SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141   ชุดที่ 2 การตอบสนองของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง




                        ศูนย์ การเรียนที่ 1
              การรับรู้ และตอบสนองของไฮดรา

                                    สวัสดี เพือน ๆ เราจะพาไปศึกษาว่าไฮดรา
                                              ่
                                       มีการรับรู้ และตอบสนองได้ อย่ างไร
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141   ชุดที่ 2 การตอบสนองของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง   6




                                           บัตรคาสั่งศูนย์ ที่ 1

                                 การรับรู้และตอบสนองของไฮดรา

            โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้ เข้ าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้ วยความตั้งใจ

            1.   หัวหน้ ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้ สมาชิ ก ยกเว้ นบัตรเฉลย
            2.   หัวหน้ ากลุ่มให้ สมาชิ กอ่ านบัตรคาสั่ ง พร้ อมกับปฏิบัตตามคาสั่ ง
                                                                         ิ
            3.   สมาชิกศึกษาบัตรเนือหา ใช้ เวลา 15 นาที
                                      ้
            4.   สมาชิกอ่านบัตรคาถาม แล้วตอบคาถามลงในแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม      ิ
            5.   หัวหน้ าอ่านบัตรเฉลย
            6.   เวลาทากิจกรรม ประมาณ 20 นาที เมื่อปฏิบัติกจกรรมเรียบร้ อยแล้ว
                                                                    ิ
                 ขอให้ ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ ในซองให้ เรี ยบร้ อยและถูกต้ อง
                 ยกเว้นแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141   ชุดที่ 2 การตอบสนองของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง   7




                                          บัตรเนือหาศูนย์ ที่ 1
                                                 ้

                                 การรับรู้และตอบสนองของไฮดรา


                    ไฮดรามีรูปร่ างอย่ างไร สามารถรับรู้ และตอบสนอง
                    ต่ อสิ่ งแวดล้อมได้ อย่ างไร




                                     รู ปร่ างลักษณะของไฮดราของไฮดรา
             ทีมา : http://www.zo.utexas.edu/faculty/sjasper/images/41.11.gif 474 x 600 - 52k
               ่
                     ( 27 มีนาคม 2550 )

      จุดประสงค์ การเรียนรู้
              1. บอกรู ปร่ างลักษณะของไฮดราได้
              2. อธิบายวิธีการรับรู้ และตอบสนองต่ อสิ่ งเร้ าของไฮดราได้
              3. อธิบายโครงสร้ างทีใช้ ในการรับรู้ และตอบสนองของไฮดราได้
                                      ่
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141   ชุดที่ 2 การตอบสนองของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง     8



                                   ลักษณะทั่วไปของไฮดรา


          ไฮดราเป็ นสั ตว์จาพวกซีเลนเตอเรต เป็ นสั ตว์ พวกแรกที่เริ่มมีเซลล์พเิ ศษ ทาหน้ าทีเ่ ป็ น
 เซลล์ประสาท แต่ ยงไม่ มีปมประสาท โดยเซลล์ประสาทของไฮดราจะส่ งแขนงมาเชื่อมกันเป็ นตา
                     ั
 ข่ ายคล้ายร่ างแห จึงเรียกว่า ร่ างแหประสาท ( nerve net ) แผ่กระจายไปทัวร่ างกาย
                                                                               ่




                              ภาพแสดงรู ปร่ างลักษณะของไฮดรา
          ทีมา : http://www.zo.utexas.edu/faculty/sjasper/images/41.11.gif 474 x 600 - 52k
            ่
                 (27 มีนาคม 2550)
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141   ชุดที่ 2 การตอบสนองของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง   9




                             การรับรู้และตอบสนองของไฮดรา

          เมื่อไฮดราถูกกระตุ้นทีจุดใดจุดหนึ่ง กระแสประสาทจะแผ่ ออกทุกทิศทาง ทาให้ ไฮดรา
                                  ่
 เกิดการรับรู้ และตอบสนอง เช่ น เมื่อใช้ เข็มแทงทีปลายเทนตาเคิล (tentacle)
                                                  ่
 ไฮดราจะหดตัวทุกส่ วนของร่ างกายลง เป็ นการแสดงว่ า กระแสประสาทเคลือนทีจากจุดกระตุ้น
                                                                           ่ ่
 ไปยังส่ วนต่ าง ๆ ของร่ างกายด้ วย




                                     ลักษณะร่ างแหประสาทของไฮดรา
                 ทีมา : หนังสื อเรียนชีววิทยา เล่ม 3 สสวท. 2547
                   ่

