SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
2.2 ภาพช่วย (auxiliary view)
คาจากัดความ
ในการเขียนแบบนั้นจะต้องให้รายละเอียดที่ชัดเจนและมีขนาดเป็นจริงแต่มีงานบางประเภทที่มีลักษณะ ผิวเอียง
(inclines Surface)ซึ่งมีผลทาให้ขนาดและรูปร่างของชิ้นงานเปลี่ยนแปลงไปจากความเป็นจริง จึงต้องเขียนภาพช่วยโดยการ
หมุนภาพที่เอียง ทามุม 90 ให้ตั้งฉากกับระดับสายตา
รูป A เป็นการมองภาพแต่ละด้านโดยใช้หลักการ Glass Box คือใช้กล่องใสครอบชิ้นงานแล้วมองภาพแต่ละด้าน
รูป B เป็นการฉายภาพช่วยออกจากภาพด้านบนและด้านข้างซึ่งจะได้ความสูงจริงและความยาวจริงของชิ้นงาน
รูปที่ 2.10 แสดงการเขียนภาพช่วยด้วยระบบ A-TYPE
2.2.1 ชนิดของภาพช่วย
ขึ้นอยู่กับลักษณะการฉายภาพ มี 3 ชนิด คือ
1. ฉายจากด้านบน (top view) แสดงส่วนสูงจริงคือชิ้นงานจะมีผิวเอียงทางด้านบน
2. ฉายจากด้านหน้า(front view) แสดงความหนาจริงคือชิ้นงานจะมีผิวเอียงทางด้านหน้า
3. ฉายจากด้านข้าง (side view) แสดงความยาวจริงคือชิ้นงานจะมีผิวเอียงทางด้านข้าง
รูปร่างลักษณะภาพช่วย มี 4 แบบ คือ
1. งานตั้งฉาก (perpendicular) หมายถึงชิ้นงานมีลักษณะตั้งฉากกันและมีผิวเอียง
2. งานกลม (round) หมายถึงชิ้นงานที่มีลักษณะเป็นทรงกระบอก เช่น ท่อตัดปากเฉียง
3. งานเป็นมุม (angular) หมายถึงงานที่มีลักษณะเป็นมุมฉากแต่มีพื้นผิวที่เอียง
4. งานโค้ง (curved) หมายถึงชิ้นงานที่มีลักษณะโค้งและมีผิวเอียง
ขั้นตอนการเขียนภาพ มี 4 ขั้นตอน
1. เขียนภาพฉาย (orthographic) ทั้ง 3 ด้าน
2. ฉายเส้นตั้งฉากกับพื้นผิวที่เอียง
3. ลากเส้นอ้างอิง (reference line) ขนานกับผิวเอียงและตั้งฉากกับเส้นฉายหรือสร้างกรอบให้มีขนาดความกว้างเท่า
งานจริงและมีความยาวเท่ากับผิวเอียง
4. ถ่ายขนาดความหนาของชิ้นงานจะได้ภาพช่วยที่สมบูรณ์
รูปที่ 2.11 แสดงขั้นตอนการเขียนภาพช่วยด้วยระบบ A-TYPE
ขั้นตอนการเขียนภาพช่วย
- เขียนภาพฉาย(orthographic)
- ฉายเส้นตั้งฉากกับพื้นผิวที่เอียง
- ลากเส้นอ้างอิง(reference line)ขนานกับผิวเอียง
- ถ่ายขนาดความหนาของชิ้นงาน
จากรูปเป็นขั้นตอนการเขียนภาพช่วยซึ่งมีอยู่ 4 ขั้นตอนและเป็นการเขียนภาพช่วยออกจากภาพด้านหน้าจะแสดงความหนา
จริงของชิ้นงาน
รูปที่ 2.12 แสดงขั้นตอนการเขียนภาพช่วยด้วยระบบ A-TYPE
การเขียนภาพช่วยสามารถเขียนได้3 วิธี
- การเขียนภาพช่วยแบบเต็ม(Full Auxiliary)หมายถึงการมองภาพให้ตั้งฉากกับผิวเอียงเห็นส่วนไหนของชิ้นงานต้อง
เขียนภาพทั้งหมด
- การเขียนภาพช่วยแบบครึ่ง(Half Auxiliary)หมายถึงการเขียนบริเวณพื้นผิวที่เอียงครึ่งเดียวเพื่อประหยัดเวลา เช่นงาน
หน้าแปลนของท่อ
- การเขียนภาพช่วยเฉพาะส่วน(Partial Auxiliary)หมายถึงการเขียนภาพเฉพาะส่วนที่เป็นผิวเอียงเท่านั้น
