SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
วรรณกรรมท้อ งถิ่น

วรรณกรรมท้องถิ่น เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมพื้นบ้าน ที่บันทึกเรื่องราว
ชีวิตความเป็นอยู่ การประพฤติปฏิบัติของประชาชนธรรมดาทั่วไป ที่สืบทอดกัน
มาหลายชั่วอายุคน
วัฒนธรรมพื้นบ้านมีขอบข่ายกว้างขวาง โดยตามรูปแบบได้เป็น 3 ประเภท
ดังนี้
๑. วัฒนธรรมพื้นบ้านประเภทต้องอาศัยภาษา ได้แก่
๑.๑ นิทานพื้นบ้าน เช่น เทพนิยาย นิทนประจำาถิ่น นิทานวีรบุรุษ นิทาน
เกี่ยวกับสัตว์ นิทานอธิบายเหตุ นิทานตลกขบขัน นิทานร่าเริง
๑.๒ ภาษาถิ่น รวมทั้งวัฒนธรรมการพูดจาและการตั้งชื่อ เช่น ชื่อบ้านนาม
เมือง ที่มีความเชื่อเข้าไปเกี่ยวข้อง
๑.๓ บทภาษิต คำาคม คำาพังเพย
๑.๔ ปริศนาคำาทาย
๑.๕ คำาพูดที่คล้องจองกัน เช่น คำากลอนสำาหรับเด็ก
๑.๖ เพลงพื้นบ้าน ได้แก่ เพลงพื้นบ้านที่ร้องด้วยภาษาถิ่น มีทำานองเป็นของ
ท้องถิ่น เช่น เพลงกล่อมเด็ก เพลงขับร้อง เป็นเรื่องราว
๒. วัฒนธรรมพื้นบ้านประเภทที่ไม่ต้องอาศัยภาษาเป็นสื่อ ได้แก่
๒.๑ สถาปัตยกรรมพื้นบ้าน
๒.๒ ศิลปะพื้นบ้าน
๒.๓ หัตถกรรมพื้นบ้าน
๒.๔ เครื่องแต่งกายพื้นบ้าน
๒.๕ อาหารพื้นบ้าน การบริโภคและนิสัยของชาวบ้าน
๒.๖ อากัปกิริยาของชาวบ้าน เช่น ท่าทางการแสดงความอาย อาการโกรธ
อาการตอบรับหรือปฏิเสธ และอากัปกิริยาทั่ว ๆ ไป
๒.๗ ดนตรีพื้นบ้าน
๓. วัฒนธรรมพื้นบ้านประเภท ประสมประสาน
๓.๑ ความเชื่อ ได้แก่ การถือโชคลาง คาถาอาคม หารทำาเสน่ห์และ
เครื่องรางของขลัง
๓.๒ ละครชาวบ้าน การละเล่นพื้นบ้าน และระบำาของชาวบ้าน
๓.๓ ประเพณี และพิธีกรรมพื้นบ้าน
๓.๔ งานมหกรรม พิธีการฉลอง
๓.๕ การเล่น หรือกีฬาพื้นบ้าน รวมทั้งการเล่นของเด็ก
๓.๖ ยากลางบ้าน
จากการแบ่งประเภทของวัฒนธรรมพื้นบ้านดังกล่าวแล้ว จะเห็นได้ว่า
วัฒนธรรมพื้นบ้านสัมพันธ์กับชีวิตความเป็นอยู่ทุกอย่างของคนในท้องถิ่น ซึ่งใน
แต่ละท้องถิ่นต้องแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับสภาพภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์
และการเมือง
ความหมายวรรณกรรมท้อ งถิ่น
วรรณกรรมท้องถิ่น หมายถึง วรรณกรรมที่เป็นมุขปาฐะ (ใช้ถ้อยคำาเล่าสืบ
ต่อ ๆ กันมา) และลายลักษณ์(บันทึกในวัสดุต่าง ๆ เช่น ในใบลาน และบันทึกใน
กระดาษที่เรียกว่า สมุดไทย สมุดข่อย เป็นต้น) วรรณกรรมเหล่านี้ปรากฏอยู่ใน
ท้องถิ่นภาคต่าง ๆ ของไทย โดยคนท้องถิ่นนั้นเป็นผู้สร้างสรรค์ขึ้นมา รูปแบบ
ฉันทลักษณ์เป็นไปตามความนิยมของคนท้องถิ่น ภาษาที่ใช้เป็นภาษาของท้องถิ่น