             เซลล์ รับสั มผัสของไฮดราแผ่ กระจายอยู่ใต้ เนือเยื่อชั้ นนอก ดังภาพข้ างบน
                                                          ้
 นอกจากพบร่ างแหประสาทในไฮดราแล้ว ยังพบร่ างแหประสาทในอวัยวะบางส่ วนของสั ตว์
 มีกระดูกสั นหลังด้ วย เช่ นที่ ผนังลาไส้ ร่ างแหประสาทจะควบคุมกระบวนการเพอริลทัลซีส
 ของลาไส้ ทาให้ เกิดการบีบไล่ อาหารผ่านไปได้
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141   ชุดที่ 2 การตอบสนองของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 10



                                    บัตรคาถามศูนย์ ที่ 1
                           การรับรู้และตอบสนองของไฮดรา
คาชี้แจง ให้ นักเรียนเลือกคาตอบทีถูกต้ องทีสุดเพียงข้ อเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X
                                 ่         ่
             ลงในกระดาษคาตอบ
        1.   ไฮดรา คือข้ อใด
                   ก. สั ตว์เซลล์เดียว
                   ข. สั ตว์จาพวกซีเลนเตอเรต
                   ค. สั ตว์ เซลล์ เดียวไม่ มีกระดูกสั นหลัง
                   ง. สั ตว์ หลายเซลล์ ทีมกระดูกสั นหลัง
                                            ่ ี
        2.    โครงสร้ างทีใช้ ในการรับรู้ และตอบสนองของไฮดราคือข้ อใด
                             ่
                   ก. เทนตาเคิล
                   ข. ปมประสาท
                   ค. เซลล์ประสาท
                   ง. ร่ างแหประสาท
        3.    ลักษณะร่ างแหประสาทของไฮดรา พบได้ ในบริเวณใดของสั ตว์ มีกระดูกสั นหลัง
                   ก. บริเวณใกล้สมอง
                   ข. บริเวณผนังลาไส้
                   ค. ไม่ พบ ในสั ตว์ มีกระดูกสั นหลังเพราะไฮดราเป็ นสั ตว์ ช้ ั นต่ามาก
                   ง. ไม่ พบ เพราะสั ตว์ มีกระดูกสั นหลังระบบประสาทพัฒนาไปมากแล้ ว
        4.    ข้ อใดต่ อไปนีไม่ ใช่ ลกษณะของไฮดรา
                               ้     ั
                   ก. ร่ างแหประสาทมีการเชื่อมโยง
                   ข. มีทศทางของกระแสประสาทแน่ นอน
                           ิ
                   ค. ไม่ มีทศทางการเคลือนที่ของกระแสประสาท
                                 ิ            ่
                   ง. สามารถรับรู้ และตอบสนองต่ อสิ่ งเร้ าได้ ทวทุกส่ วนของร่ างกาย
                                                                ่ั
        5.    กระแสประสาท สามารถเคลื่อนทีไปยังทุกส่ วนของไฮดรา เพราะอะไร
                                                  ่
                   ก. ไฮดรามีรูปร่ างเพรียว
                   ข. ไฮดรามีเทนตาเคิล
                   ค. ไฮดรามีร่างแหประสาท
                   ง. ไฮดรามีอวัยวะรับสั มผัสมาก
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141        ชุดที่ 2 การตอบสนองของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 11




                                       บัตรเฉลยศูนย์ที่ 1

                              การรับรู้และตอบสนองของไฮดรา


                                                1.   ข
                                                2.   ง
                                                3.   ข
                                                4.   ข
                                                5.   ค



                      เก่งมากครับ ศึกษาศู นย์ การเรียนอืนต่ อไป
                                                        ่
                      หมุนเวียนให้ ครบ 4 ศู นย์การเรียนนะครับ

More Related Content

Viewers also liked

ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 9ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 9Chok Ke
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10Chok Ke
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 9ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 9Chok Ke
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10Chok Ke
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 9ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 9Chok Ke
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10Chok Ke
 
ศูนย์สำรอง เกมค้นหาคำศัพท์ ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง เกมค้นหาคำศัพท์ ชุดการสอนที่ 9ศูนย์สำรอง เกมค้นหาคำศัพท์ ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง เกมค้นหาคำศัพท์ ชุดการสอนที่ 9Chok Ke
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 9ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 9Chok Ke
 
