SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                   ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท




                         ศูนย์ การเรียนที่ 2
                       ชนิดของเซลล์ ประสาท

                                        ไปศึกษากันต่ อเลยนะค่ ะ
                                ว่ าเซลล์ประสาท มีกชนิด อะไรบ้ าง
                                                     ี่
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                         ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท     15




                                        บัตรคาสั่งศูนย์ ที่ 2
                                     ชนิดของเซลล์ประสาท
           โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้ เข้ าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้ วยความตั้งใจ
           1.   หัวหน้ ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้ สมาชิ ก ยกเว้ นบัตรเฉลย
           2.   หัวหน้ ากลุ่มให้ สมาชิ กอ่ านบัตรคาสั่ ง พร้ อมกับปฏิบัตตามคาสั่ ง
                                                                        ิ
           3.   สมาชิกศึกษาบัตรเนือหา ใช้ เวลา 15 นาที
                                     ้
           4.   สมาชิ กอ่านบัตรคาถาม แล้วตอบคาถามลงในแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม      ิ
           5.   หัวหน้ าอ่านบัตรเฉลย
           6.   เวลาทากิจกรรม ประมาณ 20 นาที เมื่อปฏิบัติกจกรรมเรียบร้ อยแล้ว
                                                                   ิ
                ขอให้ ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ ในซองให้ เรี ยบร้ อยและถูกต้ อง ยกเว้ นแบบบันทึก
                การปฏิบัติกจกรรม
                             ิ
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                    ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท    16




                                        บัตรเนือหาศูนย์ ที่ 2
                                               ้
                                      ชนิดของเซลล์ประสาท

              ทราบหรือไม่ เซลล์ประสาท จาแนกได้ กชนิด และใช้ เกณฑ์ อะไรบ้ าง ในการจาแนก
                                                ี่




                                      ชนิดของเซลล์ประสาท
             ทีมา: www.ppu.ac.th/.../webmaster3_clip_image001.jpg 400 x 415 - 41k
               ่
                    (30 มีนาคม 2550)

    จุดประสงค์ การเรียนรู้
            1. บอกลักษณะของเซลล์ประสาทแต่ ละชนิดได้
            2. บอกหน้ าที่ของเซลล์ประสาทแต่ ละชนิดได้
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                     ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท   17




                           เซลล์ประสาทพิจารณาตามโครงสร้ าง
          เซลล์ประสาทขั้วเดียว (Unipolar neuron) เป็ นเซลล์ประสาททีมีเส้ นใยประสาท
                                                                   ่
 แยกออกจากตัวเซลล์เพียงเส้ นเดียว แล้วจึงแยกออกเป็ นแอกซอน (Axon) และเดนไดรส์
 (Dendrites) เซลล์ ประสาทชนิดนีเ้ ป็ นเซลล์ ประสาทรับความรู้ สึกของระบบประสาทรอบนอก
 เช่ น รับความรู้ สึกบริเวณผิวหนัง
          เซลล์ประสาทสองขั้ว (Bipolar neuron) เป็ นเซลล์ ประสาททีมีเส้ นใยประสาทแยก
                                                                 ่
 ออกจากตัวเซลล์สองเส้ น พบได้ ทเี่ รตินาของลูกตา เซลล์ ประสาทรับเสี ยงทีหู และเซลล์ สาหรับ
                                                                        ่
 รับกลินทีจมูก
       ่ ่
          เซลล์ประสาทหลายขั้ว (Multipolar neuron) เป็ นเซลล์ประสาททีมีเส้ นใย
                                                                    ่
 ประสาทแยกออกจากตัวเซลล์เป็ นจานวนมาก เป็ นเซลล์ ประสาทสั่ งการหรือเซลล์ประสาท
 นาคาสั่ ง พบได้ ทสมองและไขสั นหลัง
                  ี่




                  ภาพ ก แสดงเซลล์ประสาทขั้วเดียว (Unipolar neuron)
                  ภาพ ข แสดงเซลล์ประสาทสองขั้ว (Bipolar neuron)
                  ภาพ ค แสดงเซลล์ประสาทหลายขั้ว (Multipolar neuron)
     ทีมา: http://computer.act.ac.th/webproject5_2548/st/m51/Nervous/Neuron.htm
       ่
           (30 มีนาคม 2550)
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                       ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท    18




