SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
ราชสดุดีคีตมหาราชา
พระราชประวัติ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชสมภพ ณ โรงพยาบาลเมานท์ออเบอร์น
(Mount
Auburn)เมืองเคมบริดจ์ (Cambridge) รัฐแมสสาชูเซตต์ (Massachusetts) สหรัฐอเมริกา เมื่อวันจันทร์
เดือนอ้าย ขึ้น ๑๒ ค่า ปีเถาะ นพศก จุลศักราช ๑๒๘๙ ตรงกับวันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๗๐
มีพระนามเดิมว่า พระวรวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดช เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระราชบิดา
เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (พระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลง
กรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี) และสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์
ซึ่งภายหลังทั้งสองพระองค์ได้รับการเฉลิมพระนามภิไธยเป็น สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม
พระบรมราชชนก และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช
คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ที่ ๖
พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๖๖ ณ
กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ กับ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล เสด็จพระราชสมภพเมื่อวัน
อาทิตย์ที่ ๒๐ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๖๘ ณ เมืองไฮเดลแบร์ก ประเทศเยอรมนี
เมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๑ ได้โดยเสด็จสมเด็จพระบรมราชชนก
ซึ่งทรงสาเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยม จากมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด สหรัฐอเมริกา
กลับประเทศไทย ประทับ ณ วังสระประทุม ต่อมาในวันที่ ๒๔ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๗๒
สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะนั้น
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันทรงเจริญพระชนมายุได้ไม่ถึง ๒ ปี และเมื่อมีพระชนมายุได้ ๕ ปี
ได้ทรงเข้ารับการศึกษาขั้นต้น ณ โรงเรียนมาแตร์เดอี กรุงเทพฯ จนถึง พ.ศ. ๒๔๗๖
จึงเสด็จพระราชดาเนินไปประทับ ณ เมืองโลซานน์ ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี
พระเชษฐภคินี และสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เพื่อทรงศึกษาต่อในชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียน Ecole Nouvelle
de la Suisse Romande, Chailly-sur-Lausanne เมื่อทรงรับประกาศนียบัตร Bachlier esLettres จาก
Gymnase Classique Cantonal แห่งเมืองโลซานน์แล้ว ทรงเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยโลซานน์
โดยทรงเลือกศึกษาในแขนงวิชาวิทยาศาสตร์
ในพุทธศักราช ๒๔๗๗ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์
รัชกาลที่ ๘ แห่งบรมราชจักรีวงศ์ เมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๘ และพระวรวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดช จึงทรงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ
เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช และได้โดยเสด็จพระราชดาเนินสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล นิวัตประเทศไทยเป็น
ครั้งแรกในพุทธศักราช ๒๔๘๑ โดยประทับ ณ พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต เป็นการชั่วคราว
แล้วเสด็จพระราชดาเนินกลับไปประเทศสวิสเซอร์แลนด์ จนถึงพุทธศักราช ๒๔๘๘ ครั้งนี้ประทับ ณ
พระที่นั่งบรมพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง
ในวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๘๙ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เสด็จสวรรคตโดยกะทันหัน ณ
พระที่นั่งบรมพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ
เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช จึงเสด็จขึ้นครองราชย์สมบัติสืบราชสันตติวงศ์ในวันเดียวกันนั้น แต่เนื่องจากยังมีพระรา
ชกิจด้านการศึกษา
จึงต้องทรงอาลาประชาชนชาวไทยเสด็จพระราชดาเนินกลับไปยังประเทศสวิสเซอร์แลนด์อีกครั้งหนึ่ง
ในเดือนสิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๙ เพื่อทรงศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยแห่งเดิม
ในครั้งนี้ทรงเลือกศึกษาวิชากฎหมายและวิชารัฐศาสตร์แทนวิชาวิทยาศาสตร์ที่ทรงศึกษาอยู่เดิม
ระหว่างที่ทรงประทับศึกษาอยู่ต่างประเทศนั้น ทรงพบกับ หม่อมราชวงศ์ สิริกิติ์
กิติยากร ธิดาใน หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร กับ หม่อมหลวงบัว (สนิทวงศ์)
กิติยากร (ภายหลังพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้สถาปนาพระอิสริยยศ
หม่อมเจ้านักขัตรมงคล ฯ ขึ้นเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล เมื่อพุทธศักราช ๒๔๙๓
และขึ้นเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามว่า พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ เมื่อพุทธศักราช
๒๔๙๕) ต่อมาทรงหมั้นกับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ในวันที่ ๑๙ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๔๙๒ ณ
เมืองโลซานน์ ประเทศสวิสเซอร์แลนด์
ในพุทธศักราช ๒๔๙๓ เสด็จพระราชดาเนินนิวัติพระนคร ประทับ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ
ให้ตั้งการพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ในเดือนมีนาค
ม พุทธศักราช ๒๔๘๓ ต่อมาในวันที่ ๒๘ เมษายน ปีเดียวกัน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ
ให้จัดการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสกับ หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ณ
พระตาหนัก สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ในวังสระปทุม
ซึ่งในการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสนี้ มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้สถาปนาหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์
กิติยากร ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชินีสิริกิติ์
ในวันที่ ๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ
ให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกตามแบบอย่างโบราณราชประเพณีขึ้น ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ
ในพระบรมมหาราชวัง
เฉลิมพระบรมนามาภิไธยตามที่จารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภุมิพลอดุลยเดช ม
หิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช
บรมนาถบพิตร พร้อมทั้งพระราชทานพระปฐมบรมราชโองการว่า
“เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม”
และในโอกาสนี้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ
สถาปนาเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ ขึ้นเป็น สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี
หลังจากเสร็จการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้วได้เสด็จพระราชดาเนินไปทรงรักษาพระสุขภาพ
ณ เมืองโลซานน์ ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ตามที่คณะแพทย์ได้ถวายคาแนะนา
และระหว่างที่ประทับในเมืองโลซานน์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชินี มีพระประสูติกาลพระราชธิดาพระองค์แรก คือ
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตน์ราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ซึ่งประสูติณ โรงพยาบาลมองซัวซีส์
เมืองโลซานน์ เมื่อวันที่ ๕ เมษายน พุทธศักราช
๒๔๙๔ และเมื่อสมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระองค์แรกเจริญพระชันษาได้ ๗
เดือน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดาเนินนิวัตพระนคร ประทับ ณ
พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต
จากนั้นทรงย้ายไปประทับ ณ พระที่นั่งอัมพรสถานวังดุสิต เนื่องจากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ
ให้ปรับปรุงพระตาหนักจิตรลดารโหฐานสาหรับเป็นที่ประทับแทนการที่รัฐบาลจะจัดสร้างพระตาหนักขึ้นใหม่
และที่พระที่นั่งอัมพรสถานนี้เอง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี มีพระประสูติกาลพระราชโอรสและ
พระราชธิดาอีก ๓ พระองค์ คือ
สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ์ ประสูติเมื่อวันจันทร์ที่ ๒๘ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๔๙๕
ในพุทธศักราช ๒๕๑๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ สถาปนาขึ้นเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช
เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ์ สยามมกุฏราชกุมาร
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนราชสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์ ประสูติเมื่อวันเสาร์ที่ ๒
เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๘ ในพุทธศักราช ๒๕๒๐ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ
สถาปนาขึ้นเป็น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยะชาติ
สยามบรมราชกุมารี
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๔ กรกฎาคม
พุทธศักราช ๒๕๐๐พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระผนวชเมื่อวันที่ ๒๒ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๙๙ ณ
พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง และประทับจาพรรษา พระตาหนักปั้นหย่า
วัดบวรนิเวศวิหาร มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี
เป็นผู้สาเร็จราชการ ทรงปฏิบัติราชการแผ่นดินแทนพระองค์ตลอดระยะเวลา ๑๕ วัน ที่ทรงพระผนวชอยู่
จากการที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชินี ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจในตาแหน่งผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ได้อย่างเรียบร้อยเป็นที่พอพ
ระพระราชหฤทัย จึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ สถาปนาขึ้นเป็น สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชินีนาถ ในปีเดียวกันนั้นเอง และในวันที่ ๓๑ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๐๐
หลังจากทรงประกอบพิธีเฉลิมพระตาหนักจิตรลดารโหฐานซึ่งได้ต่อเติมขึ้นใหม่แล้ว
ทรงย้ายที่ประทับจากพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต กลับไปประทับที่พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน
พระราชวังดุสิต สืบมา
ระหว่างพุทธศักราช ๒๕๐๒ ถึง ๒๕๑๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระราชดาเนินเยือนต่างประเทศทั้งในเอเชีย ยุโรป และสหรัฐอเมริกา
เพื่อเป็นการเจริญสัมพันธไมตรีรวม ๒๘ ประเทศ
นอกจากนั้นก็ได้ทรงต้อนรับพระราชอาคันตุกะที่เป็นประมุขของประเทศต่างๆ อยู่เนือง
ๆพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงบาเพ็ญพระราชกรณียกิจน้อยใหญ่ นับตั้งแต่พระราชพิธีสาคัญ
ของบ้านเมือง พระราชพิธีและการพระราชกุศลทางพระพุทธศาสนา
และที่สาคัญยิ่งคือการเสด็จพระราชดาเนินเยี่ยมราษฎรทั่วทุกภูมิภาค รวมทั้งท้องถิ่นที่ทุรกันดารห่างไกลความเ
จริญอย่างมิทรงเห็นแก่ความ
เหน็ดเหนื่อย นอกจากจะได้ทอดพระเนตรสภาพความเป็นอยู่และปัญหาอันแท้จริงของแต่ละพื้นที่แล้ว
ยังทรงพระราชทานความช่วยเหลือ
และทรงนาโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริมาใช้ในการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของราษฎร
ซึ่งครอบคลุมเนื้อหาที่หลากหลายทุกด้านกว่า ๓,๐๐๐
โครงการ โครงการเหล่านี้มีทั้งที่ทรงดาเนินการด้วยพระองค์เอง และทรงมอบหมายให้หน่วยราชการ
หรือองค์กรเอกชนดาเนินการและขยายผลให้กว้างขวางออกไป นับได้ว่าเป็นการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงปฏิบัติพระราชภารกิจในฐานะที่ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ในระบอ
บประชาธิปไตยอย่างงดงาม โดยทรงดารงอยู่ในคุณธรรมอันควรแก่พระมหากษัตราธิราชอันมีทศพิธราชธรรมเป็
นอาทิ สมดังพระราชปณิธานนับตั้งแต่ต้นรัชกาล ครั้นถึงพุทธศักราช ๒๕๑๓ อันเป็นวาระครบ ๑๕
ปีแห่งการครองราชย์
รัฐบาลจึงจัดให้มีพระราชพิธีเฉลิมฉลองเรียกว่า รัชดาภิเษกสมโภช พร้อมทั้งอาณาประชาราษฎร์ก็ได้ร่วมเฉลิมฉ
ลองโดยถ้วนหน้าเมื่อ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเจริญพระชนมายุครบ ๕ รอบ เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม
พุทธศักราช ๒๕๓๐ รัฐบาลและประชาชนรู้สึกปลาบปลื้มปีติเป็นยิ่งนัก จึงจัดให้มีการเฉลิมฉลองครั้งสาคัญ
คือ พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ และต่อมาอีกปีหนึ่ง
ก็มีการฉลองอภิลักขิตสมัยอีกครั้งคือ พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติคุณที่ทรงได้ครองร
าชย์มายาวนานกว่าพระมหากษัตริย์พระองค์ใดในประวัติศาสตร์ชาติไทย
พระราชกรณียกิจดาเนินต่อมาอีกจนถึงพุทธศักราช ๒๕๓๘ วาระแห่งการดารงอยู่ในสิริราชสมบัตินับได้ถึง ๕๐
ปี รัฐบาลก็ได้ประกาศให้เป็นช่วงเวลาแห่งการเฉลิมฉลองมงคลวาระกันทั่วทั้งประเทศตลอด ๒ ปี เต็ม
นับตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๓๘ เป็นต้นไป จนสิ้นปีพุทธศักราช ๒๕๓๙ โดยองค์กรทุกภาคส่วน ทั้งของราชการ
รัฐวิสาหกิจ องค์กรเอกชน พ่อค้าประชาชนทุกหมู่เหล่า มีส่วนร่วมในการทากิจกรรมอย่างกว้างขวาง และในวันที่
๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๓๙ ก็จัดให้มีพระราชพิธีกาญจนาภิเษกสมโภช ณ พระที่นั่งกาญจนาภิเษก
มณฑลท้องพิธีสนามหลวง นับได้ว่าเป็นการเฉลิมฉลองมหามงคลวโรกาสอันยิ่งใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งของชาติไทย
ครั้นกาลเวลาล่วงมาอีก ๑๐ ปี
ชาวไทยและชาวโลกก็ได้ตระหนักรู้อีกครั้งหนึ่งในพระเกียรติคุณที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงบาเพ็ญเพื่อ
ประเทศชาติและประชาชนมาโดยตลอดเวลาอันยาวนาน
ดังที่ประจักษ์กันทั่วไปว่าทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงครองสิริราชสมบัติยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์พระองค์ใ
ดใน
สยามประเทศ และยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์พระองค์ใดในโลกปัจจุบัน ด้วยเหตุดังกล่าว
เนื่องในมหามงคลวโรกาสที่ทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี
จึงนับว่าเป็นเหตุการณ์ที่ตราตรึงอยู่ในจิตใจของพสกนิกรไทยทุกหมู่เหล่า
ตลอดถึงผู้ที่เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารอย่างมิรู้ลืมยิ่งกว่าครั้งใด ในวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๔๙
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงประกอบพระราชพิธีอันเนื่องจากการฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี ณ
พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม และในพระบรมมหาราชวัง โดยลาดับ
จากนั้นก็ได้เสด็จออกมหาสมาคม ณ
สีหบัญชรพระที่นั่งอนันตสมาคม เพื่อให้พสกนิกรนับแสนได้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทด้วยความจงรักภักดี
และปลาบปลื้มในพระมหากรุณาธิคุณอันล้นพ้นหาที่สุดมิได้ โดยมีเหตุการณ์ที่น่าประทับใจอีกประการหนึ่งก็คือ
มีพระประมุขและพระราชวงศ์ต่างประเทศ หรือผู้แทนของประเทศต่างๆ ทั่วโลก ๒๕ ประเทศ
เสด็จพระราชดาเนินมาร่วมชุมนุมถวายพระพรในมงคลวโรกาสครั้งนี้อย่างสมพระเกียรติจวบจนถึงปัจจุบัน
ตลอดระยะเวลาอันยาวนานกว่า ๖ ทศวรรษที่ทรงครองแผ่นดินโดยธรรม นับตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๔๙๓
เป็นต้นมานั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจนานัปการอันเป็นคุณประโยชน์ยิ่งแก่
พสกนิกรชาวไทยอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ ความเป็นปึกแผ่นของชาติโดยทรงมุ่งเน้นที่จะบาบัดทุกข์บารุงสุขข
องอาณาประชาราษฎร์เป็นสาคัญ
ยังผลให้เกิดความรุ่งเรืองและปึกแผ่นของชาติตลอดระยะเวลาอันยาวนาน นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณ
ล้นเกล้าล้นกระหม่อมต่อประเทศชาติและประชาชนชาวไทยอย่างหาที่เปรียบมิได้
เนื่องจากโดยส่วนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระปรีชาสามารถรอบรู้หลายสาขา
จึงทรงมีผลงานทั้งด้านกีฬา ด้านงานประดิษฐ์คิดค้น ทางการช่างและเทคโนโลยี
และด้านงานสร้างสรรค์ทางศิลปะแขนงต่างๆ อาทิ ภาพวาดฝีพระหัตถ์ งานพระราชนิพนธ์ทางอักษรศาสตร์
งานพระราชนิพนธ์ทางดนตรี เป็นต้น
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับการดนตรี
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงเป็นสังคีตกวีและนักดนตรีที่ชาวโลกยกย่อง
ทรงพระปรีชาสามารถในการทรงดนตรี ทรงพระราชนิพนธ์เพลง แยกและเรียบเรียงเสียงประสาน
ทรงเป็นครูสอนดนตรีแก่ข้าราชบริพารใกล้ชิด และทรงซ่อมเครื่องดนตรีได้ด้วย ตลอดจนทรงเชี่ยวชาญในศิล
ปะแขนงต่างๆ อย่างแท้จริง สมกับที่พสกนิกรชาวไทยน้อมเกล้าฯ ถวายพระราชสมัญญา “อัครศิลปิน”
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเริ่มเรียนดนตรีเมื่อมีพระชนมายุ ๑๓
พรรษา ขณะที่ประทับอยู่ที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ กับครูชาวอัลซาส ชื่อ นายเวย์เบรชท์ โดยทรงเรียนการเป่า
แซกโซโฟน วิชาการดนตรี การเขียนโน้ต และการบรรเลงดนตรีสากลต่างๆในแนวดนตรีคลาสสิค เป็นเบื้องต้น
ต่อมาจึงเริ่มฝึกดนตรีแจ๊ส
โดยทรงหัดเป่าแซกโซโฟนสอดแทรกกับแผ่นเสียงของนักดนตรีที่มีชื่อเสียงได้เป็นอย่างดี เช่น Johnny
Hodges และ Sidney Berchet เป็นต้น จนทรงมีความชานาญ
สอดแทรกกับแผ่นเสียงของนักดนตรีที่มีชื่อเสียงได้เป็นอย่างดี และทรงโปรดดนตรีประเภท Dixieland Jazz
เป็นอย่างมาก
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเครื่องดนตรีได้ดีหลายชนิด ทั้งประเภทเครื่องลม เช่น แซกโซโฟน
คลาริเนต และประเภทเครื่องทองเหลือง เช่น ทรัมเป็ต รวมทั้งเปียโน และกีตาร์ ที่ทรงฝึกเพิ่มเติมในภายหลัง
เพื่อประกอบการพระราชนิพนธ์เพลง และเพื่อทรงดนตรีร่วมกับวงดนตรีส่วนพระองค์
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเริ่มพระราชนิพนธ์เพลงเมื่อมีพระชนมพรรษาได้ ๑๘ พรรษา
ในปีพุทธศักราช ๒๔๘๙ ทรงพระราชนิพนธ์ทานองเพลง “แสงเทียน” เป็นเพลงพระราชนิพนธ์เพลงแรก
และจนถึงปัจจุบันมีเพลงพระราชนิพนธ์ทั้งสิ้น ๔๘ เพลง ทุกเพลงล้วนมีทานองไพเราะประทับใจผู้ฟัง
สอดคล้องกับเนื้อร้อง ซึ่งมีคตินานัปการ และเป็นส่วนสาคัญส่วนหนึ่งของชีวิตคนไทย
ในยามที่บ้านเมืองไม่สงบสุข ก็พระราชทานเพลงปลุกใจเพื่อเป็นขวัญกาลังใจแก่ข้าราชการ ทหาร พลเรือน
และประชาชน ผู้ปฏิบัติหน้าที่เพื่อประเทศชาติ มิให้เกิดความย่อท้อในการทาความดีต่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ต่อตนเองและสังคม
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงใช้ดนตรีให้เป็นประโยชน์ทางอ้อมในหลายด้าน อาทิ
ทรงใช้เครื่องดนตรีเป็นสื่อผูกพันสถาบันพระมหากษัตริย์กับนิสิตนักศึกษา โดยเสด็จ ฯ
ไปทรงดนตรีร่วมกับนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัยต่างๆ อยู่นานกว่า ๑๐ ปี
ในคราวเสด็จเยือนต่างประเทศ
ก็ทรงใช้ดนตรีเป็นสื่อกระชับสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศกับนานาประเทศได้อย่างแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น
พระปรีชาสมารถด้านดนตรีในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นที่ชื่นชมของชาวต่างประเทศ จนกระทั่งปีพ.ศ
๒๕๐๗
สถาบันการดนตรีและศิลปะการแสดงแห่งกรุงเวียนนา (ปัจจุบันเปลี่ยนฐานะเป็นมหาวิทยาลัยการดนตรีและศิล
ปะการแสดง) ได้ทูลเกล้า ฯ ถวายประกาศนียบัตร และสมาชิกกิตติมศักดิ์ลาดับที่
๒๓ แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พระบรมนามาภิไธย “ภูมิพลอดุลยเดช” ปรากฏอยู่บนแผ่นจาหลักหินของสถาบัน
ทรงเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ที่มีอายุน้อยที่สุด และเป็นชาวเอเชียเพียงผู้เดียวที่ได้รับเกียรติอันสูงสุดนี้
พระอัจฉริยภาพด้านดนตรีในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นที่ชื่นชมไม่เพียงในประเทศไทยเท่านั้น
นักดนตรีต่างประเทศทั่วโลกก็ชื่นชม และยอมรับในพระอัจฉริยภาพนี้
นอกจากจะทรงพระปรีชาสามารถในการพระราชนิพนธ์เพลงและทรงดนตรีแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ยั
งทรงเป็น “ครูใหญ่” สอนดนตรีแก่ แพทย์ ราชองครักษ์ และ
ข้าราชการผู้ปฏิบัติราชการใกล้ชิดพระยุคลบาทในช่วงที่เสด็จเยี่ยมราษฎรในภูมิภาคต่างๆ
ตลอดจนข้าราชบริพารในพระองค์ซึ่งส่วนใหญ่เล่นดนตรีไม่เป็นเลย จนเล่นดนตรีเป็น อ่านโน้ตได้
และสามารถบรรเลงในโอกาสพิเศษต่างๆ ได้
ต่อมาจึงได้เกิดแตรวง “วงสหายพัฒนา” โดยมีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นหัวหน้าวง
ในด้านดนตรีไทย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชประสงค์ที่จะอนุรักษ์ดนตรีไทยและนาฏยศิลป์ ไ
ทยไว้ให้คงอยู่คู่ชาติไทยตลอดไป
โดยมีพระราชกระแสรับสั่งให้นักดนตรีไทยช่วยกันรักษาระดับเสียงของดนตรีไทยไว้เพื่อเป็นมาตรฐานของวงดนต
รีรุ่นหลัง ได้พระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์ให้กรมศิลปากรจัดพิมพ์หนังสือ “โน้ตเพลงไทย เล่ม
๑” เพื่อรวบรวมและรักษาศิลปะทางดนตรีไทยไว้ให้เป็นหลักฐานและมาตรฐานต่อไป
และทรงสนับสนุนให้มีการค้นคว้าวิจัยบันไดเสียงของดนตรีไทย โดยใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์
นอกจากนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ
ให้จัดพิธีครอบประธานครูโขนละคร
และต่อ กระบวนราเพลงหน้าพาทย์องค์พระพิราพ ซึ่งเป็นเพลงหน้าพาทย์ชั้นสูงในวิชาดนตรีและนาฏยศิลป์ ไทยอี
กด้วย ซึ่งกิจกรรมทั้ง ๒ อย่างนั้น ดาเนินมาจนถึงจุดที่ใกล้จะสูญสิ้นแล้ว
จึงนับได้ว่าทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่อนุรักษ์ศิลปะของไทยเพื่อให้เป็นมรดกของชาติสืบต่อไป
พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นสังคีตกวีแห่งราชวงศ์จักรีพระองค์นี้
ทรงบาเพ็ญพระราชกรณียกิจ “เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม”แม้ด้านดนตรีก็มิได้เว้น
มีเรื่องเล่ากันมาว่า นักดนตรีเอกของโลกได้กล่าวถึงพระปรีชาสามารถในการทรงดนตรีว่า
หากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มิได้ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ก็จะต้องทรงเป็นพระราชานักดนตรีของโลก
แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นทั้งพระมหากษัตริย์ และทรงเป็นนักดนตรีได้พร้อมกัน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีความสนพระราชหฤทัยในด้านดนตรีมาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์
ดังที่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา
กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ในบทพระนิพนธ์ “เจ้านายเล็กๆยุวกษัตริย์” ความตอนหนึ่ง
ว่า
“เมื่อถึงเวลาสนพระทัยแผ่นเสียงก็แข่งกันอีก รัชกาลที่ ๘ ทรงเลือก Louis Armstrong, Sidney Berchet
รัชกาลที่ ๙ ทรงเลือก Duke Ellington Count Banc เกี่ยวกับการซื้อแผ่นเสียงนี้ ถ้าเป็นแจ๊สต้องซื้อเอง
ถ้าเป็นคลาสสิคเบิกได้”