ศูนย์สำรองเกมจัดกลุ่มดาว ชุดการสอนที่ 2
ศูนย์สำรองเกมจัดกลุ่มดาว ชุดการสอนที่ 2ศูนย์สำรองเกมจัดกลุ่มดาว ชุดการสอนที่ 2
ศูนย์สำรองเกมจัดกลุ่มดาว ชุดการสอนที่ 2ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10Chok Ke
 

Viewers also liked (20)

ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 9ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 9
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 1
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 1ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 1
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 1
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 1
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 1ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 1
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 1
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 9ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 9
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
 
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพ ชุดการสอนที่ 1
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพ ชุดการสอนที่ 1ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพ ชุดการสอนที่ 1
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพ ชุดการสอนที่ 1
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 9ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 9
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 1.1
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 1.1ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 1.1
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 1.1
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
 
ศูนย์สำรอง เกมค้นหาคำศัพท์ ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง เกมค้นหาคำศัพท์ ชุดการสอนที่ 9ศูนย์สำรอง เกมค้นหาคำศัพท์ ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง เกมค้นหาคำศัพท์ ชุดการสอนที่ 9
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 9ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 9
 
ศูนย์สำรองเกมจัดกลุ่มดาว ชุดการสอนที่ 2
ศูนย์สำรองเกมจัดกลุ่มดาว ชุดการสอนที่ 2ศูนย์สำรองเกมจัดกลุ่มดาว ชุดการสอนที่ 2
ศูนย์สำรองเกมจัดกลุ่มดาว ชุดการสอนที่ 2
 
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
 

Similar to ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 2

ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1juriyaporn
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 

Similar to ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 2 (20)

ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
Astroplan11
Astroplan11Astroplan11
Astroplan11
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 

More from ชโลธร กีรติศักดิ์กุล

ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 

More from ชโลธร กีรติศักดิ์กุล (20)

ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7
 
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 

ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 2

  • 1. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 2 การตอบสนองของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ศูนย์ การเรียนที่ 1 การรับรู้ และตอบสนองของไฮดรา สวัสดี เพือน ๆ เราจะพาไปศึกษาว่าไฮดรา ่ มีการรับรู้ และตอบสนองได้ อย่ างไร
  • 2. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 2 การตอบสนองของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 6 บัตรคาสั่งศูนย์ ที่ 1 การรับรู้และตอบสนองของไฮดรา โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้ เข้ าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้ วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้ สมาชิ ก ยกเว้ นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ ากลุ่มให้ สมาชิ กอ่ านบัตรคาสั่ ง พร้ อมกับปฏิบัตตามคาสั่ ง ิ 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนือหา ใช้ เวลา 15 นาที ้ 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถาม แล้วตอบคาถามลงในแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ 5. หัวหน้ าอ่านบัตรเฉลย 6. เวลาทากิจกรรม ประมาณ 20 นาที เมื่อปฏิบัติกจกรรมเรียบร้ อยแล้ว ิ ขอให้ ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ ในซองให้ เรี ยบร้ อยและถูกต้ อง ยกเว้นแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ
  • 3. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 2 การตอบสนองของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 7 บัตรเนือหาศูนย์ ที่ 1 ้ การรับรู้และตอบสนองของไฮดรา ไฮดรามีรูปร่ างอย่ างไร สามารถรับรู้ และตอบสนอง ต่ อสิ่ งแวดล้อมได้ อย่ างไร รู ปร่ างลักษณะของไฮดราของไฮดรา ทีมา : http://www.zo.utexas.edu/faculty/sjasper/images/41.11.gif 474 x 600 - 52k ่ ( 27 มีนาคม 2550 ) จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1. บอกรู ปร่ างลักษณะของไฮดราได้ 2. อธิบายวิธีการรับรู้ และตอบสนองต่ อสิ่ งเร้ าของไฮดราได้ 3. อธิบายโครงสร้ างทีใช้ ในการรับรู้ และตอบสนองของไฮดราได้ ่
  • 4. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 2 การตอบสนองของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 8 ลักษณะทั่วไปของไฮดรา ไฮดราเป็ นสั ตว์จาพวกซีเลนเตอเรต เป็ นสั ตว์ พวกแรกที่เริ่มมีเซลล์พเิ ศษ ทาหน้ าทีเ่ ป็ น เซลล์ประสาท แต่ ยงไม่ มีปมประสาท โดยเซลล์ประสาทของไฮดราจะส่ งแขนงมาเชื่อมกันเป็ นตา ั ข่ ายคล้ายร่ างแห จึงเรียกว่า ร่ างแหประสาท ( nerve net ) แผ่กระจายไปทัวร่ างกาย ่ ภาพแสดงรู ปร่ างลักษณะของไฮดรา ทีมา : http://www.zo.utexas.edu/faculty/sjasper/images/41.11.gif 474 x 600 - 52k ่ (27 มีนาคม 2550)
  • 5. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 2 การตอบสนองของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 9 การรับรู้และตอบสนองของไฮดรา เมื่อไฮดราถูกกระตุ้นทีจุดใดจุดหนึ่ง กระแสประสาทจะแผ่ ออกทุกทิศทาง ทาให้ ไฮดรา ่ เกิดการรับรู้ และตอบสนอง เช่ น เมื่อใช้ เข็มแทงทีปลายเทนตาเคิล (tentacle) ่ ไฮดราจะหดตัวทุกส่ วนของร่ างกายลง เป็ นการแสดงว่ า กระแสประสาทเคลือนทีจากจุดกระตุ้น ่ ่ ไปยังส่ วนต่ าง ๆ ของร่ างกายด้ วย ลักษณะร่ างแหประสาทของไฮดรา ทีมา : หนังสื อเรียนชีววิทยา เล่ม 3 สสวท. 2547 ่ เซลล์ รับสั มผัสของไฮดราแผ่ กระจายอยู่ใต้ เนือเยื่อชั้ นนอก ดังภาพข้ างบน ้ นอกจากพบร่ างแหประสาทในไฮดราแล้ว ยังพบร่ างแหประสาทในอวัยวะบางส่ วนของสั ตว์ มีกระดูกสั นหลังด้ วย เช่ นที่ ผนังลาไส้ ร่ างแหประสาทจะควบคุมกระบวนการเพอริลทัลซีส ของลาไส้ ทาให้ เกิดการบีบไล่ อาหารผ่านไปได้
  • 6. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 2 การตอบสนองของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 10 บัตรคาถามศูนย์ ที่ 1 การรับรู้และตอบสนองของไฮดรา คาชี้แจง ให้ นักเรียนเลือกคาตอบทีถูกต้ องทีสุดเพียงข้ อเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X ่ ่ ลงในกระดาษคาตอบ 1. ไฮดรา คือข้ อใด ก. สั ตว์เซลล์เดียว ข. สั ตว์จาพวกซีเลนเตอเรต ค. สั ตว์ เซลล์ เดียวไม่ มีกระดูกสั นหลัง ง. สั ตว์ หลายเซลล์ ทีมกระดูกสั นหลัง ่ ี 2. โครงสร้ างทีใช้ ในการรับรู้ และตอบสนองของไฮดราคือข้ อใด ่ ก. เทนตาเคิล ข. ปมประสาท ค. เซลล์ประสาท ง. ร่ างแหประสาท 3. ลักษณะร่ างแหประสาทของไฮดรา พบได้ ในบริเวณใดของสั ตว์ มีกระดูกสั นหลัง ก. บริเวณใกล้สมอง ข. บริเวณผนังลาไส้ ค. ไม่ พบ ในสั ตว์ มีกระดูกสั นหลังเพราะไฮดราเป็ นสั ตว์ ช้ ั นต่ามาก ง. ไม่ พบ เพราะสั ตว์ มีกระดูกสั นหลังระบบประสาทพัฒนาไปมากแล้ ว 4. ข้ อใดต่ อไปนีไม่ ใช่ ลกษณะของไฮดรา ้ ั ก. ร่ างแหประสาทมีการเชื่อมโยง ข. มีทศทางของกระแสประสาทแน่ นอน ิ ค. ไม่ มีทศทางการเคลือนที่ของกระแสประสาท ิ ่ ง. สามารถรับรู้ และตอบสนองต่ อสิ่ งเร้ าได้ ทวทุกส่ วนของร่ างกาย ่ั 5. กระแสประสาท สามารถเคลื่อนทีไปยังทุกส่ วนของไฮดรา เพราะอะไร ่ ก. ไฮดรามีรูปร่ างเพรียว ข. ไฮดรามีเทนตาเคิล ค. ไฮดรามีร่างแหประสาท ง. ไฮดรามีอวัยวะรับสั มผัสมาก
  • 7. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 2 การตอบสนองของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 11 บัตรเฉลยศูนย์ที่ 1 การรับรู้และตอบสนองของไฮดรา 1. ข 2. ง 3. ข 4. ข 5. ค เก่งมากครับ ศึกษาศู นย์ การเรียนอืนต่ อไป ่ หมุนเวียนให้ ครบ 4 ศู นย์การเรียนนะครับ