                                     เซลล์ประสาทพิจารณาตามหน้ าที่
              1. เซลล์ประสาทรับความรู้ สึก (Sensory neuron) เป็ นเซลล์ประสาท
     ทีอยู่ตามอวัยวะรับความรู้ สึกต่ าง ๆ เช่ น บริเวณผิวหนัง เรตินาของลูกตา เซลล์ รับกลินบริเวณ
       ่                                                                                 ่
     จมูก เซลล์ รับเสี ยงบริเวณหู และเซลล์ รับรสบริเวณลิน ทาหน้ าที่นากระแสประสาทจากหน่ วยรับ
                                                           ้
     ความรู้ สึกเข้ าสู่ ไขสั นหลังและสมอง ส่ วนมากเป็ นเซลล์ ประสาทขั้วเดียวหรือสองขั้ว
            2. เซลล์ประสาทนาคาสั่ง (motor neuron) หรือเซลล์ประสาทสั่ งการ
     (efferent neuron) เป็ นเซลล์ประสาททีนากระแสประสาทออกจากไขสั นหลังหรือสมอง
                                         ่
     ไปยังหน่ วยปฏิบัติการ ได้ แก่ กล้ามเนือหรือต่ อมต่ าง ๆ ภายในร่ างกาย เซลล์ประสาทชนิดนี้
                                           ้
     มีแอกซอนยาวกว่าเดนไดรส์ ส่ วนใหญ่เป็ นเซลล์ประสาทหลายขั้ว (Multipolar neuron)
     พบทีสมองและไขสั นหลัง
          ่
              3. เซลล์ประสาทประสานงาน (Associative neuron) เป็ นเซลล์ประสาทที่ทา
     หน้ าที่เชื่ อมต่ อระหว่ างเซลล์ ประสาทรับความรู้ สึกและเซลล์ ประสาทนาคาสั่ ง โดยรับกระแส
     ประสาทจากเซลล์ ประสาทรั บความรู้ สึกส่ งต่ อไปยังเซลล์ ประสาทนาคาสั่ ง เป็ นเซลล์ ประสาท
     ทีมีใยประสาทแอกซอนยาวกว่าเดนไดรส์ และเป็ นเซลล์ประสาทหลายขั้ว ทาหน้ าทีเ่ ป็ น
       ่
     เซลล์ ประสาทประสานงานอยู่ในสมองและไขสั นหลัง




                             ก                                         ค
                                                ข


                             ภาพ ก เซลล์ ประสาทรับความรู้ สึก
                             ภาพ ข เซลล์ประสาทประสานงาน
                             ภาพ ค เซลล์ประสาทนาคาสั่ ง
              ทีมา: www.ppu.ac.th/.../webmaster3_clip_image001.jpg 400 x 415 - 41k
                ่
                    (30 มีนาคม 2550)
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                            ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท   19




                                              บัตรคาถามศูนย์ ที่ 2
                                             ชนิดของเซลล์ประสาท


      คาชี้แจง ให้ นักเรียนทาเครื่องหมาย  และ  หน้ าข้ อความทีเ่ ห็นว่าผิดและถูกตามลาดับ


              ..........1.    เซลล์ ประสาทรับความรู้ สึกเป็ นเซลล์ ประสาทขั้วเดียว
              ..........2.    เซลล์ ประสาทหลายขั้วเป็ นเซลล์ ประสาทรับความรู้ สึก
              ..........3.    เซลล์ ประสาทสองขั้วพบทีบริเวณเรตินาของลูกตา
                                                        ่
              ..........4.    เซลล์ประสาทหลายขั้วพบทีบริเวณสมองและไขสั นหลัง
                                                          ่
              ...........5.   เซลล์ ประสาทรับความรู้ สึกพบทีบริ เวณเรตินา จมูก ลิน และผิวหนัง
                                                              ่                    ้
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                    ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท   20




                                        บัตรเฉลยศูนย์ที่ 2
                                     ชนิดของเซลล์ประสาท


                                                1. 
                                                2. 
                                                3. 
                                                4. 
                                                5. 