“สิ่งที่ทรงเล่นมาด้วยกันเป็นเวลานานคือดนตรี รัชกาลที่ ๘ ทรงเริ่มด้วยเปียโนเพราะเห็นข้าพเจ้าเรียนอยู่
รัชกาลที่ ๙ ขอเล่นหีบเพลง (accordion) เรียนอยู่ไม่กี่ครั้งก็ทรงเลิก “เพราะไม่เข้ากับเปียโน” แล้วรัชกาลที่ ๘
ก็ทรงเลิกเรียนเปียโนไป เมื่ออยู่อาโรซ่า เวลาหน้าหนาว ได้ทอดพระเนตรวงดนตรีวงใหญ่ที่เล่นอยู่ที่โรงแรม
รู้สึกอยากเล่นกัน ทรงหาแซกโซโฟนที่เป็นของใช้แล้ว (secondhand) มาได้ ราคา ๓๐๐ แฟรงค์
แม่ออกให้ครึ่งหนึ่งและสโมสรปาตาปุมออกให้อีกครึ่งหนึ่ง เมื่อครูมาสอนที่บ้าน รัชกาลที่ ๘
ทรงดันพระอนุชาเข้าไปในห้องเรียน รัชกาลที่ ๙ จึงเป็นผู้ริเริ่ม เมื่อเรียนไปแล้ว ๒-๓ ครั้ง รัชกาลที่ ๘
ทรงซื้อแคลริเน็ต (clarinet) ส่วนพระองค์วันเรียน ครูสอนองค์ละ ๓๐ นาที แล้วครูก็เอาแซกโซโฟน
(saxophone) ของเขาออกมาและเล่นด้วยกันทั้ง ๓ เป็น Trio”
ครูสอนดนตรี ซึ่ง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ
เจ้าฟ้ากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงเล่าไว้นี้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
สยามบรมราชกุมารี ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ในบทพระราชนิพนธ์ “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาดนตรี”เ
ช่นกัน มีความว่า
“....ครูสอนดนตรีชื่อนายเวย์เบรชท์ (Weybrecht) เป็นชาวอัลซาส (Alsace)
ซึ่งเป็นแคว้นของฝรั่งเศสที่พูดภาษาเยอรมัน เวลาพูดภาษาฝรั่งเศสยังมีสาเนียงภาษาเยอรมันติดมาบ้าง
นายเวย์เบรชท์ทางานอยู่ร้านขายเครื่องดนตรี (ขายทุก ๆ ยี่ห้อ)
และยังเป็นนักเป่าแซกโซโฟนอยู่ในวงของสถานีวิทยุ เขาเล่นดนตรีได้หลายอย่าง
รวมทั้งแคลริเน็ตด้วย...นอกจากการเล่นดนตรีแล้ว ครูยังสอนวิชาการดนตรีให้ด้วย
รวมทั้งการเขียนโน้ตสากลต่าง ๆ ”
ในบทพระราชนิพนธ์ “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาดนตรี” ยังทรงเล่าความเกี่ยวกับความสนพระรา
ชหฤทัยในการทรงศึกษาเครื่องดนตรีชนิดอื่น ๆ ได้แก่ แตร เปียโน กีตาร์ และขลุ่ยดังนี้
“...สาหรับแตรนั้นสนพระราชหฤทัยจึงไปเช่ามาเป็นแตรคอร์เน็ต อีกหลายปีจึงทรงซื้อเอง
ดูเหมือนว่าแตรทรัมเป็ตเครื่องแรกที่ทรงซื้อจะเป็นแตรยี่ห้อเซลเมอร์ สั่งซื้อจากอังกฤษ แต่เป็นของฝรั่งเศส
(เครื่องนี้พระราชทานวงสุนทราภรณ์ไป) จึงซื้อใหม่ยี่ห้อเซลเมอร์เหมือนกัน
ครูเวย์เบรชท์บอกว่าแตรดีที่สุดคือยี่ห้อกูร์ตัว แต่ไม่ได้ทรงซื้อ...”
“… สาหรับเครื่องดนตรีต่างๆที่ทรงเล่น มีเปียโน ไม่เคยทรงเรียนจริงจังจากใคร เล่นเอาเอง ดูโน้ต
เรียนวิธีประสานเสียง กีตาร์ ทรงเล่นเมื่อพระชนม์ราว ๑๖ พรรษา เพื่อนที่โรงเรียนเป็นรุ่นพี่อายุมากกว่า
ให้ยืมเล่น ภายหลังไปเอาคืน เขาเห็นว่าสนใจจึงให้เลย ขลุ่ย ทรงเล่นเมื่อพระชนม์ประมาณ ๑๖-๑๗ พรรษา
เห็นว่าราคาไม่แพงนัก เล่นไม่ยาก
นิ้วคล้ายๆแซกโซโฟน...ตอนหลังเคยเห็นทรงเล่นไวโอลินด้วย คิดว่าทรงเล่นเอาเองไม่มีครูสอนดนตรี …”
นอกจากจะทรงศึกษาวิชาดนตรีจากพระอาจารย์ชาวต่างประเทศในต่างประเทศ
แต่เมื่อยังทรงพระเยาว์แล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงได้รับการแนะนาการดนตรีจาก พระเจนดุริยางค์
ชาวต่างชาติที่เข้ามารับราชการในประเทศไทย ดังที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี ทรงพระราชนิพนธ์ไว้เช่นกันว่า
“...คุณพระเจนดุริยางค์ เป็นอีกท่านที่กราบบังคมแนะนาเกี่ยวกับดนตรี โปรดคุณพระเจน ฯม าก
ทรงพิมพ์ตาราที่คุณพระเจน ฯ ประพันธ์ขึ้นทุกเล่ม ระหว่างการพิมพ์และตรวจปรู๊ฟได้ความรู้เกี่ยวกับดนตรีมาก
ส่วนไหนที่ไม่เข้าพระทัยก็มีรับสั่งถามคุณพระเจน ฯ เรื่องการพิมพ์หนังสือนี้คุณแก้วขวัญ วัชโรทัย
เลขาธิการพระราชวังคนปัจจุบันทราบดี เพราะเป็นผู้ที่ทรงมอบหมายให้ดาเนินการ ได้ทราบว่าคุณพระเจน ฯ
ก็ปรารภว่า ในด้านทฤษฎีไม่ทรงทราบมากนัก แต่ทาไมเคาะเสียงถูกต้องทุกที “
นอกจากทรงเล่นดนตรีแล้ว ยังทรงสอนดนตรีให้ผู้อื่นเล่นด้วย เคยเล่าพระราชทานว่า
“ได้สอนคนตาบอดเล่นดนตรี สอนลาบากเพราะเขาไม่เห็นท่าทาง
เมื่อพยายามอธิบายจนเข้าใจสามารถเป่าออกมาเป็นเพลงไพเราะได้ หรือแม้แต่โน้ตเดียวในตอนแรก
ดูสีหน้าเขาแสดงความพอใจและภูมิใจมาก”
ทรงแนะนาวิธีการเล่นดนตรีพระราชทานผู้อื่นที่มาเล่นดนตรีถวาย หรือเล่นร่วมวง ดูเหมือนจะเคยมีรับสั่งว่า
การเล่นดนตรีทาให้เกิดความสามัคคีเป็นนักดนตรีเหมือนกัน ในส่วนที่ทรงพระราชนิพนธ์เพลงนั้น
ทรงเริ่มอย่างจริงจังเมื่อมีพระชนมายุ ๑๘ พรรษา
ขณะเมื่อยังทรงดารงพระยศเป็นสมเด็จพระอนุชาตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เสด็จนิวั
ตพระนคร เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๘๘ ดังที่พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ บันทึกความไว้ดังนี้
“๕ ธันวาคม ๒๔๘๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๘
เสด็จนิวัตสู่ประเทศไทยพร้อมสมเด็จพระอนุชา และสมเด็จพระราชชนนีประทับ ณ พระที่นั่งบรมพิมาน
ในพระบรมมหาราชวัง ได้โปรดเกล้า ฯ ให้เข้าเฝ้าในฐานะนักแต่งเพลงสมัครเล่น
ได้นาโน้ตที่ได้แต่งไว้แล้วถวายทอดพระเนตร พระราชทานข้อแนะนาเกี่ยวกับการแต่งเพลงประเภทบลูส์
โดยทรงเปียโนสาธิตให้ฟัง และสมเด็จพระอนุชามาใส่คาร้อง เพลงแสงเทียน ยามเย็น สายฝน ตามลาดับ
แต่เพลงยามเย็นและเพลงสายฝนได้นาออกสู่ประชาชนก่อนเพลงแสงเทียน
โดยพระราชทานให้ออกบรรเลงในงานลีลาศที่สวนอัมพรโดยวงดนตรีของกรมโฆษณาการ (กรมประชาสัมพันธ์)
ควบคุมวงโดย เอื้อ สุนทรสนาน และออกอากาศทางวิทยุ กรมโฆษณาการเป็นประจา เป็นที่ซาบซึ้ง
และประทับใจพสกนิกรอย่างมาก....”
“..จากนั้นฉันก็แต่งขึ้นอีกเรื่อยๆ จนบัดนี้รวมทั้ง ๔๐ เพลง ในระยะเวลา ๒๐ ปี คิดเฉลี่ยปีละ ๒ เพลง
ที่ทาได้ก็เพราะได้รับการสนับสนุนจากนักดนตรี นักเพลงและนักร้อง
รวมทั้งประชาชนผู้ฟังต่างก็แสดงความพอใจและความนิยมพอควร จึงเป็นกาลังใจให้แก่ฉันเรื่อยมา...”
เพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงพระราชนิพนธ์ทานองเพลงแล้วจึงใส่คาร้องภาษาอังก
ฤษด้วยพระองค์เองได้แก่Echo, Still on My Mind, Old Fashioned Melody, No Moon และ Dream
Island ที่ทรงพระราชนิพนธ์ทานองจากคาร้องภาษาไทย ได้แก่ เพลงความฝันอันสูงสุด และเราสู้ นอกจากนั้น
ก็เป็นส่วนหนึ่งที่ทรงพระราชนิพนธ์ทานอง และโปรดเกล้า ฯ
ให้มีผู้แต่งคาร้องประกอบเพลงพระราชนิพนธ์หลายท่าน ได้แก่ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ
ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงนพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร ท่านผู้หญิงสมโรจน์
สวัสดิกุล ณ อยุธยา นายศุภร ผลชีวิน นายจานง ราชกิจ (จรัล บุณยรัตนพันธุ์) หม่อมราชวงศ์เสนีย์
ปราโมช และท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค เพลงพระราชนิพนธ์ ระหว่างปีพุทธศักราช ๒๔๘๙-๒๕๓๘ มี ๔๘
เพลง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีความรู้อย่างแตกฉานในทฤษฎีการประพันธ์
ทรงเป็นผู้นาในด้านการประพันธ์ทานองเพลงสากลของเมืองไทย
โดยทรงใส่คอร์ดดนตรีที่แปลกใหม่และซับซ้อนทาให้เกิดเสียงประสานที่เข้มข้นในดนตรี
เมื่อประกอบกับลีลาจังหวะเต้นราที่หลากหลาย ทาให้ทรงพระราชนิพนธ์เพลงบรรเลงได้อย่างไพเราะหลายบท
กลายเป็นเพลงอมตะของไทยในปัจจุบัน นอกจากนี้ยังทรงมีจินตนาการสร้างสรรค์ไม่ซ้าแบบผู้ใด
และแปลกใหม่อยู่ตลอดเวลา
เพลงพระราชนิพนธ์แต่ละเพลงนั้น
ล้วนแสดงออกถึงพระมหากรุณาธิคุณที่มีต่อพสกนิกรทุกหมู่เหล่าโดยถ้วนหน้า
เช่น เพลงยามเย็น พระราชทานแก่สมาคมปราบวัณโรค
เพื่อนาออกแสดงเก็บเงินบารุงการกุศล เพลงใกล้รุ่ง บรรเลงเป็นปฐมฤกษ์ในงานของสมาคมเลี้ยงไก่แห่งประเทศไ
ทย เพลงยิ้มสู้ พระราชทานแก่โรงเรียนสอนคนตาบอด เพลงลมหนาว พระราชทานในงานประจาปีของสมาคมนั
กเรียนเก่าอังกฤษในพระบรมราชูปถัมภ์
เพลงพรปีใหม่ พระราชทานแก่พสกนิกรเนื่องในวันปีใหม่ เพลงเกิดเป็นไทยตายเพื่อไทย เพลงความฝันอันสูงสุด
และเพลงเราสู้ พระราชทานแก่ผู้ปฏิบัติหน้าที่เพื่อประเทศชาติ Kinari
Suite พระราชทานเพื่อใช้ประกอบการแสดงบัลเล่ต์ชุดมโนราห์ และมีเพลงประจาสถาบันที่ทรงพระกรุณาโปรดเ
กล้า ฯ พระราชทาน ได้แก่ เพลงมหาจุฬาลงกรณ์ เพลงธรรมศาสตร์ เพลงเกษตรศาสตร์ เพลงธงชัยเฉลิมพล
ราชวัลลภ และ ราชนาวิกโยธิน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้มีการรวมนักดนตรีสมัครเล่นมารวมกันตั้งเป็นวงขึ้นเป็นครั้งแ
ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน ประกอบด้วยพระราชวงศ์ผู้ใหญ่ที่ทรงคุ้นเคย และเมื่อโปรดเกล้า ฯ ให้จัดตั้งสถานีวิทยุ อ.ส. (อัมพร
๒๔๙๕ เพื่อให้เป็นสื่อกลางที่ให้ความบันเทิงและสาระประโยชน์ในด้านต่างๆ พระราชทานชื่อว่า “วงลายคราม” ก็ได้ม
ต่อมาโปรดเกล้า ฯ ให้นักดนตรีรุ่นหนุ่มมาเล่นดนตรีร่วมกับวงลายคราม จึงเกิดเป็น วงดนตรี อ.ส.วันศุกร์ ขึ้น วงดนตรี อ.ส.
วันศุกร์มีลักษณะพิเศษคือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงร่วมบรรเลงกับสมาชิกของวง ออกอากาศกระจายเสียงทางสถา
ทรงเลือกแผ่นเสียงเองในระยะแรก บางครั้งก็โปรดเกล้า ฯ ให้มีการขอเพลง และจะทรงรับโทรศัพท์ด้วยพระองค์เองทุกวันศุก
ยังเป็นวงดนตรีที่โปรดให้ไปร่วมบรรเลงในงาน “วันทรงดนตรี” ตามที่มหาวิทยาลัยต่างๆ กราบบังคมทูลเชิญเสด็จฯ เพื่อทรงส
ก่อนที่จะยกเลิกไป เพราะทรงมีพระราชกรณียกิจเพิ่มมากขึ้น
ในปีพุทธศักราช ๒๕๒๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงตั้งแตรวง “สหายพัฒนา” ขึ้นอีกวงหนึ่ง
โดยโปรดฯให้รวบรวมผู้ปฏิบัติราชการใกล้ชิดเบื้องพระยุคลบาท และโดยเสด็จฯในการพัฒนาภูมิภาคต่าง ๆ
เป็นประจา เช่น นักเกษตรหลวง คณะแพทย์อาสาสมัคร ข้าราชการในพระองค์ ราชองค์รักษ์
ตลอดจนเจ้าหน้าที่หน่วยรักษาความปลอดภัย ซึ่งส่วนใหญ่ไม่เคยเล่นดนตรีมาก่อน
พระราชทานเวลาฝึกสอนในช่วงเวลาทรงออกพระกาลังในตอนค่าของทุกๆวัน ทรงตั้งแตรวงขึ้นสาเร็จ
และยังคงเล่นดนตรีเป็นประจาทุกค่าของวันศุกร์ และวันอาทิตย์เป็นวันซ้อมร่วมกับนักดนตรี อ.ส.วันศุกร์ ณ
สถานี อ.ส. และเกือบทุกเย็นกับวงสหายพัฒนา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา จนถึงปัจจุบัน
พระปรีชาสามารถในการทรงดนตรีของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นที่ประจักษ์ในนานาประเทศ
ดังที่จะเห็นจากการที่ทรงเข้าร่วมบรรเลงดนตรีกับวงดนตรีของประเทศต่าง ๆ ที่เสด็จพระราชดาเนินเยือน
ไม่ว่าวงดนตรีนั้น ๆ จะมีการเล่นดนตรีในแบบใด โดยมิได้ทรงเตรียมพระองค์มาก่อน
นักดนตรีที่มีชื่อเสียงของโลกล้วนถวายการยกย่องพระองค์ในฐานะทรงเป็นนักดนตรีแจ๊สผู้มีอัจฉริยภาพสูงส่ง
ดังเช่น เมื่อครั้งเสด็จพระราชดาเนินประเทศออสเตรีย เมื่อเดือนตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๐๗
ประธานสถาบันการดนตรีและศิลปะแห่งกรุงเวียนนาได้ทูลเกล้า ฯ
ถวายปริญญากิตติมศักดิ์แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในฐานะที่ทรงเป็นสมาชิกหมายเลข ๒๓
ซึ่งผู้ที่จะได้รับเกียรติเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์แห่งสถาบันนี้ได้
ส่วนใหญ่เป็นผู้มีอาชีพและผลงานด้านดนตรีและศิลปะดีเด่นเป็นที่ยอมรับของชาวโลกทั้งสิ้น
ด้านการดนตรีนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มิได้ทรงละเลยดนตรีไทย อันเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมของชาติ
ได้มีพระราชดาริให้มีการรวบรวมเพลงไทยเดิมขึ้นไว้ แล้วบันทึกโน้ตเพลงไทยเดิมขึ้นเป็นหลักฐาน
เพื่อที่จะได้พิมพ์เผยแพร่วิชาการดนตรีไทยในหมู่ประชาชนต่อไป
ทรงริเริ่มให้มีการวิจัยเกี่ยวกับดนตรีไทยประเภทต่าง ๆ นอกจากนี้ยังทรงได้
ริเริ่มให้นาเพลงสากลมาแต่งเป็นแนวเพลงไทย โดยโปรดเกล้า ฯ ให้นายเทวาประสิทธิ์
พาทยโกศล นาทานองเพลงพระราชนิพนธ์ มหาจุฬาลงกรณ์ มาแต่งเป็นแนวไทย บรรเลงด้วยวงปี่พาทย์