รูปที่ 2.13 แสดงการเขียนภาพไอโซเมตริกและภาพฉายของผิวหน้าที่ไม่ใช่ขนาดจริง
การเขียนภาพช่วยแบบเต็ม(Full Auxiliary)หมายถึงการมองภาพให้ตั้งฉากกับผิวเอียงเห็นส่วนไหนของชิ้นงานต้อง
เขียนภาพทั้งหมดส่วนการเขียนภาพช่วยเฉพาะส่วน(Partial Auxiliary)หมายถึงการเขียนภาพเฉพาะส่วนที่เป็นผิวเอียงเท่านั้น
และจะแสดงขนาดผิวหน้าจริงดังรูป
รูปที่ 2.14 แสดงการเขียนภาพช่วยแบบเต็มและแบบเฉพาะส่วนด้วยระบบ A-TYPE
การเขียนภาพช่วยสามารถเขียนได้หลายวิธีเช่นแบบเต็ม แบบครึ่ง และแบบเฉพาะส่วนเพื่อความรวดเร็วและ
ประหยัดเวลาในการเขียนในกรณีที่ชิ้นงานไม่ซับซ้อนมากสามารถเขียนภาพช่วยแบครึ่งและแบบเฉพาะส่วนได้ดังภาพ
รูปที่ 2.14 แสดงการเขียนภาพช่วยแบบเต็ม แบบครึ่งและแบบเฉพาะส่วนด้วยระบบ A-TYPE
การเขียนภาพช่วยสามารถเขียนได้หลายวิธีขึ้นอยู่กับชิ้นงานมีความเอียงจากภาพด้านใดต้องเขียนภาพช่วยออกจาก
ภาพด้านนั้นและขึ้นอยู่กับลักษณะของภาพช่วยในกรณีที่ชิ้นงานมีลักษณะตั้งฉากกันและมีผิวเอียงต้องเขียนภาพช่วยจากด้าน
ที่เอียงดังภาพ
ภาพช่วยแบบครึ่ง
ภาพช่วยแบบเฉพาะส่วน
รูปที่ 2.15แสดงการเขียนภาพช่วยแบบเต็ม ด้วยระบบ A-TYPE
การฉายภาพจากด้านบนได้ความสูงจริง
การเขียนภาพช่วยจะต้องเขียนบริเวณผิวเอียงของชิ้นงานเท่านั้น ในกรณีที่ชิ้นงานมีความเอียงจากภาพด้านบนการ
ฉายภาพช่วยจะฉายออกจากภาพด้านบนซึ่งจะได้ขนาดความสูงจริงของชิ้นงานการฉายภาพออกจากผิวเอียงทางด้านข้างจะได้
ขนาดความยาวจริงของชิ้นงานดังภาพ
ภาพช่วยแบบเต็ม
รูปที่ 2.16 แสดงการฉายภาพช่วยจากด้านบนด้วยระบบ A-TYPE
การฉายภาพจากด้านข้างได้ความยาวจริง
การเขียนภาพช่วยจะต้องเขียนบริเวณผิวเอียงของชิ้นงานเท่านั้น ในกรณีที่ชิ้นงานมีความเอียงจากภาพด้านข้างการ
ฉายภาพช่วยจะฉายออกจากภาพด้านข้างซึ่งจะได้ขนาดความยาวจริงดังภาพ
รูปที่ 2.17 แสดงการฉายภาพช่วยจากด้านข้างด้วยระบบ A-TYPE
การฉายภาพจากภาพด้านหน้าได้ความหนาจริง
การเขียนภาพช่วยที่ชิ้นงานมีพื้นผิวเอียงจากภาพด้านหน้าการฉายภาพช่วยจะทาการฉายจากภาพด้านหน้าซึ่งจะได้
ขนาดความกว้างหรือความหนาจริงของชิ้นงานในการถ่ายขนาดชิ้นงานจะต้องยึดเส้นอ้างอิงเป็นหลัก ดังภาพ
รูปที่ 2.18 แสดงการฉายภาพทางด้านหน้าและการถ่ายขนาดจากเส้นอ้างอิงด้วยระบบ A-TYPE
การฉายภาพจากภาพด้านหน้าได้ความหนาจริง
การเขียนภาพช่วยที่ชิ้นงานมีพื้นผิวเอียงจากภาพด้านหน้าการฉายภาพช่วยจะทาการฉายจากภาพด้านหน้าซึ่งจะได้
ขนาดความกว้างหรือความหนาจริงของชิ้นงาน ดังภาพ
รูปที่ 2.19 แสดงการฉายภาพทางด้านหน้าด้วยระบบ A-TYPE
การเขียนภาพช่วยของชิ้นงานกลมตัดปากเฉียง มีวิธีการเขียนดังนี้
- เขียนภาพฉาย
- แบ่งส่วนวงกลมออกเป็นส่วนๆเท่าๆกัน
- สร้างกรอบสี่เหลี่ยมยาวเท่ากับผิวเอียงกว้างเท่ากับขนาดของวงกลม