                         เก่งมากเลยจ๊ ะ ไปศึกษาศูนย์ การเรียนต่ อไป
                          หมุนเวียนให้ ครบ 4 ศู นย์การเรียนนะคะ

More Related Content

What's hot

ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2juriyaporn
 
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-41. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4pop Jaturong
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkruchanon2555
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทauttapornkotsuk
 
3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาทWichai Likitponrak
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 

What's hot (9)

ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
 
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-41. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
Nervous
NervousNervous
Nervous
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 

Similar to ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3

ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 

Similar to ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3 (20)

ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 

More from ชโลธร กีรติศักดิ์กุล

ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 

More from ชโลธร กีรติศักดิ์กุล (16)

ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
 
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7
 
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 

ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3

  • 1. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท ศูนย์ การเรียนที่ 2 ชนิดของเซลล์ ประสาท ไปศึกษากันต่ อเลยนะค่ ะ ว่ าเซลล์ประสาท มีกชนิด อะไรบ้ าง ี่
  • 2. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท 15 บัตรคาสั่งศูนย์ ที่ 2 ชนิดของเซลล์ประสาท โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้ เข้ าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้ วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้ สมาชิ ก ยกเว้ นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ ากลุ่มให้ สมาชิ กอ่ านบัตรคาสั่ ง พร้ อมกับปฏิบัตตามคาสั่ ง ิ 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนือหา ใช้ เวลา 15 นาที ้ 4. สมาชิ กอ่านบัตรคาถาม แล้วตอบคาถามลงในแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ 5. หัวหน้ าอ่านบัตรเฉลย 6. เวลาทากิจกรรม ประมาณ 20 นาที เมื่อปฏิบัติกจกรรมเรียบร้ อยแล้ว ิ ขอให้ ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ ในซองให้ เรี ยบร้ อยและถูกต้ อง ยกเว้ นแบบบันทึก การปฏิบัติกจกรรม ิ
  • 3. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท 16 บัตรเนือหาศูนย์ ที่ 2 ้ ชนิดของเซลล์ประสาท ทราบหรือไม่ เซลล์ประสาท จาแนกได้ กชนิด และใช้ เกณฑ์ อะไรบ้ าง ในการจาแนก ี่ ชนิดของเซลล์ประสาท ทีมา: www.ppu.ac.th/.../webmaster3_clip_image001.jpg 400 x 415 - 41k ่ (30 มีนาคม 2550) จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1. บอกลักษณะของเซลล์ประสาทแต่ ละชนิดได้ 2. บอกหน้ าที่ของเซลล์ประสาทแต่ ละชนิดได้