เมื่อนาขึ้นบรรเลงถวายแล้วก็พระราชทานชื่อว่า เพลงมหาจุฬาลงกรณ์ เช่นเดียวกัน
นับเป็นเพลงไทยเพลงแรกที่ประดิษฐ์ขึ้นจากเพลงไทยสากลตามพระราชดาริที่ทรงสร้างสรรค์
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชดารัสเกี่ยวกับดนตรีแก่นักข่าวชาวอเมริกันในรายการเสียงแห่งวิทยุอเ
มริกา เมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๐๓ ความตอนหนึ่งว่า
“ดนตรีเป็นส่วนหนึ่งของข้าพเจ้า จะเป็นแจ๊สหรือไม่ใช่แจ๊สก็ตาม ดนตรีล้วนอยู่ในตัวทุกคน
เป็นส่วนที่ยิ่งใหญ่ในชีวิตคนเรา สาหรับข้าพเจ้าดนตรีคือสิ่งประณีตงดงาม
และทุกคนควรนิยมในคุณค่าของดนตรีทุกประเภท
เพราะว่าดนตรีแต่ละประเภทต่างก็มีความเหมาะสมตามแต่โอกาสและอารมณ์ที่ต่างๆกันออกไป”
ทรงเห็นว่า ดนตรี นอกจากจะให้ความบันเทิงแล้ว
ควรจะเป็นสื่อสร้างสรรค์ชักนาให้คนเป็นคนดีของประเทศชาติและสังคม
ดังพระราชดารัสที่พระราชทานแก่คณะกรรมการสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย ณ ศาลาดุสิดาลัย เมื่อวันที่ ๑๖
ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๔ มีความตอนหนึ่งดังนี้
“...การดนตรีจึงมีความหมายสาคัญสาหรับประเทศชาติสาหรับสังคม ถ้าทาดี ๆ
ก็ทาให้คนเขามีกาลังใจจะปฏิบัติงานการ ก็เป็นหน้าที่ส่วนหนึ่งที่ให้ความบันเทิง
ทาให้คนที่กาลังท้อใจมีกาลังใจขึ้นมาได้ คือเร้าใจได้ คนกาลังไปทางหนึ่งทางที่ไม่ถูกต้อง
ก็อาจจะดึงกลับมาในทางที่ถูกต้องได้ ฉะนั้น ดนตรีก็มีความสาคัญอย่างหนึ่ง
จึงพูดได้กับท่านทั้งหลายที่เกี่ยวข้องกับการดนตรีในรูปการณ์ต่าง ๆว่า มีความสาคัญและต้องทาให้ถูกต้อง
ต้องทาให้ดี ถูกต้องในทางหลักวิชาการดนตรีอย่างหนึ่ง และก็ถูกต้องตามหลักวิชาของผู้ที่มีศีลธรรม
มีความซื่อสัตย์สุจริต ก็จะทาให้เป็นประโยชน์อย่างมาก เป็นประโยชน์ทั้งต่อส่วนรวมทั้งส่วนตัว
เพราะก็อย่างที่กล่าวว่าเพลงนี้มันเกิดความปีติภายในของตัวเองได้ ความปีติในผู้อื่นได้
ก็เกิดความดีได้ความเสียก็ได้ ฉะนั้นก็ต้องมีความระมัดระวังให้ดี...”
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเข้าพระทัยอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับเรื่องดนตรี
และอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อความคิดและจิตใจของมวลมนุษย์
ตลอดจนกระบวนการใช้เสียงดนตรีและบทเพลงในการสร้างสรรค์ความบันเทิง
รวมทั้งปลูกฝังแนวความคิดที่ดีงาม เช่น ความรักชาติบ้านเมือง
ความสามัคคีพร้อมเพรียงให้เกิดขึ้นในสังคมและหมู่คณะ พร้อมทั้งทรงตระหนักถึงอิทธิพลของดนตรีในทางลบ
ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อชาติบ้านเมืองได้
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสเกี่ยวกับดนตรีจึงเป็นเสมือนคติเตือนใจแก่บรรดาเยาวชน นักดนตรี
และมวลพสกนิกรทุกหมู่เหล่า ให้มีความเข้าใจลึกซึ้งเรื่องดนตรีและอิทธิพลที่พึงมีต่อสังคม หมู่คณะ
และประเทศชาติ
นอกเหนือไปจากความบันเทิงรื่นเริงใจและสาระประโยชน์ที่ได้จากเพลงหรือดนตรีโดยทั่วไป
ความสาคัญของศิลปะการดนตรี
๑.
พระราชดารัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภายหลังที่สถาบันดนตรีและศิลปะแห่งกรุงเวียนนาทูลเกล้า ฯ
ถวายประกาศนียบัตร เกียรติคุณชั้นสูงให้ทรงดารงตาแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์ หมายเลข ๒๓ เมื่อวันที่ ๔
ตุลาคม พ.ศ ๒๕๐๗ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชดารัสตอบเป็นภาษาเยอรมัน (ต่อมา
หม่อมหลวง เดช สนิทวงศ์ ได้แปลและถ่ายทอดเป็นภาษาไทย) ทรงกล่าวถึงความสาคัญของดนตรีว่า
“...ดนตรีทุกชนิดเป็นศิลปะที่สาคัญอย่างหนึ่ง มนุษย์เกือบทั้งหมดชอบและรู้จักดนตรี
ตั้งแต่เยาว์วัยคนเริ่มรู้จักดนตรีบ้างแล้ว ความรอบรู้ทางดนตรีอย่างกว้างขวางย่อมเกิดขึ้นกับเชาว์
และความสามารถในการแสดงของแต่ละคน อาศัยเหตุนี้จึงกล่าวได้ว่าในระหว่างศิลปะนานาชนิด
ดนตรีเป็นศิลปะที่แพร่หลายกว่าศิลปะอื่นๆ และมีความสาคัญในด้านการศึกษาของประชาชนทุกประเทศด้วย”
๒. พระราชดารัสในโอกาสที่คณะกรรมการของสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย เข้าเฝ้า ฯ ทูลเกล้า ฯ
ถวายเงินสมทบทุนโครงการพัฒนาตามพระราชประสงค์ ณ ศาลาดุสิดาลัย เมื่อวันพุธที่ ๑๖ ธันวาคม
พุทธศักราช ๒๕๒๔ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงย้าถึงความสาคัญของดนตรี
เพราะเป็นศิลปะที่สามารถทาให้ศิลปินเกิดความภาคภูมิใจมากที่สุด
ทรงยกตัวอย่างการพระราชนิพนธ์เพลงซึ่งไม่สิ้นเปลือง สามารถ
เผื่อแผ่ความพอใจไปสู่สาธารณชนโดยไม่สึกหรอหรือเสื่อมลงเหมือนศิลปะสาขาอื่นอันเป็นรูปธรรม
และยังสามารถประยุกต์โดยเรียบเรียงใหม่ได้
“...การดนตรีนี้เป็นศิลปะที่สาคัญอย่างหนึ่ง หรือในหมู่ศิลปะทั้งหลาย
อาจจะพูดได้ว่าเป็นศิลปะที่สาคัญที่สุด อย่างน้อยสาหรับจิตใจของศิลปินนักดนตรีจะต้องเป็นเช่นนั้น
เพราะว่าการดนตรีนี้เป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่ถือได้ว่าเป็นศิลปะที่ทาให้เกิดความปีติ ความภูมิใจ ความยินดี
ความพอใจได้มากที่สุด...”
“...ศิลปินในสาขาอื่น ๆ จะยกตัวอย่าง เช่น วาดภาพ เป็นศิลปินเขียนภาพ เขียนรูป
หรือจะเป็นพวกจิตรกรรม ประติมากรรมก็ได้ ผู้นั้นเขาก็มีความพอใจเหมือนกันในการปฏิบัติ
แต่ว่าที่จะเผื่อแผ่ให้ผู้อื่นดูก็เกิดความกลุ้มใจ เพราะสมมติว่าเอาไปไว้ในห้องแสดงศิลปกรรม ก็เกิดเป็นห่วง
เดี๋ยวใครจะมาขโมย เดี๋ยวใครจะมาทาให้เสียไป...ถ้าเป็นศิลปินในด้านการแสดงละครหรือแต่งละคร ถ้าไม่มีเวที
ไม่มีการแสดงละคร ก็ไม่สามารถที่จะให้คนได้ชม คือเผื่อแผ่ความพอใจออกไปไม่ได้
ดนตรีแต่งเพลงไปแล้วหรือเล่นเพลงไปแล้วก็เป็นการเผื่อแผ่ออกไป…”
“เพลงสายฝนนี้อายุ ๓๕ ปีแล้ว...ตั้งแต่วันหรือตั้งแต่คืนที่แต่ง จนเดี๋ยวนี้ไม่สิ้นเปลืองอะไร
หาเศษกระดาษมาขีดๆ แล้วก็เขียนไป เสร็จแล้วก็ส่งไปให้ทางครูเอื้อ
แล้วครูเอื้อก็เรียบเรียงเสียงและออกแสดง...ตั้งแต่นั้นมา ๓๕ ปีกว่า เพลงนั้นก็ยังอยู่ ไม่สึกหรอ ไม่ต้องขัดเกลา
ไม่ต้องไปปัดฝุ่น ใคร ๆ ก็เอาไปเล่น...ถ้าเป็นภาพเขียนที่เขียนไว้เมื่อ ๒๐ ปีแล้ว กลับไปดูสีมันลอก
ก็ต้องซ่อมแซม”
ดนตรีสร้างความบันเทิง และสร้างสรรค์แนวคิดที่ดีในการดารงชีวิต
๑. พระบรมราโชวาทที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานเนื่องในวันสังคีตมงคล ครั้งที่ ๒ ณ เวทีลีลาศ
สวนอัมพร เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๓๑ กรกฏาคม พ.ศ ๒๕๑๒ มีพระราชดาริว่า ดนตรีมีความสาคัญต่อชีวิต
เนื่องจากให้ความบันเทิง ช่วยให้จิตใจสบาย นักเพลง นักดนตรีมีบทบาทสาคัญ เพราะนอกจากจะช่วยให้คนฟัง
ได้รับความบันเทิงครึกครื้นแล้ว ยังสามารถสร้างความรู้สึกที่ดี เช่น ความอดทน ความขยันขันแข็ง
และความสามัคคี จึงทรงปรารถนาให้นักดนตรี นักเพลง นักร้อง แสดงออกในทางสร้างสรรค์
ชักนาให้คนเป็นคนดี
“...ดนตรีนั้นเป็นสิ่งที่จะแสดงออกซึ่งความรู้สึกของชนหมู่หนึ่ง ในที่นี้ก็คือ
ชนคนไทยทั้งหลายจะแสดงความรู้สึกออกมา หรือจะรับความรู้สึกที่แสดงออกมาด้วยดนตรี
พวกเราที่เป็นนักดนตรีจึงมีความสาคัญยิ่ง ถ้าเราทาในสิ่งที่จะทาให้คนฟังแล้วมีความพอใจ มีความครึกครื้น
มีความอดทน มีความขยัน แล้วก็มีความบันเทิง ทุกสิ่งทุกอย่างในดนตรีมีจุดประสงค์ที่จะทา เขาก็มีความสาเร็จ
ยิ่งเดี๋ยวนี้ และยิ่งในเมืองไทยเราอยู่ในสถานการณ์ที่ไม่น่าไว้วางใจ นักดนตรีทั้งหลาย
นักเพลงทั้งหลายก็มีหน้าที่เหมือนที่จะช่วยอุ้มชูความรู้สึกที่พี่น้องชาวไทยทั้งหลายต้องมี คือความเข้มแข็ง
และความเป็นอันหนึ่งอันเดียว...นักเพลง นักร้อง นักอะไรๆก็ให้แสดงในสิ่งที่จะเป็นการสร้างสรรค์
ให้เป็นทางที่ชักนาให้คนเป็นคนดี และมีความเจริญ ความก้าวหน้า...”
๒. พระราชดารัสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ยังทรงย้าในเรื่องอานุภาพของดนตรี
และความสาคัญของดนตรีที่มีต่อประเทศชาติและสังคม
ดังที่ทรงพระราชทานแก่ คณะกรรมการของสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย ฯ เมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคม พุทธศักราช
๒๕๒๔ มีความตอนหนึ่งว่า
“...การดนตรีจึงมีความหมายสาคัญสาหรับประเทศชาติสาหรับสังคม ถ้าทาดีๆ
ก็ทาให้คนเขามีกาลังใจจะปฏิบัติงานการ ก็เป็นหน้าที่ส่วนหนึ่งที่ให้ความบันเทิง
ทาให้คนที่กาลังท้อใจมีกาลังใจขึ้นมาได้ คือเร้าใจได้ คนกาลังไปทางหนึ่งทางที่ไม่ถูกต้อง
ก็อาจจะดึงกลับมาในทางที่
ถูกต้องได้ ฉะนั้น ดนตรีก็มีความสาคัญอย่างยิ่ง
๓.
พระราชดารัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่พระราชทานแก่ คณะกรรมการสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย
ณ ศาลาดุสิดาลัย เมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๔
มีความตอนหนึ่งที่ทรงเห็นว่าดนตรีนอกจากจะให้ความบันเทิงแล้ว
ควรจะเป็นสื่อสร้างสรรค์ชักนาให้คนเป็นคนดีของประเทศชาติและสังคม ดังนี้
“...จึงพูดได้กับท่านทั้งหลายที่เกี่ยวข้องกับการดนตรีในรูปการณ์ต่าง ๆ ว่า
มีความสาคัญและต้องทาให้ถูกต้อง ต้องทาให้ดี ถูกต้องในทางหลักวิชาการดนตรีอย่างหนึ่ง
และก็ถูกต้องตามหลักวิชาของผู้ที่มีศีลธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต ก็จะทาให้เป็นประโยชน์อย่างมาก
เป็นประโยชน์ทั้งต่อส่วนรวมทั้งส่วนตัว เพราะก็อย่างที่กล่าวว่าเพลงนี้มันเกิดความปีติภายในของตัวเองได้
ความปีติในผู้อื่นได้ ก็เกิดความดีได้ความเสียก็ได้ ฉะนั้นก็ต้องมีความระมัดระวังให้ดี...”
“....ยินดีและขอชมเชยสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยที่สามารถจัดงานสาคัญนี้ขึ้นมา
ดนตรีนี้เป็นศิลปะและนับว่าเป็นกิจกรรมที่กว้างขวางมาก
งานที่สาเร็จลุล่วงไปนั้นก็แสดงถึงความสามารถอย่างสูงของวงการดนตรีนี้พาดพิงไปถึงหลายด้าน
ในด้านศิลปะก็พาดพิงไปถึงทั้งละคร ทั้งที่แสดงในบนเวที ทั้งที่แสดงในสถานที่ต่างๆทั่วไป
ก็นับว่ากว้างขวางมาก นอกจากนี้ ยังพาดพิงไปถึงกิจการด้านต่างๆ เช่นในด้านภาพยนตร์
ในด้านวิทยุและโทรทัศน์ ก็นับว่าดนตรีนี้จะพาดพิงถึงชีวิตของประชาชนทั่วไปอย่างกว้างขวาง
เป็นกิจการที่สาคัญและควรสนับสนุน เพราะว่าดนตรีถ้าการเล่นดนตรีและการฟังดนตรีดี
ประชาชนก็ได้ความบันเทิงและได้ผ่อนอารมณ์ให้มีจิตใจร่าเริง
สามารถที่จะมีกาลังใจอย่างการที่ได้จัดการประกวดดนตรี
เพื่อให้มาตรฐานของการดนตรีในเมืองไทยสูงขึ้นและเป็นนิยมรู้จัก
ก็เป็นสิ่งที่สมควรและเป็นสิ่งที่ทาให้สาเร็จขึ้นมาด้วยความลาบากยากยิ่ง”
๔.
พระบรมราโชวาทที่พระราชทานแก่คณะกรรมการสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ณ พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน
“การดนตรีเป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่สามารถก่อให้เกิดความปีติ ความสุข ความยินดี
ความพอใจได้มากที่สุด หน้าที่ของนักดนตรีนั้นคือ ทาให้ผู้ฟังเกิดความพอใจ ความครึกครื้น ความอดทน
ความขยัน มีความเข้มแข็ง และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน คือนอกจากจะสร้างความบันเทิงแล้ว
ควรแสดงในสิ่งที่จะเป็นทางสร้างสรรค์ เช่น ชักนาให้คนเป็นคนดีด้วย”
ดนตรีมีอิทธิพลทั้งในทางดีและทางเสีย
๑.
พระบรมราโชวาทที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่คณะกรรมการการประกวดเพลงแผ่นเสียงทอง
คา ศิลปิน นักแสดง นักวิชาการประกวดภาพยนตร์ และคณะกรรมการจัดงานประกวดภาพยนตร์ ณ
ศาลาดุสิดาลัย พระราชวังดุสิต เมื่อวันพุธที่ ๙ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๑๘
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดารัสว่า ดนตรีสามารถแสดงออกซึ่งความรู้สึกที่มีอยู่ในจิตใจ
ไม่ว่าจะเป็นความคิด หรือลัทธิการเมือง ความรู้สึกในชาติบ้านเมือง หรือ ความรู้สึกในเรื่องของมวลมนุษย์
ราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชา

More Related Content

Viewers also liked

Ambit_Cement_Thematic_Northcountryblues_19Jun2015
Ambit_Cement_Thematic_Northcountryblues_19Jun2015Ambit_Cement_Thematic_Northcountryblues_19Jun2015
Ambit_Cement_Thematic_Northcountryblues_19Jun2015Vaibhav Saboo
 
Decorator
DecoratorDecorator
Decoratorukst
 
Analytical report of the examined stereotypes about IDPs in Ukraine
Analytical report of the examined stereotypes about IDPs in UkraineAnalytical report of the examined stereotypes about IDPs in Ukraine
Analytical report of the examined stereotypes about IDPs in UkraineLiterature group STAN
 
Результати громадської антикорупційної експертизи регуляторних актів в м.Іван...
Результати громадської антикорупційної експертизи регуляторних актів в м.Іван...Результати громадської антикорупційної експертизи регуляторних актів в м.Іван...
Результати громадської антикорупційної експертизи регуляторних актів в м.Іван...Івано-Франківський регіональний центр
 
Atelier numérique Développer les avis de voyageurs
Atelier numérique Développer les avis de voyageursAtelier numérique Développer les avis de voyageurs
Atelier numérique Développer les avis de voyageursSud Vendée Tourisme
 
Презентация мастер класс
Презентация мастер   классПрезентация мастер   класс
Презентация мастер классromisflasher
 
Tysyacheletie russkogo prisutstvia_na_afone
Tysyacheletie russkogo prisutstvia_na_afoneTysyacheletie russkogo prisutstvia_na_afone
Tysyacheletie russkogo prisutstvia_na_afonenizhgma.ru
 
SCM video v2 no comm
SCM video v2 no commSCM video v2 no comm
SCM video v2 no commukst
 
An overview of village chicken-keeping practices in Sanza ward in Singida re...
An overview of village chicken-keeping practices  in Sanza ward in Singida re...An overview of village chicken-keeping practices  in Sanza ward in Singida re...
An overview of village chicken-keeping practices in Sanza ward in Singida re...Elpidius Rukambile
 
Flipside Digital Media- Εταιρικό προφίλ
Flipside Digital Media- Εταιρικό προφίλFlipside Digital Media- Εταιρικό προφίλ
Flipside Digital Media- Εταιρικό προφίλFlipside Digital Marketing
 
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์leemeanxun
 

Viewers also liked (20)

3kamencaiyok
3kamencaiyok3kamencaiyok
3kamencaiyok
 
Ambit_Cement_Thematic_Northcountryblues_19Jun2015
Ambit_Cement_Thematic_Northcountryblues_19Jun2015Ambit_Cement_Thematic_Northcountryblues_19Jun2015
Ambit_Cement_Thematic_Northcountryblues_19Jun2015
 
Thai music13
Thai music13Thai music13
Thai music13
 
Decorator
DecoratorDecorator
Decorator
 
งานนำเสนอ1 อบจ
งานนำเสนอ1 อบจงานนำเสนอ1 อบจ
งานนำเสนอ1 อบจ
 
22sroypleng
22sroypleng22sroypleng
22sroypleng
 
Analytical report of the examined stereotypes about IDPs in Ukraine
Analytical report of the examined stereotypes about IDPs in UkraineAnalytical report of the examined stereotypes about IDPs in Ukraine
Analytical report of the examined stereotypes about IDPs in Ukraine
 
Результати громадської антикорупційної експертизи регуляторних актів в м.Іван...
Результати громадської антикорупційної експертизи регуляторних актів в м.Іван...Результати громадської антикорупційної експертизи регуляторних актів в м.Іван...
Результати громадської антикорупційної експертизи регуляторних актів в м.Іван...
 