นั้น ๆ วรรณกรรมท้องถิ่นมีอยู่ในทุกท้องถิ่นของประเทศไทย เช่น ท้องถิ่นใต้
ท้องถิ่นเหนือ ท้องถิ่นอีสาน ท้องถิ่นภาคกลาง
ลัก ษณะเด่น ของวรรณกรรมท้อ งถิ่น
วรรณกรรมท้องถิ่นทั้ง ๔ ภาคของไทย อันได้แก่ วรรณกรรมท้องถิ่นภาค
เหนือภาคกลางมีล ัก ษณะเด่น ดัง นี้
๑. ใช้ภ าษาถิ่น และตัว อัก ษรท้อ งถิ่น ตัวอักษรที่ใช้บันทึกในแต่ละภาค
มีความแตกต่างกันและมีประวัติเก่าแก่เช่นเดียวกับอักษรที่เราใช้อยู่ใน
ปัจจุบัน
๒. ใช้รูปแบบคำาประพันธ์ท้องถิ่น ส่วนใหญ่เป็นร้อยกรองมีลีลาสอดคล้อง
กับสำาเนียงภาษาท้องถิ่นและเอื้อต่อการออกเสียงเป็นทำานอง
ลัก ษณะของวรรณกรรมท้อ งถิ่น
วรรณกรรมท้องถิ่นมีลักษณะที่สรุปได้ ดังนี้
๑. ชาวบ้านในท้องถิ่นเป็นผู้สร้างสรรค์ คัดลอกและเผยแพร่
๒. กวีผู้ประพันธ์ ส่วนมากคือ พระภิกษุและชาวบ้าน โดยมีวัดเป็นศูนย์กลาง
๓. ภาษาที่ใช้เป็นภาษาประจำาถิ่น เป็นภาษาที่เรียบง่ายมุ่งการสื่อความ
หมายกับผู้อ่านสำานวนโวหารเป็นของท้องถิ่น
๔. เนื้อเรื่องมุ่งให้ความบันเทิงใจ บางครั้งได้สอดแทรกคติธรรมของพุทธ
ศาสนา
๕. ค่านิยมยึดปรัชญาแบบชาวพุทธ
การเปรีย บเทีย บวรรณกรรมแบบฉบับ กับ วรรณกรรมท้อ งถิ่น
วรรณกรรมแบบฉบับ(วรรณคดี)
วรรณกรรมท้องถิ่น
๑. ชนชั้นสูง เจ้านาย ข้าราชสำานักมี ๑. ชาวบ้านทั่วไปมีสิทธิเป็นเจ้าของ คือ
สิทธิมีส่วนเป็นเจ้าของ
-ผู้สร้างสรรค์ ผู้ใช้
-ผูสร้างสรรค์ รวมถึงจดบันทึก คัด
้
-อนุรักษ์
ลอก
-แพร่หลายในหมู่ชาวบ้าน
-ผู้ใช้(อ่าน ฟัง)
-อนุรักษ์
-แพร่หลายในราชสำานัก
๒. กวีผู้ประพันธ์ เป็นชาวพื้นบ้าน หรือ
๒. กวีผู้ประพันธ์ เป็นนักปราชญ์
พระภิกษุสร้างสรรค์วรรณกรรมขึ้นมา
ราชบัณฑิต หรือเจ้านาย ฉะนั้นมโน ด้วยใจรักมากกว่า “บำาเรอท้าวไท้ ธิราช
ทัศน์ ค่านิยมและทัศนะที่เห็นสังคม
ผู้มีบุญ” ฉะนั้นมโนทัศน์เกี่ยวกับสภาวะ
สมัยนั้นจึงจำากัดอยู่ในรั้วในวัง หรือมี ของสังคมจึงเป็นสังคมชาวบ้านแบบ
การสอดแทรกสภาวะสังคมก็เป็นแบบ ประชาคมท้องถิ่น
มองเห็นสังคมอย่างเบื้อบนมองลงมา
๓. ภาษาที่ใช้เป็นภาษาง่าย ๆ เรียบ ๆ มุ่ง
๓. ภาษาและกวีโวหารนิยมการใช้คำา
ศัพท์อุดมไปด้วย คำาบาลีสันสกฤต
โดยเชื่อว่าเป็นการแสดงภูมิปัญญา
ของกวี แพรวพราวไปด้วยกวีโวหารที่
เข้าใจยาก
๔. เนื้อหาส่วนใหญ่จะมุ่งในการบอ
พระเกียรติ ทั้งทางตรงและทางอ้อม
แต่ต่างก็มีเนื้อหาที่เกี่ยวกับการผ่อน
คลาย ทางด้านอารมณ์และศาสนาอยู่
ไม่น้อย
๕. ค่านิยมอุดมคติยึดปรัชญาชีวิต
แบบสังคมชาวพุทธ และยกย่อง
สถาบันกษัตริย์อีกด้วย