- ฉายเส้นจากวงกลมภาพด้านบนลงมาที่ภาพด้านหน้าบริเวณผิวเอียงแล้วฉายให้ตั้งฉากกับผิวเอียงไปยังกรอบสี่เหลี่ยม
- ถ่ายขนาดจากความกว้างของชิ้นงานจากภาพด้านบนลงในกรอบสี่เหลี่ยม
- เขียนส่วนโค้งเป็นรูปวงรี ดังภาพ
รูปที่ 2.20 แสดงการเขียนภาพช่วยแบบกลม ด้วยระบบ A-TYPE
การเขียนภาพช่วยสามารถเขียนได้หลายวิธีขึ้นอยู่กับชิ้นงานมีความเอียงจากภาพด้านใดต้องเขียนภาพช่วยออกจาก
ภาพด้านนั้นและขึ้นอยู่กับลักษณะของภาพช่วยในกรณีที่ชิ้นงานมีลักษณะเป็นมุมฉากกันและมีผิวเอียงต้องเขียนภาพช่วยจาก
ด้านที่เอียงดังภาพ
รูปที่ 2.21 แสดงการเขียนภาพช่วยแบบมุมฉากด้วยระบบ A-TYPE
การเขียนภาพช่วยงานรูปโค้ง(curved auxiliary)
1. สร้างกรอบสี่เหลี่ยมมีความกว้างเท่ากับภาพด้านบนมีความยาวเท่ากับผิวเอียง
2. สร้างส่วนที่เกินส่วนโค้งลงในกรอบสี่เหลี่ยม
3. แบ่งส่วนโค้งฉายเส้นหาภาพด้านหน้าและกรอบออกเป็น 7 ส่วนเท่าๆกัน
4. ถ่ายขนาดจากภาพด้านข้างทั้ง 7 เส้นใส่ในกรอบสี่เหลี่ยม
5. ลากเส้นตามจุดตัดจะได้ขนาดภาพช่วยจริง ดังภาพ
รูปที่ 2.22 การเขียนภาพช่วยงานรูปโค้ง (curved auxiliary)ด้วยระบบ A-TYPE
การเขียนภาพช่วยแบบสองครั้ง(secondary aux.)
การเขียนภาพช่วยโดยวิธีนี้จะเขียนสองครั้งเพราะถ้าเขียนครั้งเดียวจะให้รายละเอียด
ไม่ชัดเจนมีหลักการเขียนดังนี้
- เขียนภาพฉายของภาพด้านหน้า
- ฉายภาพจากภาพด้านหน้าออกไปทางด้านข้าง
- เขียนภาพฉายครั้งที่หนึ่งจะได้ภาพด้านข้างแสดงความยาวจริงของผิวเอียง
- จากภาพด้านข้างฉายภาพออกไปให้ตั้งฉากกับเส้นอ้างอิง
- เขียนภาพฉายครั้งที่สองจะได้ขนาดความกว้างยาวจริง
- จะได้ภาพฉายเฉพาะส่วนดังภาพ
รูปที่ 2.23 แสดงการเขียนภาพช่วยแบบสองครั้งด้วยระบบ A-TYPE
ภาพช่วยแบบเฉพาะส่วน (partial auxiliary)
การเขียนภาพช่วยโดยวิธีนี้จะเขียนเฉพาะส่วนที่เป็นผิวเอียงของผิวงานเท่านั้นมีวิธีการเขียนดังนี้
รูป A มองภาพแต่ละด้านโดยใช้หลักการ Glass Box
รูป B เขียนภาพฉายทั้งสามด้าน
รูป C ฉายภาพช่วยออกจากภาพด้านข้างบริเวณที่เป็นผิวเอียงให้เส้นฉายตั้งฉากกับผิวเอียงถ่ายขนาดจะได้ขนาดความ
กว้างยาวจริงของภาพช่วยแบบเฉพาะส่วน ดังรูป
รูปที่ 2.24แสดงการเขียนภาพช่วยแบบเฉพาะส่วนด้วยระบบ A-TYPE
การเขียนภาพช่วยสองครั้ง(secondary auxiliary)มีวิธีการเขียนดังนี้
- เขียนภาพฉายของภาพด้านหน้าและด้านบน
- เขียนเส้นอ้างอิง V-W
- จากภาพด้านบนฉายเส้นไปด้านข้างให้ตั้งฉากกับเส้นอ้างอิง V-W
- เขียนภาพช่วยครั้งที่หนึ่ง
- จากภาพช่วยรูปที่หนึ่งฉายเส้นฉายลงมาด้านล่างให้ตั้งฉากกับเส้นอ้างอิง V-W
- เขียนภาพช่วยครั้งที่สองถ่ายขนาดจะได้ภาพช่วย A B F ดังรูป
รูปที่ 2.25 การเขียนภาพช่วยสองครั้ง(secondary auxiliary)ด้วยระบบ A-TYPE