Atelier numérique Développer les avis de voyageurs
Atelier numérique Développer les avis de voyageursAtelier numérique Développer les avis de voyageurs
Atelier numérique Développer les avis de voyageurs
 
Il nuovo corso delle politiche giovanili in Italia
Il nuovo corso delle politiche giovanili in ItaliaIl nuovo corso delle politiche giovanili in Italia
Il nuovo corso delle politiche giovanili in Italia
 
Презентация мастер класс
Презентация мастер   классПрезентация мастер   класс
Презентация мастер класс
 
Tysyacheletie russkogo prisutstvia_na_afone
Tysyacheletie russkogo prisutstvia_na_afoneTysyacheletie russkogo prisutstvia_na_afone
Tysyacheletie russkogo prisutstvia_na_afone
 
SCM video v2 no comm
SCM video v2 no commSCM video v2 no comm
SCM video v2 no comm
 
Просування пріоритетів івано-франківського бізнесу до влади
Просування пріоритетів івано-франківського бізнесу до владиПросування пріоритетів івано-франківського бізнесу до влади
Просування пріоритетів івано-франківського бізнесу до влади
 
Live Seminar 31: Reinforcing the International Legal Framework for Protecting...
Live Seminar 31: Reinforcing the International Legal Framework for Protecting...Live Seminar 31: Reinforcing the International Legal Framework for Protecting...
Live Seminar 31: Reinforcing the International Legal Framework for Protecting...
 
Thai music5
Thai music5Thai music5
Thai music5
 
An overview of village chicken-keeping practices in Sanza ward in Singida re...
An overview of village chicken-keeping practices  in Sanza ward in Singida re...An overview of village chicken-keeping practices  in Sanza ward in Singida re...
An overview of village chicken-keeping practices in Sanza ward in Singida re...
 
Flipside Digital Media- Εταιρικό προφίλ
Flipside Digital Media- Εταιρικό προφίλFlipside Digital Media- Εταιρικό προφίλ
Flipside Digital Media- Εταιρικό προφίλ
 
Flipside Digital Media company profile
Flipside Digital Media company profileFlipside Digital Media company profile
Flipside Digital Media company profile
 
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
 

Similar to ราชสดุดีคีตมหาราชา

วันพ่อเเห่งชาติ
วันพ่อเเห่งชาติวันพ่อเเห่งชาติ
วันพ่อเเห่งชาติRatchatanan Kribthong
 
Https _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandler
Https  _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandlerHttps  _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandler
Https _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandlerPhichakorn Borirak
 
Https _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandler
Https  _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandlerHttps  _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandler
Https _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandlerPhichakorn Borirak
 
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9banlangkhao
 
วันพ่อแห่งชาติ
วันพ่อแห่งชาติวันพ่อแห่งชาติ
วันพ่อแห่งชาติRatchatanan Kribthong
 
รอยยิ้มของในหลวง
รอยยิ้มของในหลวงรอยยิ้มของในหลวง
รอยยิ้มของในหลวงMy_Suphatsara
 
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docxสังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docxpinglada1
 
พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปทิมจันทร์ ปันนะ
 
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จพระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จTeeraporn Pingkaew
 
บุคคลสำคัญ ป.1+517+55t2his p01 f05-4page
บุคคลสำคัญ ป.1+517+55t2his p01 f05-4pageบุคคลสำคัญ ป.1+517+55t2his p01 f05-4page
บุคคลสำคัญ ป.1+517+55t2his p01 f05-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
บุคคลสำคัญ ป.1+517+55t2his p01 f05-1page
บุคคลสำคัญ ป.1+517+55t2his p01 f05-1pageบุคคลสำคัญ ป.1+517+55t2his p01 f05-1page
บุคคลสำคัญ ป.1+517+55t2his p01 f05-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ บุคคลสำคัญ+517+dltvhisp1+55t2his p01 f05-4page
สไลด์  บุคคลสำคัญ+517+dltvhisp1+55t2his p01 f05-4pageสไลด์  บุคคลสำคัญ+517+dltvhisp1+55t2his p01 f05-4page
สไลด์ บุคคลสำคัญ+517+dltvhisp1+55t2his p01 f05-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
088+hisp1+dltv54+541129+a+สไลด์ บุคคลสำคัญ (1 หน้า)
088+hisp1+dltv54+541129+a+สไลด์ บุคคลสำคัญ (1 หน้า)088+hisp1+dltv54+541129+a+สไลด์ บุคคลสำคัญ (1 หน้า)
088+hisp1+dltv54+541129+a+สไลด์ บุคคลสำคัญ (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ บุคคลสำคัญ+517+dltvhisp1+55t2his p01 f05-1page
สไลด์  บุคคลสำคัญ+517+dltvhisp1+55t2his p01 f05-1pageสไลด์  บุคคลสำคัญ+517+dltvhisp1+55t2his p01 f05-1page
สไลด์ บุคคลสำคัญ+517+dltvhisp1+55t2his p01 f05-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
วันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
 วันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว วันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
วันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวThanakorn Chansuaydee
 
Https _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandler
Https  _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandlerHttps  _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandler
Https _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandlerPhichakorn Borirak
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Similar to ราชสดุดีคีตมหาราชา (20)

วันพ่อเเห่งชาติ
วันพ่อเเห่งชาติวันพ่อเเห่งชาติ
วันพ่อเเห่งชาติ
 
Https _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandler
Https  _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandlerHttps  _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandler
Https _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandler
 
Https _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandler
Https  _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandlerHttps  _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandler
Https _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandler
 
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
 
วันพ่อแห่งชาติ
วันพ่อแห่งชาติวันพ่อแห่งชาติ
วันพ่อแห่งชาติ
 
รอยยิ้มของในหลวง
รอยยิ้มของในหลวงรอยยิ้มของในหลวง
รอยยิ้มของในหลวง
 
sukanya boonsil
sukanya boonsilsukanya boonsil
sukanya boonsil
 
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docxสังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
 
พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
 
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จพระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
 
บุคคลสำคัญ ป.1+517+55t2his p01 f05-4page
บุคคลสำคัญ ป.1+517+55t2his p01 f05-4pageบุคคลสำคัญ ป.1+517+55t2his p01 f05-4page
บุคคลสำคัญ ป.1+517+55t2his p01 f05-4page
 
บุคคลสำคัญ ป.1+517+55t2his p01 f05-1page
บุคคลสำคัญ ป.1+517+55t2his p01 f05-1pageบุคคลสำคัญ ป.1+517+55t2his p01 f05-1page
บุคคลสำคัญ ป.1+517+55t2his p01 f05-1page
 
สไลด์ บุคคลสำคัญ+517+dltvhisp1+55t2his p01 f05-4page
สไลด์  บุคคลสำคัญ+517+dltvhisp1+55t2his p01 f05-4pageสไลด์  บุคคลสำคัญ+517+dltvhisp1+55t2his p01 f05-4page
สไลด์ บุคคลสำคัญ+517+dltvhisp1+55t2his p01 f05-4page
 
088+hisp1+dltv54+541129+a+สไลด์ บุคคลสำคัญ (1 หน้า)
088+hisp1+dltv54+541129+a+สไลด์ บุคคลสำคัญ (1 หน้า)088+hisp1+dltv54+541129+a+สไลด์ บุคคลสำคัญ (1 หน้า)
088+hisp1+dltv54+541129+a+สไลด์ บุคคลสำคัญ (1 หน้า)
 
สไลด์ บุคคลสำคัญ+517+dltvhisp1+55t2his p01 f05-1page
สไลด์  บุคคลสำคัญ+517+dltvhisp1+55t2his p01 f05-1pageสไลด์  บุคคลสำคัญ+517+dltvhisp1+55t2his p01 f05-1page
สไลด์ บุคคลสำคัญ+517+dltvhisp1+55t2his p01 f05-1page
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
วันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
 วันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว วันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
วันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
 
Https _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandler
Https  _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandlerHttps  _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandler
Https _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandler
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 

More from sangkeetwittaya stourajini

ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาsangkeetwittaya stourajini
 
ประวัติพระพุทธเจ้า
ประวัติพระพุทธเจ้าประวัติพระพุทธเจ้า
ประวัติพระพุทธเจ้าsangkeetwittaya stourajini
 
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยรำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยsangkeetwittaya stourajini
 
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์sangkeetwittaya stourajini
 

More from sangkeetwittaya stourajini (20)

พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
พระไตรปิฏก
พระไตรปิฏกพระไตรปิฏก
พระไตรปิฏก
 
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
 
ประวัติพระพุทธเจ้า
ประวัติพระพุทธเจ้าประวัติพระพุทธเจ้า
ประวัติพระพุทธเจ้า
 
ชาดก
ชาดกชาดก
ชาดก
 
ละครรำ
ละครรำละครรำ
ละครรำ
 
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยรำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
 