  • 4. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท 17 เซลล์ประสาทพิจารณาตามโครงสร้ าง เซลล์ประสาทขั้วเดียว (Unipolar neuron) เป็ นเซลล์ประสาททีมีเส้ นใยประสาท ่ แยกออกจากตัวเซลล์เพียงเส้ นเดียว แล้วจึงแยกออกเป็ นแอกซอน (Axon) และเดนไดรส์ (Dendrites) เซลล์ ประสาทชนิดนีเ้ ป็ นเซลล์ ประสาทรับความรู้ สึกของระบบประสาทรอบนอก เช่ น รับความรู้ สึกบริเวณผิวหนัง เซลล์ประสาทสองขั้ว (Bipolar neuron) เป็ นเซลล์ ประสาททีมีเส้ นใยประสาทแยก ่ ออกจากตัวเซลล์สองเส้ น พบได้ ทเี่ รตินาของลูกตา เซลล์ ประสาทรับเสี ยงทีหู และเซลล์ สาหรับ ่ รับกลินทีจมูก ่ ่ เซลล์ประสาทหลายขั้ว (Multipolar neuron) เป็ นเซลล์ประสาททีมีเส้ นใย ่ ประสาทแยกออกจากตัวเซลล์เป็ นจานวนมาก เป็ นเซลล์ ประสาทสั่ งการหรือเซลล์ประสาท นาคาสั่ ง พบได้ ทสมองและไขสั นหลัง ี่ ภาพ ก แสดงเซลล์ประสาทขั้วเดียว (Unipolar neuron) ภาพ ข แสดงเซลล์ประสาทสองขั้ว (Bipolar neuron) ภาพ ค แสดงเซลล์ประสาทหลายขั้ว (Multipolar neuron) ทีมา: http://computer.act.ac.th/webproject5_2548/st/m51/Nervous/Neuron.htm ่ (30 มีนาคม 2550)
  • 5. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท 18 เซลล์ประสาทพิจารณาตามหน้ าที่ 1. เซลล์ประสาทรับความรู้ สึก (Sensory neuron) เป็ นเซลล์ประสาท ทีอยู่ตามอวัยวะรับความรู้ สึกต่ าง ๆ เช่ น บริเวณผิวหนัง เรตินาของลูกตา เซลล์ รับกลินบริเวณ ่ ่ จมูก เซลล์ รับเสี ยงบริเวณหู และเซลล์ รับรสบริเวณลิน ทาหน้ าที่นากระแสประสาทจากหน่ วยรับ ้ ความรู้ สึกเข้ าสู่ ไขสั นหลังและสมอง ส่ วนมากเป็ นเซลล์ ประสาทขั้วเดียวหรือสองขั้ว 2. เซลล์ประสาทนาคาสั่ง (motor neuron) หรือเซลล์ประสาทสั่ งการ (efferent neuron) เป็ นเซลล์ประสาททีนากระแสประสาทออกจากไขสั นหลังหรือสมอง ่ ไปยังหน่ วยปฏิบัติการ ได้ แก่ กล้ามเนือหรือต่ อมต่ าง ๆ ภายในร่ างกาย เซลล์ประสาทชนิดนี้ ้ มีแอกซอนยาวกว่าเดนไดรส์ ส่ วนใหญ่เป็ นเซลล์ประสาทหลายขั้ว (Multipolar neuron) พบทีสมองและไขสั นหลัง ่ 3. เซลล์ประสาทประสานงาน (Associative neuron) เป็ นเซลล์ประสาทที่ทา หน้ าที่เชื่ อมต่ อระหว่ างเซลล์ ประสาทรับความรู้ สึกและเซลล์ ประสาทนาคาสั่ ง โดยรับกระแส ประสาทจากเซลล์ ประสาทรั บความรู้ สึกส่ งต่ อไปยังเซลล์ ประสาทนาคาสั่ ง เป็ นเซลล์ ประสาท ทีมีใยประสาทแอกซอนยาวกว่าเดนไดรส์ และเป็ นเซลล์ประสาทหลายขั้ว ทาหน้ าทีเ่ ป็ น ่ เซลล์ ประสาทประสานงานอยู่ในสมองและไขสั นหลัง ก ค ข ภาพ ก เซลล์ ประสาทรับความรู้ สึก ภาพ ข เซลล์ประสาทประสานงาน ภาพ ค เซลล์ประสาทนาคาสั่ ง ทีมา: www.ppu.ac.th/.../webmaster3_clip_image001.jpg 400 x 415 - 41k ่ (30 มีนาคม 2550)
  • 6. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท 19 บัตรคาถามศูนย์ ที่ 2 ชนิดของเซลล์ประสาท คาชี้แจง ให้ นักเรียนทาเครื่องหมาย  และ  หน้ าข้ อความทีเ่ ห็นว่าผิดและถูกตามลาดับ ..........1. เซลล์ ประสาทรับความรู้ สึกเป็ นเซลล์ ประสาทขั้วเดียว ..........2. เซลล์ ประสาทหลายขั้วเป็ นเซลล์ ประสาทรับความรู้ สึก ..........3. เซลล์ ประสาทสองขั้วพบทีบริเวณเรตินาของลูกตา ่ ..........4. เซลล์ประสาทหลายขั้วพบทีบริเวณสมองและไขสั นหลัง ่ ...........5. เซลล์ ประสาทรับความรู้ สึกพบทีบริ เวณเรตินา จมูก ลิน และผิวหนัง ่ ้
  • 7. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท 20 บัตรเฉลยศูนย์ที่ 2 ชนิดของเซลล์ประสาท 1.  2.  3.  4.  5.  เก่งมากเลยจ๊ ะ ไปศึกษาศูนย์ การเรียนต่ อไป หมุนเวียนให้ ครบ 4 ศู นย์การเรียนนะคะ