การสื่อความหมายเป็นสำาคัญ ส่วนใหญ่
เป็นภาษาของท้องถิ่นนั้น ละเว้นคำาศัพท์
บาลีสันสกฤต โวหารนิยมสำานวนที่ใช้ใน
ท้องถิ่น
๔. เนื้อหา ส่วนใหญ่มุ่งในทางระบาย
อารมณ์ บันเทิงใจ แต่แฝงคติธรรมทาง
พุทธศาสนา แม้ว่าตัวเอกของเรื่องจะเป็น
กษัตริย์ก็ตาม แต่มิได้มุ่งยอพระเกียรติ
มากนัก
๕. ค่านิยมและอุดมคติโดยทั่วไปเหมือน
กับวรรณกรรมแบบฉบับ ยกย่องสถาบัน
กษัตริย์แต่ไม่เน้นมากนัก
ประเภทของวรรณกรรมพื้นบ้าน
การแบ่งประเภทของวรรณกรรมนั้น สามารถแบ่งได้หลายวิธี เช่น
แบ่งตามลักษณะของการถ่ายทอด แบ่งตามรูปแบบคำาประพันธ์ แบ่งตาม
เนื้อหา เป็นต้น ในที่นี้จะมุ่งถึงเฉพาะวรรณกรรมพื้นบ้านภาคเหนือ โดยจัด
แบ่งประเภทตามลักษณะของการถ่ายทอดหรือการสื่อสารต่อกัน ซึ่งสามารถ
แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
1. ประเภทมุขปาฐะ คือ วรรณกรรมที่ใช้วิธีการถ่ายทอด หรือ
สื่อสารต่อกันด้วยภาษาพูด โดยการบอกกล่าวเล่าสู่กันฟัง การสนทนาซัก
ถาม การอบรมสั่งสอน รวมถึงการขับร้องเป็นท่วงทำานองต่าง ๆ ได้แก่
นิทาน, บทเพลง เช่น ฮำ่า จ๊อย และ ซอ, ภาษา สำานวน คำาพังเพย หรือคำาคม
ต่าง ๆ, ปริศนาคำาทาย, คำาเกี้ยวพาราสีของหนุ่มสาว หรือ คำาอู้บ่าวอู้สาว
หรือ คำาค่าวคำาเครือ, โวหารหรือคำากล่าวเนื่องในโอกาสต่าง ๆ เช่น คำาเวน
ตาน คำาฮ้องขวัญ
2. ประเภทลายลักษณ์ คือ วรรณกรรมที่ใช้วิธีถ่ายทอดหรือ
สื่อสารต่อกันด้วยภาษาเขียน โดยมีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร
วรรณกรรมพื้นบ้านภาคเหนือในอดีตจะบันทึกด้วย ตัวอักษรธรรม และ ตัว
อักษรฝักขาม มีเนื้อหาและรูปแบบคำาประพันธ์ที่หลากหลาย การแบ่งประเภท
ของวรรณกรรมพื้นบ้านภาคเหนือที่เป็นลายลักษณ์ อาจจะแบ่งได้ดังนี้
- แบ่งตามวัตถุที่ใช้บันทึก มี 3 ประเภท ได้แก่ ศิลาจารึก ใบ
ลาน และปั๊บสา (สมุดกระดาษสาหรือสมุดไทย)
- แบ่งตามรูปแบบคำาประพันธ์ ได้แก่ วรรณกรรมร้อยแก้ว
และวรรณกรรมร้อยกรอง ซึ่งเท่าที่พบมี 3 ประเภท คือ โคลง ร่าย และค่าว (
หรือค่าวซอ)
- แบ่งตามเนื้อหาของเรื่อง ส่วนใหญ่แล้วเนื้อหาใน
วรรณกรรมลายลักษณ์มักจะเกี่ยวพันกับพุทธศาสนา แต่ก็มีเนื้อหาที่หลาย
หลายไม่น้อย แบ่งได้เป็น 5 ประเภทใหญ่ คือ วรรณกรรมประเภทนิทาน
ชาดก, วรรณกรรมประเภทประวัติและตำานาน, วรรณกรรมประเภทคำาสอน,
วรรณกรรมประเภทตำารับตำาราต่าง ๆ เช่น ตำาราดูฤกษ์ยาม โหราศาสตร์
กฎหมาย ประเพณีพิธีกรรมต่าง ๆ และ วรรณกรรมประเภทแสดงอารมณ์รัก
เช่น ค่าวพญาพรหม เป็นต้น
คุณค่าของวรรณกรรมท้องถิ่น
วรรณกรรมท้องถิ่นมีประโยชน์มากมายหลายประการดังนี้
๑. ให้ความบันเทิงใจแก่ชุมชน เช่น ขับเสภาในภาคกลาง เล่าค่าวหรือขับ
ลำานำาภาคเหนือ อ่านหนังสือในบุญเงือนเฮือนดีในภาคอีสาน การสวดหนังสือและ
สวดด้านของภาคใต้
๒. ให้เข้าใจในค่านิยม โลกทัศน์ของแต่ละท้องถิ่นโดยผ่านทางวรรณกรรม
๓. เข้าใจวัฒนธรรมของชาวบ้านในท้องถิ่นนั้น
๔. ก่อให้เกิดความรักถิ่น หวงแหนมาตุภูมิ และรักสามัคคีในท้องถิ่นของตน