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
 
โขน
โขนโขน
โขน
 
Dance
DanceDance
Dance
 
Thai music2
Thai music2Thai music2
Thai music2
 
Thai music3
Thai music3Thai music3
Thai music3
 
Thai music4
Thai music4Thai music4
Thai music4
 
Thai music6
Thai music6Thai music6
Thai music6
 
Thai music7
Thai music7Thai music7
Thai music7
 
Thai music8
Thai music8Thai music8
Thai music8
 
Thai music9
Thai music9Thai music9
Thai music9
 
Thai music10
Thai music10Thai music10
Thai music10
 
Thai music11
Thai music11Thai music11
Thai music11
 
Thai music12
Thai music12Thai music12
Thai music12
 

ราชสดุดีคีตมหาราชา

  • 1. ราชสดุดีคีตมหาราชา พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชสมภพ ณ โรงพยาบาลเมานท์ออเบอร์น (Mount Auburn)เมืองเคมบริดจ์ (Cambridge) รัฐแมสสาชูเซตต์ (Massachusetts) สหรัฐอเมริกา เมื่อวันจันทร์ เดือนอ้าย ขึ้น ๑๒ ค่า ปีเถาะ นพศก จุลศักราช ๑๒๘๙ ตรงกับวันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๗๐ มีพระนามเดิมว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดช เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระราชบิดา เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (พระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลง กรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี) และสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ ซึ่งภายหลังทั้งสองพระองค์ได้รับการเฉลิมพระนามภิไธยเป็น สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ที่ ๖ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๖๖ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ กับ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล เสด็จพระราชสมภพเมื่อวัน อาทิตย์ที่ ๒๐ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๖๘ ณ เมืองไฮเดลแบร์ก ประเทศเยอรมนี เมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๑ ได้โดยเสด็จสมเด็จพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสาเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยม จากมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด สหรัฐอเมริกา กลับประเทศไทย ประทับ ณ วังสระประทุม ต่อมาในวันที่ ๒๔ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๗๒ สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันทรงเจริญพระชนมายุได้ไม่ถึง ๒ ปี และเมื่อมีพระชนมายุได้ ๕ ปี ได้ทรงเข้ารับการศึกษาขั้นต้น ณ โรงเรียนมาแตร์เดอี กรุงเทพฯ จนถึง พ.ศ. ๒๔๗๖ จึงเสด็จพระราชดาเนินไปประทับ ณ เมืองโลซานน์ ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี พระเชษฐภคินี และสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เพื่อทรงศึกษาต่อในชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียน Ecole Nouvelle de la Suisse Romande, Chailly-sur-Lausanne เมื่อทรงรับประกาศนียบัตร Bachlier esLettres จาก Gymnase Classique Cantonal แห่งเมืองโลซานน์แล้ว ทรงเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยโลซานน์ โดยทรงเลือกศึกษาในแขนงวิชาวิทยาศาสตร์ ในพุทธศักราช ๒๔๗๗ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ ๘ แห่งบรมราชจักรีวงศ์ เมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๘ และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดช จึงทรงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช และได้โดยเสด็จพระราชดาเนินสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล นิวัตประเทศไทยเป็น
  • 2. ครั้งแรกในพุทธศักราช ๒๔๘๑ โดยประทับ ณ พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต เป็นการชั่วคราว แล้วเสด็จพระราชดาเนินกลับไปประเทศสวิสเซอร์แลนด์ จนถึงพุทธศักราช ๒๔๘๘ ครั้งนี้ประทับ ณ พระที่นั่งบรมพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง ในวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๘๙ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เสด็จสวรรคตโดยกะทันหัน ณ พระที่นั่งบรมพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช จึงเสด็จขึ้นครองราชย์สมบัติสืบราชสันตติวงศ์ในวันเดียวกันนั้น แต่เนื่องจากยังมีพระรา ชกิจด้านการศึกษา จึงต้องทรงอาลาประชาชนชาวไทยเสด็จพระราชดาเนินกลับไปยังประเทศสวิสเซอร์แลนด์อีกครั้งหนึ่ง ในเดือนสิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๙ เพื่อทรงศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยแห่งเดิม ในครั้งนี้ทรงเลือกศึกษาวิชากฎหมายและวิชารัฐศาสตร์แทนวิชาวิทยาศาสตร์ที่ทรงศึกษาอยู่เดิม ระหว่างที่ทรงประทับศึกษาอยู่ต่างประเทศนั้น ทรงพบกับ หม่อมราชวงศ์ สิริกิติ์ กิติยากร ธิดาใน หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร กับ หม่อมหลวงบัว (สนิทวงศ์) กิติยากร (ภายหลังพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้สถาปนาพระอิสริยยศ หม่อมเจ้านักขัตรมงคล ฯ ขึ้นเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล เมื่อพุทธศักราช ๒๔๙๓ และขึ้นเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามว่า พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ เมื่อพุทธศักราช ๒๔๙๕) ต่อมาทรงหมั้นกับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ในวันที่ ๑๙ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๔๙๒ ณ เมืองโลซานน์ ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ในพุทธศักราช ๒๔๙๓ เสด็จพระราชดาเนินนิวัติพระนคร ประทับ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ในเดือนมีนาค ม พุทธศักราช ๒๔๘๓ ต่อมาในวันที่ ๒๘ เมษายน ปีเดียวกัน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้จัดการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสกับ หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ณ พระตาหนัก สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ในวังสระปทุม ซึ่งในการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสนี้ มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้สถาปนาหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ ในวันที่ ๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกตามแบบอย่างโบราณราชประเพณีขึ้น ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง เฉลิมพระบรมนามาภิไธยตามที่จารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภุมิพลอดุลยเดช ม หิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร พร้อมทั้งพระราชทานพระปฐมบรมราชโองการว่า “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม”
  • 3. และในโอกาสนี้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ สถาปนาเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ ขึ้นเป็น สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี หลังจากเสร็จการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้วได้เสด็จพระราชดาเนินไปทรงรักษาพระสุขภาพ ณ เมืองโลซานน์ ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ตามที่คณะแพทย์ได้ถวายคาแนะนา และระหว่างที่ประทับในเมืองโลซานน์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี มีพระประสูติกาลพระราชธิดาพระองค์แรก คือ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตน์ราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ซึ่งประสูติณ โรงพยาบาลมองซัวซีส์ เมืองโลซานน์ เมื่อวันที่ ๕ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๔ และเมื่อสมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระองค์แรกเจริญพระชันษาได้ ๗ เดือน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดาเนินนิวัตพระนคร ประทับ ณ พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต จากนั้นทรงย้ายไปประทับ ณ พระที่นั่งอัมพรสถานวังดุสิต เนื่องจากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ปรับปรุงพระตาหนักจิตรลดารโหฐานสาหรับเป็นที่ประทับแทนการที่รัฐบาลจะจัดสร้างพระตาหนักขึ้นใหม่ และที่พระที่นั่งอัมพรสถานนี้เอง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี มีพระประสูติกาลพระราชโอรสและ พระราชธิดาอีก ๓ พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ์ ประสูติเมื่อวันจันทร์ที่ ๒๘ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๔๙๕ ในพุทธศักราช ๒๕๑๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ สถาปนาขึ้นเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ์ สยามมกุฏราชกุมาร สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนราชสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์ ประสูติเมื่อวันเสาร์ที่ ๒ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๘ ในพุทธศักราช ๒๕๒๐ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ สถาปนาขึ้นเป็น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยะชาติ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๔ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๐๐พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระผนวชเมื่อวันที่ ๒๒ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๙๙ ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง และประทับจาพรรษา พระตาหนักปั้นหย่า วัดบวรนิเวศวิหาร มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สาเร็จราชการ ทรงปฏิบัติราชการแผ่นดินแทนพระองค์ตลอดระยะเวลา ๑๕ วัน ที่ทรงพระผนวชอยู่ จากการที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจในตาแหน่งผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ได้อย่างเรียบร้อยเป็นที่พอพ ระพระราชหฤทัย จึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ สถาปนาขึ้นเป็น สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในปีเดียวกันนั้นเอง และในวันที่ ๓๑ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๐๐
  • 4. หลังจากทรงประกอบพิธีเฉลิมพระตาหนักจิตรลดารโหฐานซึ่งได้ต่อเติมขึ้นใหม่แล้ว ทรงย้ายที่ประทับจากพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต กลับไปประทับที่พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต สืบมา ระหว่างพุทธศักราช ๒๕๐๒ ถึง ๒๕๑๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระราชดาเนินเยือนต่างประเทศทั้งในเอเชีย ยุโรป และสหรัฐอเมริกา เพื่อเป็นการเจริญสัมพันธไมตรีรวม ๒๘ ประเทศ นอกจากนั้นก็ได้ทรงต้อนรับพระราชอาคันตุกะที่เป็นประมุขของประเทศต่างๆ อยู่เนือง ๆพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงบาเพ็ญพระราชกรณียกิจน้อยใหญ่ นับตั้งแต่พระราชพิธีสาคัญ ของบ้านเมือง พระราชพิธีและการพระราชกุศลทางพระพุทธศาสนา และที่สาคัญยิ่งคือการเสด็จพระราชดาเนินเยี่ยมราษฎรทั่วทุกภูมิภาค รวมทั้งท้องถิ่นที่ทุรกันดารห่างไกลความเ จริญอย่างมิทรงเห็นแก่ความ เหน็ดเหนื่อย นอกจากจะได้ทอดพระเนตรสภาพความเป็นอยู่และปัญหาอันแท้จริงของแต่ละพื้นที่แล้ว ยังทรงพระราชทานความช่วยเหลือ และทรงนาโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริมาใช้ในการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของราษฎร ซึ่งครอบคลุมเนื้อหาที่หลากหลายทุกด้านกว่า ๓,๐๐๐ โครงการ โครงการเหล่านี้มีทั้งที่ทรงดาเนินการด้วยพระองค์เอง และทรงมอบหมายให้หน่วยราชการ หรือองค์กรเอกชนดาเนินการและขยายผลให้กว้างขวางออกไป นับได้ว่าเป็นการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงปฏิบัติพระราชภารกิจในฐานะที่ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ในระบอ บประชาธิปไตยอย่างงดงาม โดยทรงดารงอยู่ในคุณธรรมอันควรแก่พระมหากษัตราธิราชอันมีทศพิธราชธรรมเป็ นอาทิ สมดังพระราชปณิธานนับตั้งแต่ต้นรัชกาล ครั้นถึงพุทธศักราช ๒๕๑๓ อันเป็นวาระครบ ๑๕ ปีแห่งการครองราชย์ รัฐบาลจึงจัดให้มีพระราชพิธีเฉลิมฉลองเรียกว่า รัชดาภิเษกสมโภช พร้อมทั้งอาณาประชาราษฎร์ก็ได้ร่วมเฉลิมฉ ลองโดยถ้วนหน้าเมื่อ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเจริญพระชนมายุครบ ๕ รอบ เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๓๐ รัฐบาลและประชาชนรู้สึกปลาบปลื้มปีติเป็นยิ่งนัก จึงจัดให้มีการเฉลิมฉลองครั้งสาคัญ คือ พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ และต่อมาอีกปีหนึ่ง ก็มีการฉลองอภิลักขิตสมัยอีกครั้งคือ พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติคุณที่ทรงได้ครองร าชย์มายาวนานกว่าพระมหากษัตริย์พระองค์ใดในประวัติศาสตร์ชาติไทย พระราชกรณียกิจดาเนินต่อมาอีกจนถึงพุทธศักราช ๒๕๓๘ วาระแห่งการดารงอยู่ในสิริราชสมบัตินับได้ถึง ๕๐ ปี รัฐบาลก็ได้ประกาศให้เป็นช่วงเวลาแห่งการเฉลิมฉลองมงคลวาระกันทั่วทั้งประเทศตลอด ๒ ปี เต็ม นับตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๓๘ เป็นต้นไป จนสิ้นปีพุทธศักราช ๒๕๓๙ โดยองค์กรทุกภาคส่วน ทั้งของราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรเอกชน พ่อค้าประชาชนทุกหมู่เหล่า มีส่วนร่วมในการทากิจกรรมอย่างกว้างขวาง และในวันที่