More Related Content

What's hot

คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpPiyaboon Nilkaew
 
งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2Pannathat Champakul
 
แบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อแบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อMuta Oo
 
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ศุภชัย พุทธรักษ์
 
งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1Pannathat Champakul
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลีWijitta DevilTeacher
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบPeerapong Veluwanaruk
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสงพัน พัน
 
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรมPiyaboon Nilkaew
 
เรื่องเวกเตอร์คำนวณ
เรื่องเวกเตอร์คำนวณเรื่องเวกเตอร์คำนวณ
เรื่องเวกเตอร์คำนวณพัน พัน
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิกแบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
 
2 3
2 32 3
2 3
 
คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUp
 
งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2
 
Auto cad all
Auto cad allAuto cad all
Auto cad all
 
แบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อแบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อ
 
1 6
1 61 6
1 6
 
5 1
5 15 1
5 1
 
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
2 3
2 32 3
2 3
 
งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
Light[1]
Light[1]Light[1]
Light[1]
 
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
 
เรื่องเวกเตอร์คำนวณ
เรื่องเวกเตอร์คำนวณเรื่องเวกเตอร์คำนวณ
เรื่องเวกเตอร์คำนวณ
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

2 2

  • 1. 2.2 ภาพช่วย (auxiliary view) คาจากัดความ ในการเขียนแบบนั้นจะต้องให้รายละเอียดที่ชัดเจนและมีขนาดเป็นจริงแต่มีงานบางประเภทที่มีลักษณะ ผิวเอียง (inclines Surface)ซึ่งมีผลทาให้ขนาดและรูปร่างของชิ้นงานเปลี่ยนแปลงไปจากความเป็นจริง จึงต้องเขียนภาพช่วยโดยการ หมุนภาพที่เอียง ทามุม 90 ให้ตั้งฉากกับระดับสายตา รูป A เป็นการมองภาพแต่ละด้านโดยใช้หลักการ Glass Box คือใช้กล่องใสครอบชิ้นงานแล้วมองภาพแต่ละด้าน รูป B เป็นการฉายภาพช่วยออกจากภาพด้านบนและด้านข้างซึ่งจะได้ความสูงจริงและความยาวจริงของชิ้นงาน