More Related Content

What's hot

การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑krunoree.wordpress.com
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒Manas Panjai
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...Suphot Chaichana
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทKannika Kerdsiri
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจkingkarn somchit
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
pretest - postest
pretest - postestpretest - postest
pretest - postest
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจ
 

Similar to ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น

วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลังchontee55
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายchontee55
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีRuangrat Watthanasaowalak
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...Jee Ja
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทยหน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทยWilawun Wisanuvekin
 
ละครโบราณญี่ปุ่น
ละครโบราณญี่ปุ่นละครโบราณญี่ปุ่น
ละครโบราณญี่ปุ่นFaRung Pumm
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางNattha Namm
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 

Similar to ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น (20)

วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
 
ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น
ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่นประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น
ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทยภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทยหน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
 
5
55
5
 
ละครโบราณญี่ปุ่น
ละครโบราณญี่ปุ่นละครโบราณญี่ปุ่น
ละครโบราณญี่ปุ่น
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็กใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
 

More from ห้องเรียน ภาษาไทยออนไลน์

More from ห้องเรียน ภาษาไทยออนไลน์ (20)

ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสารใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืมใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ใบความรู้ เรื่อง ภาษิตใต้
ใบความรู้ เรื่อง  ภาษิตใต้ใบความรู้ เรื่อง  ภาษิตใต้
ใบความรู้ เรื่อง ภาษิตใต้
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสายพฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
 
คู่มือวิธีใช้Wordpress
คู่มือวิธีใช้Wordpressคู่มือวิธีใช้Wordpress
คู่มือวิธีใช้Wordpress
 
การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจ
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารคกระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
 
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการแบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
ใบความรู้  หนังตะลุง ม52ใบความรู้  หนังตะลุง ม52
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
 

ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น

  • 1. วรรณกรรมท้อ งถิ่น วรรณกรรมท้องถิ่น เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมพื้นบ้าน ที่บันทึกเรื่องราว ชีวิตความเป็นอยู่ การประพฤติปฏิบัติของประชาชนธรรมดาทั่วไป ที่สืบทอดกัน มาหลายชั่วอายุคน วัฒนธรรมพื้นบ้านมีขอบข่ายกว้างขวาง โดยตามรูปแบบได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้ ๑. วัฒนธรรมพื้นบ้านประเภทต้องอาศัยภาษา ได้แก่ ๑.๑ นิทานพื้นบ้าน เช่น เทพนิยาย นิทนประจำาถิ่น นิทานวีรบุรุษ นิทาน เกี่ยวกับสัตว์ นิทานอธิบายเหตุ นิทานตลกขบขัน นิทานร่าเริง ๑.๒ ภาษาถิ่น รวมทั้งวัฒนธรรมการพูดจาและการตั้งชื่อ เช่น ชื่อบ้านนาม เมือง ที่มีความเชื่อเข้าไปเกี่ยวข้อง ๑.๓ บทภาษิต คำาคม คำาพังเพย ๑.๔ ปริศนาคำาทาย ๑.๕ คำาพูดที่คล้องจองกัน เช่น คำากลอนสำาหรับเด็ก ๑.๖ เพลงพื้นบ้าน ได้แก่ เพลงพื้นบ้านที่ร้องด้วยภาษาถิ่น มีทำานองเป็นของ ท้องถิ่น เช่น เพลงกล่อมเด็ก เพลงขับร้อง เป็นเรื่องราว ๒. วัฒนธรรมพื้นบ้านประเภทที่ไม่ต้องอาศัยภาษาเป็นสื่อ ได้แก่ ๒.๑ สถาปัตยกรรมพื้นบ้าน ๒.๒ ศิลปะพื้นบ้าน ๒.๓ หัตถกรรมพื้นบ้าน ๒.๔ เครื่องแต่งกายพื้นบ้าน ๒.๕ อาหารพื้นบ้าน การบริโภคและนิสัยของชาวบ้าน ๒.๖ อากัปกิริยาของชาวบ้าน เช่น ท่าทางการแสดงความอาย อาการโกรธ อาการตอบรับหรือปฏิเสธ และอากัปกิริยาทั่ว ๆ ไป ๒.๗ ดนตรีพื้นบ้าน ๓. วัฒนธรรมพื้นบ้านประเภท ประสมประสาน ๓.๑ ความเชื่อ ได้แก่ การถือโชคลาง คาถาอาคม หารทำาเสน่ห์และ เครื่องรางของขลัง ๓.๒ ละครชาวบ้าน การละเล่นพื้นบ้าน และระบำาของชาวบ้าน ๓.๓ ประเพณี และพิธีกรรมพื้นบ้าน ๓.๔ งานมหกรรม พิธีการฉลอง ๓.๕ การเล่น หรือกีฬาพื้นบ้าน รวมทั้งการเล่นของเด็ก ๓.๖ ยากลางบ้าน จากการแบ่งประเภทของวัฒนธรรมพื้นบ้านดังกล่าวแล้ว จะเห็นได้ว่า วัฒนธรรมพื้นบ้านสัมพันธ์กับชีวิตความเป็นอยู่ทุกอย่างของคนในท้องถิ่น ซึ่งใน แต่ละท้องถิ่นต้องแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับสภาพภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และการเมือง
