดยภาคตัดที่แสดงตามแนวยาวจะไม่มีการแสดง
เส้นลายตัดแต่อย่างใดดังรูป A,C แต่ถ้าเป็นภาคตัดขวางจะแสดงเส้นลายตัดดังรูป B สลักเรียวจะมีอัตราเรียว 1:50 เมื่อจะ
เขียนภาพด้านบนจะฉายขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางด้านเล็กจากภาพด้านหน้า ดังรูป C สลักแบบตรง (Straight pins)
ภาพตัดของสลักมีเส้นลายตัด
รูปที่ 4.13 แสดงภาพประกอบชิ้นงานของสลักแบบตรงและแบบเรียว
A
B
C
ตารางที่ 4.4 แสดงขนาดและสัดส่วนของสลักทรงกระบอก
ตารางที่ 4.5 แสดงขนาดและสัดส่วนของสลักทรงกระบอกชุบผิวแข็ง
ตารางที่4.6แสดงขนาดและสัดส่วนของสลักทรงเรียว
ตารางที่ 4.7 แสดงขนาดและสัดส่วนของสลักทรงเรียวปลายมีเกลียว
ตารางที่4.8แสดงขนาดและสัดส่วนของสลักทรงเรียวมีเกลียวใน
ตารางที่ 4.9 แสดงขนาดและสัดส่วนของสลักปลอกเบ่ง
ตารางที่ 4.10 แสดงขนาดและสัดส่วนของสลักผ่าข้าง
ตารางที่ 4.11 แสดงขนาดและสัดส่วนของสลักแบบเคลฟวิส

More Related Content

What's hot

องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์actioncutpro
 
สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01Narasak Sripakdee
 
ความแข็งแรง5 2
ความแข็งแรง5 2ความแข็งแรง5 2
ความแข็งแรง5 2Pannathat Champakul
 
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้นTolaha Diri
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmAey Usanee
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
Minibook932Group10
Minibook932Group10Minibook932Group10
Minibook932Group10Don Tanadon
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์peter dontoom
 
ถ่านไม้ดูดกลิ่น2
ถ่านไม้ดูดกลิ่น2ถ่านไม้ดูดกลิ่น2
ถ่านไม้ดูดกลิ่น2Thanamon Bannarat
 
งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1Pannathat Champakul
 
แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์Chakkrawut Mueangkhon
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excelเอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน ExcelLerdrit Dangrathok
 
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรมมาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรมPannathat Champakul
 

What's hot (20)

องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์
 
สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01
 
แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิกแบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
 
ความแข็งแรง5 2
ความแข็งแรง5 2ความแข็งแรง5 2
ความแข็งแรง5 2
 
3 3
3 33 3
3 3
 
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
 
8 2
8 28 2
8 2
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shm
 
2 4
2 42 4
2 4
 
Lesson3 plamtreproduce2561
Lesson3 plamtreproduce2561Lesson3 plamtreproduce2561
Lesson3 plamtreproduce2561
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
Minibook932Group10
Minibook932Group10Minibook932Group10
Minibook932Group10
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
 
ถ่านไม้ดูดกลิ่น2
ถ่านไม้ดูดกลิ่น2ถ่านไม้ดูดกลิ่น2
ถ่านไม้ดูดกลิ่น2
 
งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1
 
แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excelเอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
 
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรมมาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
 
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงานบทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 
304
304304
304
 
303
303303
303
 

4 3

  • 1. 4.3 สลัก (Pin) การยึดชิ้นงานด้วยสลักจะเป็นการป้ องกันไม่ให้ชิ้นส่วนของเครื่องจักรคลายตัวและหลุดออกจากกัน และสามารถ ถอดประกอบได้ป้ องกันการเกินกาลังของเพลาส่งกาลัง ชนิดและการเขียนแบบสลัก สามารถแบ่งได้หลายประเภทดังนี้ 1. สลักรูปทรงกระบอก(Cylindrical Pins) มีรูปร่างทรงกระบอกตามมาตรฐาน DIN 7มี3ชนิดคือสลักทรงกระบอกหัว มนโค้ง สลักทรงกระบอกหัวลบคม สลักทรงกระบอกหัวปาดเรียบ 2. สลักรูปทรงเรียว(Taper Pins) เป็นสลักที่มีอัตราการเรียว 1:50ใช้ยึดชิ้นงานให้แน่นป้ องกันการเลื่อนตัวสามารถรับ แรงกระแทกได้ดีตามมาตรฐานDIN 1,DIN258,DIN7978 3. สลักปลอกแบ่ง(Sleeve Pins)เป็นสลักที่ทาจากสปริงม้วนเป็นรูปทรงกระบอกการประกอบสลักเมื่อสวมอัดลงไป สลักจะเบ่งตัวเพื่อยึดงานไห้แน่นแบ่งตามมาตรฐานDIN1481มี2แบบคือปลายลบคม 30องศาทั้งสองด้านและแบบ ปลายลบคม 15องศาด้านเดียว 4. สลักผ่าข้าง(Grooved Pins) เป็นสลักทรงกระบอกลาตัวผ่าตามยาว 3 แนวการประกอบใช้วิธีตอกอัดเข้าไปทาให้สลัก ยึดแน่นแบ่งตามมาตรฐาน DIN1471-1477 5. สลักแบบเคลฟวิส(Clevis Pins)เป็นสลักรูปทรงกระบอกใช้กับงานที่เป็นแกนหมุนของแขนโยกมี 3 รูปแบบคือแบมี หัว แบบไม่มีหัว แบบมีหัวและปลายเป็นเกลียวแบ่งตามมาตรฐานDIN1443-1445 รูปที่ 4.12 แสดงการใช้งานของสลักชนิดต่างๆ การเขียนแบบสลัก(Pin) สลักที่ยึดชิ้นงานจะนิยมแสดงเป็นภาคตัดโดยภาคตัดที่แสดงตามแนวยาวจะไม่มีการแสดง เส้นลายตัดแต่อย่างใดดังรูป A,C แต่ถ้าเป็นภาคตัดขวางจะแสดงเส้นลายตัดดังรูป B สลักเรียวจะมีอัตราเรียว 1:50 เมื่อจะ เขียนภาพด้านบนจะฉายขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางด้านเล็กจากภาพด้านหน้า ดังรูป C สลักแบบตรง (Straight pins)
  • 3. ตารางที่ 4.4 แสดงขนาดและสัดส่วนของสลักทรงกระบอก ตารางที่ 4.5 แสดงขนาดและสัดส่วนของสลักทรงกระบอกชุบผิวแข็ง ตารางที่4.6แสดงขนาดและสัดส่วนของสลักทรงเรียว
  • 5. ตารางที่ 4.10 แสดงขนาดและสัดส่วนของสลักผ่าข้าง ตารางที่ 4.11 แสดงขนาดและสัดส่วนของสลักแบบเคลฟวิส