รูปที่ 2.10 แสดงการเขียนภาพช่วยด้วยระบบ A-TYPE 2.2.1 ชนิดของภาพช่วย ขึ้นอยู่กับลักษณะการฉายภาพ มี 3 ชนิด คือ 1. ฉายจากด้านบน (top view) แสดงส่วนสูงจริงคือชิ้นงานจะมีผิวเอียงทางด้านบน 2. ฉายจากด้านหน้า(front view) แสดงความหนาจริงคือชิ้นงานจะมีผิวเอียงทางด้านหน้า 3. ฉายจากด้านข้าง (side view) แสดงความยาวจริงคือชิ้นงานจะมีผิวเอียงทางด้านข้าง
  • 2. รูปร่างลักษณะภาพช่วย มี 4 แบบ คือ 1. งานตั้งฉาก (perpendicular) หมายถึงชิ้นงานมีลักษณะตั้งฉากกันและมีผิวเอียง 2. งานกลม (round) หมายถึงชิ้นงานที่มีลักษณะเป็นทรงกระบอก เช่น ท่อตัดปากเฉียง 3. งานเป็นมุม (angular) หมายถึงงานที่มีลักษณะเป็นมุมฉากแต่มีพื้นผิวที่เอียง 4. งานโค้ง (curved) หมายถึงชิ้นงานที่มีลักษณะโค้งและมีผิวเอียง ขั้นตอนการเขียนภาพ มี 4 ขั้นตอน 1. เขียนภาพฉาย (orthographic) ทั้ง 3 ด้าน 2. ฉายเส้นตั้งฉากกับพื้นผิวที่เอียง 3. ลากเส้นอ้างอิง (reference line) ขนานกับผิวเอียงและตั้งฉากกับเส้นฉายหรือสร้างกรอบให้มีขนาดความกว้างเท่า งานจริงและมีความยาวเท่ากับผิวเอียง 4. ถ่ายขนาดความหนาของชิ้นงานจะได้ภาพช่วยที่สมบูรณ์ รูปที่ 2.11 แสดงขั้นตอนการเขียนภาพช่วยด้วยระบบ A-TYPE
  • 3. ขั้นตอนการเขียนภาพช่วย - เขียนภาพฉาย(orthographic) - ฉายเส้นตั้งฉากกับพื้นผิวที่เอียง - ลากเส้นอ้างอิง(reference line)ขนานกับผิวเอียง - ถ่ายขนาดความหนาของชิ้นงาน จากรูปเป็นขั้นตอนการเขียนภาพช่วยซึ่งมีอยู่ 4 ขั้นตอนและเป็นการเขียนภาพช่วยออกจากภาพด้านหน้าจะแสดงความหนา จริงของชิ้นงาน รูปที่ 2.12 แสดงขั้นตอนการเขียนภาพช่วยด้วยระบบ A-TYPE การเขียนภาพช่วยสามารถเขียนได้3 วิธี - การเขียนภาพช่วยแบบเต็ม(Full Auxiliary)หมายถึงการมองภาพให้ตั้งฉากกับผิวเอียงเห็นส่วนไหนของชิ้นงานต้อง เขียนภาพทั้งหมด - การเขียนภาพช่วยแบบครึ่ง(Half Auxiliary)หมายถึงการเขียนบริเวณพื้นผิวที่เอียงครึ่งเดียวเพื่อประหยัดเวลา เช่นงาน หน้าแปลนของท่อ - การเขียนภาพช่วยเฉพาะส่วน(Partial Auxiliary)หมายถึงการเขียนภาพเฉพาะส่วนที่เป็นผิวเอียงเท่านั้น รูปที่ 2.13 แสดงการเขียนภาพไอโซเมตริกและภาพฉายของผิวหน้าที่ไม่ใช่ขนาดจริง
  • 4. การเขียนภาพช่วยแบบเต็ม(Full Auxiliary)หมายถึงการมองภาพให้ตั้งฉากกับผิวเอียงเห็นส่วนไหนของชิ้นงานต้อง เขียนภาพทั้งหมดส่วนการเขียนภาพช่วยเฉพาะส่วน(Partial Auxiliary)หมายถึงการเขียนภาพเฉพาะส่วนที่เป็นผิวเอียงเท่านั้น และจะแสดงขนาดผิวหน้าจริงดังรูป รูปที่ 2.14 แสดงการเขียนภาพช่วยแบบเต็มและแบบเฉพาะส่วนด้วยระบบ A-TYPE การเขียนภาพช่วยสามารถเขียนได้หลายวิธีเช่นแบบเต็ม แบบครึ่ง และแบบเฉพาะส่วนเพื่อความรวดเร็วและ ประหยัดเวลาในการเขียนในกรณีที่ชิ้นงานไม่ซับซ้อนมากสามารถเขียนภาพช่วยแบครึ่งและแบบเฉพาะส่วนได้ดังภาพ