  • 2. ความหมายวรรณกรรมท้อ งถิ่น วรรณกรรมท้องถิ่น หมายถึง วรรณกรรมที่เป็นมุขปาฐะ (ใช้ถ้อยคำาเล่าสืบ ต่อ ๆ กันมา) และลายลักษณ์(บันทึกในวัสดุต่าง ๆ เช่น ในใบลาน และบันทึกใน กระดาษที่เรียกว่า สมุดไทย สมุดข่อย เป็นต้น) วรรณกรรมเหล่านี้ปรากฏอยู่ใน ท้องถิ่นภาคต่าง ๆ ของไทย โดยคนท้องถิ่นนั้นเป็นผู้สร้างสรรค์ขึ้นมา รูปแบบ ฉันทลักษณ์เป็นไปตามความนิยมของคนท้องถิ่น ภาษาที่ใช้เป็นภาษาของท้องถิ่น นั้น ๆ วรรณกรรมท้องถิ่นมีอยู่ในทุกท้องถิ่นของประเทศไทย เช่น ท้องถิ่นใต้ ท้องถิ่นเหนือ ท้องถิ่นอีสาน ท้องถิ่นภาคกลาง ลัก ษณะเด่น ของวรรณกรรมท้อ งถิ่น วรรณกรรมท้องถิ่นทั้ง ๔ ภาคของไทย อันได้แก่ วรรณกรรมท้องถิ่นภาค เหนือภาคกลางมีล ัก ษณะเด่น ดัง นี้ ๑. ใช้ภ าษาถิ่น และตัว อัก ษรท้อ งถิ่น ตัวอักษรที่ใช้บันทึกในแต่ละภาค มีความแตกต่างกันและมีประวัติเก่าแก่เช่นเดียวกับอักษรที่เราใช้อยู่ใน ปัจจุบัน ๒. ใช้รูปแบบคำาประพันธ์ท้องถิ่น ส่วนใหญ่เป็นร้อยกรองมีลีลาสอดคล้อง กับสำาเนียงภาษาท้องถิ่นและเอื้อต่อการออกเสียงเป็นทำานอง ลัก ษณะของวรรณกรรมท้อ งถิ่น วรรณกรรมท้องถิ่นมีลักษณะที่สรุปได้ ดังนี้ ๑. ชาวบ้านในท้องถิ่นเป็นผู้สร้างสรรค์ คัดลอกและเผยแพร่ ๒. กวีผู้ประพันธ์ ส่วนมากคือ พระภิกษุและชาวบ้าน โดยมีวัดเป็นศูนย์กลาง ๓. ภาษาที่ใช้เป็นภาษาประจำาถิ่น เป็นภาษาที่เรียบง่ายมุ่งการสื่อความ หมายกับผู้อ่านสำานวนโวหารเป็นของท้องถิ่น ๔. เนื้อเรื่องมุ่งให้ความบันเทิงใจ บางครั้งได้สอดแทรกคติธรรมของพุทธ ศาสนา ๕. ค่านิยมยึดปรัชญาแบบชาวพุทธ การเปรีย บเทีย บวรรณกรรมแบบฉบับ กับ วรรณกรรมท้อ งถิ่น วรรณกรรมแบบฉบับ(วรรณคดี) วรรณกรรมท้องถิ่น ๑. ชนชั้นสูง เจ้านาย ข้าราชสำานักมี ๑. ชาวบ้านทั่วไปมีสิทธิเป็นเจ้าของ คือ สิทธิมีส่วนเป็นเจ้าของ -ผู้สร้างสรรค์ ผู้ใช้ -ผูสร้างสรรค์ รวมถึงจดบันทึก คัด ้ -อนุรักษ์ ลอก -แพร่หลายในหมู่ชาวบ้าน -ผู้ใช้(อ่าน ฟัง) -อนุรักษ์ -แพร่หลายในราชสำานัก ๒. กวีผู้ประพันธ์ เป็นชาวพื้นบ้าน หรือ ๒. กวีผู้ประพันธ์ เป็นนักปราชญ์ พระภิกษุสร้างสรรค์วรรณกรรมขึ้นมา ราชบัณฑิต หรือเจ้านาย ฉะนั้นมโน ด้วยใจรักมากกว่า “บำาเรอท้าวไท้ ธิราช ทัศน์ ค่านิยมและทัศนะที่เห็นสังคม ผู้มีบุญ” ฉะนั้นมโนทัศน์เกี่ยวกับสภาวะ สมัยนั้นจึงจำากัดอยู่ในรั้วในวัง หรือมี ของสังคมจึงเป็นสังคมชาวบ้านแบบ การสอดแทรกสภาวะสังคมก็เป็นแบบ ประชาคมท้องถิ่น มองเห็นสังคมอย่างเบื้อบนมองลงมา ๓. ภาษาที่ใช้เป็นภาษาง่าย ๆ เรียบ ๆ มุ่ง
  • 3. ๓. ภาษาและกวีโวหารนิยมการใช้คำา ศัพท์อุดมไปด้วย คำาบาลีสันสกฤต โดยเชื่อว่าเป็นการแสดงภูมิปัญญา ของกวี แพรวพราวไปด้วยกวีโวหารที่ เข้าใจยาก ๔. เนื้อหาส่วนใหญ่จะมุ่งในการบอ พระเกียรติ ทั้งทางตรงและทางอ้อม แต่ต่างก็มีเนื้อหาที่เกี่ยวกับการผ่อน คลาย ทางด้านอารมณ์และศาสนาอยู่ ไม่น้อย ๕. ค่านิยมอุดมคติยึดปรัชญาชีวิต แบบสังคมชาวพุทธ และยกย่อง สถาบันกษัตริย์อีกด้วย การสื่อความหมายเป็นสำาคัญ ส่วนใหญ่ เป็นภาษาของท้องถิ่นนั้น ละเว้นคำาศัพท์ บาลีสันสกฤต โวหารนิยมสำานวนที่ใช้ใน ท้องถิ่น ๔. เนื้อหา ส่วนใหญ่มุ่งในทางระบาย อารมณ์ บันเทิงใจ แต่แฝงคติธรรมทาง พุทธศาสนา แม้ว่าตัวเอกของเรื่องจะเป็น กษัตริย์ก็ตาม แต่มิได้มุ่งยอพระเกียรติ มากนัก ๕. ค่านิยมและอุดมคติโดยทั่วไปเหมือน กับวรรณกรรมแบบฉบับ ยกย่องสถาบัน กษัตริย์แต่ไม่เน้นมากนัก
  • 4. ประเภทของวรรณกรรมพื้นบ้าน การแบ่งประเภทของวรรณกรรมนั้น สามารถแบ่งได้หลายวิธี เช่น แบ่งตามลักษณะของการถ่ายทอด แบ่งตามรูปแบบคำาประพันธ์ แบ่งตาม เนื้อหา เป็นต้น ในที่นี้จะมุ่งถึงเฉพาะวรรณกรรมพื้นบ้านภาคเหนือ โดยจัด แบ่งประเภทตามลักษณะของการถ่ายทอดหรือการสื่อสารต่อกัน ซึ่งสามารถ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. ประเภทมุขปาฐะ คือ วรรณกรรมที่ใช้วิธีการถ่ายทอด หรือ สื่อสารต่อกันด้วยภาษาพูด โดยการบอกกล่าวเล่าสู่กันฟัง การสนทนาซัก ถาม การอบรมสั่งสอน รวมถึงการขับร้องเป็นท่วงทำานองต่าง ๆ ได้แก่ นิทาน, บทเพลง เช่น ฮำ่า จ๊อย และ ซอ, ภาษา สำานวน คำาพังเพย หรือคำาคม ต่าง ๆ, ปริศนาคำาทาย, คำาเกี้ยวพาราสีของหนุ่มสาว หรือ คำาอู้บ่าวอู้สาว หรือ คำาค่าวคำาเครือ, โวหารหรือคำากล่าวเนื่องในโอกาสต่าง ๆ เช่น คำาเวน ตาน คำาฮ้องขวัญ 2. ประเภทลายลักษณ์ คือ วรรณกรรมที่ใช้วิธีถ่ายทอดหรือ สื่อสารต่อกันด้วยภาษาเขียน โดยมีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร วรรณกรรมพื้นบ้านภาคเหนือในอดีตจะบันทึกด้วย ตัวอักษรธรรม และ ตัว อักษรฝักขาม มีเนื้อหาและรูปแบบคำาประพันธ์ที่หลากหลาย การแบ่งประเภท ของวรรณกรรมพื้นบ้านภาคเหนือที่เป็นลายลักษณ์ อาจจะแบ่งได้ดังนี้ - แบ่งตามวัตถุที่ใช้บันทึก มี 3 ประเภท ได้แก่ ศิลาจารึก ใบ ลาน และปั๊บสา (สมุดกระดาษสาหรือสมุดไทย) - แบ่งตามรูปแบบคำาประพันธ์ ได้แก่ วรรณกรรมร้อยแก้ว และวรรณกรรมร้อยกรอง ซึ่งเท่าที่พบมี 3 ประเภท คือ โคลง ร่าย และค่าว ( หรือค่าวซอ) - แบ่งตามเนื้อหาของเรื่อง ส่วนใหญ่แล้วเนื้อหาใน วรรณกรรมลายลักษณ์มักจะเกี่ยวพันกับพุทธศาสนา แต่ก็มีเนื้อหาที่หลาย หลายไม่น้อย แบ่งได้เป็น 5 ประเภทใหญ่ คือ วรรณกรรมประเภทนิทาน ชาดก, วรรณกรรมประเภทประวัติและตำานาน, วรรณกรรมประเภทคำาสอน, วรรณกรรมประเภทตำารับตำาราต่าง ๆ เช่น ตำาราดูฤกษ์ยาม โหราศาสตร์ กฎหมาย ประเพณีพิธีกรรมต่าง ๆ และ วรรณกรรมประเภทแสดงอารมณ์รัก เช่น ค่าวพญาพรหม เป็นต้น คุณค่าของวรรณกรรมท้องถิ่น วรรณกรรมท้องถิ่นมีประโยชน์มากมายหลายประการดังนี้ ๑. ให้ความบันเทิงใจแก่ชุมชน เช่น ขับเสภาในภาคกลาง เล่าค่าวหรือขับ ลำานำาภาคเหนือ อ่านหนังสือในบุญเงือนเฮือนดีในภาคอีสาน การสวดหนังสือและ สวดด้านของภาคใต้ ๒. ให้เข้าใจในค่านิยม โลกทัศน์ของแต่ละท้องถิ่นโดยผ่านทางวรรณกรรม ๓. เข้าใจวัฒนธรรมของชาวบ้านในท้องถิ่นนั้น ๔. ก่อให้เกิดความรักถิ่น หวงแหนมาตุภูมิ และรักสามัคคีในท้องถิ่นของตน