  • 5. รูปที่ 2.14 แสดงการเขียนภาพช่วยแบบเต็ม แบบครึ่งและแบบเฉพาะส่วนด้วยระบบ A-TYPE การเขียนภาพช่วยสามารถเขียนได้หลายวิธีขึ้นอยู่กับชิ้นงานมีความเอียงจากภาพด้านใดต้องเขียนภาพช่วยออกจาก ภาพด้านนั้นและขึ้นอยู่กับลักษณะของภาพช่วยในกรณีที่ชิ้นงานมีลักษณะตั้งฉากกันและมีผิวเอียงต้องเขียนภาพช่วยจากด้าน ที่เอียงดังภาพ ภาพช่วยแบบครึ่ง ภาพช่วยแบบเฉพาะส่วน
  • 6. รูปที่ 2.15แสดงการเขียนภาพช่วยแบบเต็ม ด้วยระบบ A-TYPE การฉายภาพจากด้านบนได้ความสูงจริง การเขียนภาพช่วยจะต้องเขียนบริเวณผิวเอียงของชิ้นงานเท่านั้น ในกรณีที่ชิ้นงานมีความเอียงจากภาพด้านบนการ ฉายภาพช่วยจะฉายออกจากภาพด้านบนซึ่งจะได้ขนาดความสูงจริงของชิ้นงานการฉายภาพออกจากผิวเอียงทางด้านข้างจะได้ ขนาดความยาวจริงของชิ้นงานดังภาพ ภาพช่วยแบบเต็ม
  • 7. รูปที่ 2.16 แสดงการฉายภาพช่วยจากด้านบนด้วยระบบ A-TYPE การฉายภาพจากด้านข้างได้ความยาวจริง การเขียนภาพช่วยจะต้องเขียนบริเวณผิวเอียงของชิ้นงานเท่านั้น ในกรณีที่ชิ้นงานมีความเอียงจากภาพด้านข้างการ ฉายภาพช่วยจะฉายออกจากภาพด้านข้างซึ่งจะได้ขนาดความยาวจริงดังภาพ รูปที่ 2.17 แสดงการฉายภาพช่วยจากด้านข้างด้วยระบบ A-TYPE
  • 8. การฉายภาพจากภาพด้านหน้าได้ความหนาจริง การเขียนภาพช่วยที่ชิ้นงานมีพื้นผิวเอียงจากภาพด้านหน้าการฉายภาพช่วยจะทาการฉายจากภาพด้านหน้าซึ่งจะได้ ขนาดความกว้างหรือความหนาจริงของชิ้นงานในการถ่ายขนาดชิ้นงานจะต้องยึดเส้นอ้างอิงเป็นหลัก ดังภาพ รูปที่ 2.18 แสดงการฉายภาพทางด้านหน้าและการถ่ายขนาดจากเส้นอ้างอิงด้วยระบบ A-TYPE การฉายภาพจากภาพด้านหน้าได้ความหนาจริง การเขียนภาพช่วยที่ชิ้นงานมีพื้นผิวเอียงจากภาพด้านหน้าการฉายภาพช่วยจะทาการฉายจากภาพด้านหน้าซึ่งจะได้ ขนาดความกว้างหรือความหนาจริงของชิ้นงาน ดังภาพ
  • 9. รูปที่ 2.19 แสดงการฉายภาพทางด้านหน้าด้วยระบบ A-TYPE การเขียนภาพช่วยของชิ้นงานกลมตัดปากเฉียง มีวิธีการเขียนดังนี้ - เขียนภาพฉาย - แบ่งส่วนวงกลมออกเป็นส่วนๆเท่าๆกัน - สร้างกรอบสี่เหลี่ยมยาวเท่ากับผิวเอียงกว้างเท่ากับขนาดของวงกลม - ฉายเส้นจากวงกลมภาพด้านบนลงมาที่ภาพด้านหน้าบริเวณผิวเอียงแล้วฉายให้ตั้งฉากกับผิวเอียงไปยังกรอบสี่เหลี่ยม - ถ่ายขนาดจากความกว้างของชิ้นงานจากภาพด้านบนลงในกรอบสี่เหลี่ยม - เขียนส่วนโค้งเป็นรูปวงรี ดังภาพ รูปที่ 2.20 แสดงการเขียนภาพช่วยแบบกลม ด้วยระบบ A-TYPE การเขียนภาพช่วยสามารถเขียนได้หลายวิธีขึ้นอยู่กับชิ้นงานมีความเอียงจากภาพด้านใดต้องเขียนภาพช่วยออกจาก ภาพด้านนั้นและขึ้นอยู่กับลักษณะของภาพช่วยในกรณีที่ชิ้นงานมีลักษณะเป็นมุมฉากกันและมีผิวเอียงต้องเขียนภาพช่วยจาก ด้านที่เอียงดังภาพ
  • 10. รูปที่ 2.21 แสดงการเขียนภาพช่วยแบบมุมฉากด้วยระบบ A-TYPE การเขียนภาพช่วยงานรูปโค้ง(curved auxiliary) 1. สร้างกรอบสี่เหลี่ยมมีความกว้างเท่ากับภาพด้านบนมีความยาวเท่ากับผิวเอียง 2. สร้างส่วนที่เกินส่วนโค้งลงในกรอบสี่เหลี่ยม 3. แบ่งส่วนโค้งฉายเส้นหาภาพด้านหน้าและกรอบออกเป็น 7 ส่วนเท่าๆกัน 4. ถ่ายขนาดจากภาพด้านข้างทั้ง 7 เส้นใส่ในกรอบสี่เหลี่ยม 5. ลากเส้นตามจุดตัดจะได้ขนาดภาพช่วยจริง ดังภาพ
  • 11. รูปที่ 2.22 การเขียนภาพช่วยงานรูปโค้ง (curved auxiliary)ด้วยระบบ A-TYPE การเขียนภาพช่วยแบบสองครั้ง(secondary aux.) การเขียนภาพช่วยโดยวิธีนี้จะเขียนสองครั้งเพราะถ้าเขียนครั้งเดียวจะให้รายละเอียด ไม่ชัดเจนมีหลักการเขียนดังนี้ - เขียนภาพฉายของภาพด้านหน้า - ฉายภาพจากภาพด้านหน้าออกไปทางด้านข้าง - เขียนภาพฉายครั้งที่หนึ่งจะได้ภาพด้านข้างแสดงความยาวจริงของผิวเอียง - จากภาพด้านข้างฉายภาพออกไปให้ตั้งฉากกับเส้นอ้างอิง - เขียนภาพฉายครั้งที่สองจะได้ขนาดความกว้างยาวจริง - จะได้ภาพฉายเฉพาะส่วนดังภาพ
  • 12. รูปที่ 2.23 แสดงการเขียนภาพช่วยแบบสองครั้งด้วยระบบ A-TYPE ภาพช่วยแบบเฉพาะส่วน (partial auxiliary) การเขียนภาพช่วยโดยวิธีนี้จะเขียนเฉพาะส่วนที่เป็นผิวเอียงของผิวงานเท่านั้นมีวิธีการเขียนดังนี้ รูป A มองภาพแต่ละด้านโดยใช้หลักการ Glass Box รูป B เขียนภาพฉายทั้งสามด้าน รูป C ฉายภาพช่วยออกจากภาพด้านข้างบริเวณที่เป็นผิวเอียงให้เส้นฉายตั้งฉากกับผิวเอียงถ่ายขนาดจะได้ขนาดความ กว้างยาวจริงของภาพช่วยแบบเฉพาะส่วน ดังรูป
  • 13. รูปที่ 2.24แสดงการเขียนภาพช่วยแบบเฉพาะส่วนด้วยระบบ A-TYPE การเขียนภาพช่วยสองครั้ง(secondary auxiliary)มีวิธีการเขียนดังนี้ - เขียนภาพฉายของภาพด้านหน้าและด้านบน - เขียนเส้นอ้างอิง V-W - จากภาพด้านบนฉายเส้นไปด้านข้างให้ตั้งฉากกับเส้นอ้างอิง V-W - เขียนภาพช่วยครั้งที่หนึ่ง - จากภาพช่วยรูปที่หนึ่งฉายเส้นฉายลงมาด้านล่างให้ตั้งฉากกับเส้นอ้างอิง V-W - เขียนภาพช่วยครั้งที่สองถ่ายขนาดจะได้ภาพช่วย A B F ดังรูป