  • 5. ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๓๙ ก็จัดให้มีพระราชพิธีกาญจนาภิเษกสมโภช ณ พระที่นั่งกาญจนาภิเษก มณฑลท้องพิธีสนามหลวง นับได้ว่าเป็นการเฉลิมฉลองมหามงคลวโรกาสอันยิ่งใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งของชาติไทย ครั้นกาลเวลาล่วงมาอีก ๑๐ ปี ชาวไทยและชาวโลกก็ได้ตระหนักรู้อีกครั้งหนึ่งในพระเกียรติคุณที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงบาเพ็ญเพื่อ ประเทศชาติและประชาชนมาโดยตลอดเวลาอันยาวนาน ดังที่ประจักษ์กันทั่วไปว่าทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงครองสิริราชสมบัติยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์พระองค์ใ ดใน สยามประเทศ และยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์พระองค์ใดในโลกปัจจุบัน ด้วยเหตุดังกล่าว เนื่องในมหามงคลวโรกาสที่ทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี จึงนับว่าเป็นเหตุการณ์ที่ตราตรึงอยู่ในจิตใจของพสกนิกรไทยทุกหมู่เหล่า ตลอดถึงผู้ที่เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารอย่างมิรู้ลืมยิ่งกว่าครั้งใด ในวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๔๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงประกอบพระราชพิธีอันเนื่องจากการฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม และในพระบรมมหาราชวัง โดยลาดับ จากนั้นก็ได้เสด็จออกมหาสมาคม ณ สีหบัญชรพระที่นั่งอนันตสมาคม เพื่อให้พสกนิกรนับแสนได้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทด้วยความจงรักภักดี และปลาบปลื้มในพระมหากรุณาธิคุณอันล้นพ้นหาที่สุดมิได้ โดยมีเหตุการณ์ที่น่าประทับใจอีกประการหนึ่งก็คือ มีพระประมุขและพระราชวงศ์ต่างประเทศ หรือผู้แทนของประเทศต่างๆ ทั่วโลก ๒๕ ประเทศ เสด็จพระราชดาเนินมาร่วมชุมนุมถวายพระพรในมงคลวโรกาสครั้งนี้อย่างสมพระเกียรติจวบจนถึงปัจจุบัน ตลอดระยะเวลาอันยาวนานกว่า ๖ ทศวรรษที่ทรงครองแผ่นดินโดยธรรม นับตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๔๙๓ เป็นต้นมานั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจนานัปการอันเป็นคุณประโยชน์ยิ่งแก่ พสกนิกรชาวไทยอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ ความเป็นปึกแผ่นของชาติโดยทรงมุ่งเน้นที่จะบาบัดทุกข์บารุงสุขข องอาณาประชาราษฎร์เป็นสาคัญ ยังผลให้เกิดความรุ่งเรืองและปึกแผ่นของชาติตลอดระยะเวลาอันยาวนาน นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณ ล้นเกล้าล้นกระหม่อมต่อประเทศชาติและประชาชนชาวไทยอย่างหาที่เปรียบมิได้ เนื่องจากโดยส่วนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระปรีชาสามารถรอบรู้หลายสาขา จึงทรงมีผลงานทั้งด้านกีฬา ด้านงานประดิษฐ์คิดค้น ทางการช่างและเทคโนโลยี และด้านงานสร้างสรรค์ทางศิลปะแขนงต่างๆ อาทิ ภาพวาดฝีพระหัตถ์ งานพระราชนิพนธ์ทางอักษรศาสตร์ งานพระราชนิพนธ์ทางดนตรี เป็นต้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับการดนตรี
  • 6. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงเป็นสังคีตกวีและนักดนตรีที่ชาวโลกยกย่อง ทรงพระปรีชาสามารถในการทรงดนตรี ทรงพระราชนิพนธ์เพลง แยกและเรียบเรียงเสียงประสาน ทรงเป็นครูสอนดนตรีแก่ข้าราชบริพารใกล้ชิด และทรงซ่อมเครื่องดนตรีได้ด้วย ตลอดจนทรงเชี่ยวชาญในศิล ปะแขนงต่างๆ อย่างแท้จริง สมกับที่พสกนิกรชาวไทยน้อมเกล้าฯ ถวายพระราชสมัญญา “อัครศิลปิน” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเริ่มเรียนดนตรีเมื่อมีพระชนมายุ ๑๓ พรรษา ขณะที่ประทับอยู่ที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ กับครูชาวอัลซาส ชื่อ นายเวย์เบรชท์ โดยทรงเรียนการเป่า แซกโซโฟน วิชาการดนตรี การเขียนโน้ต และการบรรเลงดนตรีสากลต่างๆในแนวดนตรีคลาสสิค เป็นเบื้องต้น ต่อมาจึงเริ่มฝึกดนตรีแจ๊ส โดยทรงหัดเป่าแซกโซโฟนสอดแทรกกับแผ่นเสียงของนักดนตรีที่มีชื่อเสียงได้เป็นอย่างดี เช่น Johnny Hodges และ Sidney Berchet เป็นต้น จนทรงมีความชานาญ สอดแทรกกับแผ่นเสียงของนักดนตรีที่มีชื่อเสียงได้เป็นอย่างดี และทรงโปรดดนตรีประเภท Dixieland Jazz เป็นอย่างมาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเครื่องดนตรีได้ดีหลายชนิด ทั้งประเภทเครื่องลม เช่น แซกโซโฟน คลาริเนต และประเภทเครื่องทองเหลือง เช่น ทรัมเป็ต รวมทั้งเปียโน และกีตาร์ ที่ทรงฝึกเพิ่มเติมในภายหลัง เพื่อประกอบการพระราชนิพนธ์เพลง และเพื่อทรงดนตรีร่วมกับวงดนตรีส่วนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเริ่มพระราชนิพนธ์เพลงเมื่อมีพระชนมพรรษาได้ ๑๘ พรรษา ในปีพุทธศักราช ๒๔๘๙ ทรงพระราชนิพนธ์ทานองเพลง “แสงเทียน” เป็นเพลงพระราชนิพนธ์เพลงแรก และจนถึงปัจจุบันมีเพลงพระราชนิพนธ์ทั้งสิ้น ๔๘ เพลง ทุกเพลงล้วนมีทานองไพเราะประทับใจผู้ฟัง สอดคล้องกับเนื้อร้อง ซึ่งมีคตินานัปการ และเป็นส่วนสาคัญส่วนหนึ่งของชีวิตคนไทย ในยามที่บ้านเมืองไม่สงบสุข ก็พระราชทานเพลงปลุกใจเพื่อเป็นขวัญกาลังใจแก่ข้าราชการ ทหาร พลเรือน และประชาชน ผู้ปฏิบัติหน้าที่เพื่อประเทศชาติ มิให้เกิดความย่อท้อในการทาความดีต่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ต่อตนเองและสังคม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงใช้ดนตรีให้เป็นประโยชน์ทางอ้อมในหลายด้าน อาทิ ทรงใช้เครื่องดนตรีเป็นสื่อผูกพันสถาบันพระมหากษัตริย์กับนิสิตนักศึกษา โดยเสด็จ ฯ ไปทรงดนตรีร่วมกับนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัยต่างๆ อยู่นานกว่า ๑๐ ปี ในคราวเสด็จเยือนต่างประเทศ ก็ทรงใช้ดนตรีเป็นสื่อกระชับสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศกับนานาประเทศได้อย่างแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น พระปรีชาสมารถด้านดนตรีในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นที่ชื่นชมของชาวต่างประเทศ จนกระทั่งปีพ.ศ ๒๕๐๗ สถาบันการดนตรีและศิลปะการแสดงแห่งกรุงเวียนนา (ปัจจุบันเปลี่ยนฐานะเป็นมหาวิทยาลัยการดนตรีและศิล ปะการแสดง) ได้ทูลเกล้า ฯ ถวายประกาศนียบัตร และสมาชิกกิตติมศักดิ์ลาดับที่
  • 7. ๒๓ แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระบรมนามาภิไธย “ภูมิพลอดุลยเดช” ปรากฏอยู่บนแผ่นจาหลักหินของสถาบัน ทรงเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ที่มีอายุน้อยที่สุด และเป็นชาวเอเชียเพียงผู้เดียวที่ได้รับเกียรติอันสูงสุดนี้ พระอัจฉริยภาพด้านดนตรีในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นที่ชื่นชมไม่เพียงในประเทศไทยเท่านั้น นักดนตรีต่างประเทศทั่วโลกก็ชื่นชม และยอมรับในพระอัจฉริยภาพนี้ นอกจากจะทรงพระปรีชาสามารถในการพระราชนิพนธ์เพลงและทรงดนตรีแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ยั งทรงเป็น “ครูใหญ่” สอนดนตรีแก่ แพทย์ ราชองครักษ์ และ ข้าราชการผู้ปฏิบัติราชการใกล้ชิดพระยุคลบาทในช่วงที่เสด็จเยี่ยมราษฎรในภูมิภาคต่างๆ ตลอดจนข้าราชบริพารในพระองค์ซึ่งส่วนใหญ่เล่นดนตรีไม่เป็นเลย จนเล่นดนตรีเป็น อ่านโน้ตได้ และสามารถบรรเลงในโอกาสพิเศษต่างๆ ได้ ต่อมาจึงได้เกิดแตรวง “วงสหายพัฒนา” โดยมีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นหัวหน้าวง ในด้านดนตรีไทย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชประสงค์ที่จะอนุรักษ์ดนตรีไทยและนาฏยศิลป์ ไ ทยไว้ให้คงอยู่คู่ชาติไทยตลอดไป โดยมีพระราชกระแสรับสั่งให้นักดนตรีไทยช่วยกันรักษาระดับเสียงของดนตรีไทยไว้เพื่อเป็นมาตรฐานของวงดนต รีรุ่นหลัง ได้พระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์ให้กรมศิลปากรจัดพิมพ์หนังสือ “โน้ตเพลงไทย เล่ม ๑” เพื่อรวบรวมและรักษาศิลปะทางดนตรีไทยไว้ให้เป็นหลักฐานและมาตรฐานต่อไป และทรงสนับสนุนให้มีการค้นคว้าวิจัยบันไดเสียงของดนตรีไทย โดยใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ นอกจากนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้จัดพิธีครอบประธานครูโขนละคร และต่อ กระบวนราเพลงหน้าพาทย์องค์พระพิราพ ซึ่งเป็นเพลงหน้าพาทย์ชั้นสูงในวิชาดนตรีและนาฏยศิลป์ ไทยอี กด้วย ซึ่งกิจกรรมทั้ง ๒ อย่างนั้น ดาเนินมาจนถึงจุดที่ใกล้จะสูญสิ้นแล้ว จึงนับได้ว่าทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่อนุรักษ์ศิลปะของไทยเพื่อให้เป็นมรดกของชาติสืบต่อไป พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นสังคีตกวีแห่งราชวงศ์จักรีพระองค์นี้ ทรงบาเพ็ญพระราชกรณียกิจ “เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม”แม้ด้านดนตรีก็มิได้เว้น มีเรื่องเล่ากันมาว่า นักดนตรีเอกของโลกได้กล่าวถึงพระปรีชาสามารถในการทรงดนตรีว่า หากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มิได้ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ก็จะต้องทรงเป็นพระราชานักดนตรีของโลก แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นทั้งพระมหากษัตริย์ และทรงเป็นนักดนตรีได้พร้อมกัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีความสนพระราชหฤทัยในด้านดนตรีมาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ ดังที่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา
  • 8. กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ในบทพระนิพนธ์ “เจ้านายเล็กๆยุวกษัตริย์” ความตอนหนึ่ง ว่า “เมื่อถึงเวลาสนพระทัยแผ่นเสียงก็แข่งกันอีก รัชกาลที่ ๘ ทรงเลือก Louis Armstrong, Sidney Berchet รัชกาลที่ ๙ ทรงเลือก Duke Ellington Count Banc เกี่ยวกับการซื้อแผ่นเสียงนี้ ถ้าเป็นแจ๊สต้องซื้อเอง ถ้าเป็นคลาสสิคเบิกได้” “สิ่งที่ทรงเล่นมาด้วยกันเป็นเวลานานคือดนตรี รัชกาลที่ ๘ ทรงเริ่มด้วยเปียโนเพราะเห็นข้าพเจ้าเรียนอยู่ รัชกาลที่ ๙ ขอเล่นหีบเพลง (accordion) เรียนอยู่ไม่กี่ครั้งก็ทรงเลิก “เพราะไม่เข้ากับเปียโน” แล้วรัชกาลที่ ๘ ก็ทรงเลิกเรียนเปียโนไป เมื่ออยู่อาโรซ่า เวลาหน้าหนาว ได้ทอดพระเนตรวงดนตรีวงใหญ่ที่เล่นอยู่ที่โรงแรม รู้สึกอยากเล่นกัน ทรงหาแซกโซโฟนที่เป็นของใช้แล้ว (secondhand) มาได้ ราคา ๓๐๐ แฟรงค์ แม่ออกให้ครึ่งหนึ่งและสโมสรปาตาปุมออกให้อีกครึ่งหนึ่ง เมื่อครูมาสอนที่บ้าน รัชกาลที่ ๘ ทรงดันพระอนุชาเข้าไปในห้องเรียน รัชกาลที่ ๙ จึงเป็นผู้ริเริ่ม เมื่อเรียนไปแล้ว ๒-๓ ครั้ง รัชกาลที่ ๘ ทรงซื้อแคลริเน็ต (clarinet) ส่วนพระองค์วันเรียน ครูสอนองค์ละ ๓๐ นาที แล้วครูก็เอาแซกโซโฟน (saxophone) ของเขาออกมาและเล่นด้วยกันทั้ง ๓ เป็น Trio” ครูสอนดนตรี ซึ่ง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงเล่าไว้นี้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ในบทพระราชนิพนธ์ “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาดนตรี”เ ช่นกัน มีความว่า “....ครูสอนดนตรีชื่อนายเวย์เบรชท์ (Weybrecht) เป็นชาวอัลซาส (Alsace) ซึ่งเป็นแคว้นของฝรั่งเศสที่พูดภาษาเยอรมัน เวลาพูดภาษาฝรั่งเศสยังมีสาเนียงภาษาเยอรมันติดมาบ้าง นายเวย์เบรชท์ทางานอยู่ร้านขายเครื่องดนตรี (ขายทุก ๆ ยี่ห้อ) และยังเป็นนักเป่าแซกโซโฟนอยู่ในวงของสถานีวิทยุ เขาเล่นดนตรีได้หลายอย่าง รวมทั้งแคลริเน็ตด้วย...นอกจากการเล่นดนตรีแล้ว ครูยังสอนวิชาการดนตรีให้ด้วย รวมทั้งการเขียนโน้ตสากลต่าง ๆ ” ในบทพระราชนิพนธ์ “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาดนตรี” ยังทรงเล่าความเกี่ยวกับความสนพระรา ชหฤทัยในการทรงศึกษาเครื่องดนตรีชนิดอื่น ๆ ได้แก่ แตร เปียโน กีตาร์ และขลุ่ยดังนี้ “...สาหรับแตรนั้นสนพระราชหฤทัยจึงไปเช่ามาเป็นแตรคอร์เน็ต อีกหลายปีจึงทรงซื้อเอง ดูเหมือนว่าแตรทรัมเป็ตเครื่องแรกที่ทรงซื้อจะเป็นแตรยี่ห้อเซลเมอร์ สั่งซื้อจากอังกฤษ แต่เป็นของฝรั่งเศส (เครื่องนี้พระราชทานวงสุนทราภรณ์ไป) จึงซื้อใหม่ยี่ห้อเซลเมอร์เหมือนกัน ครูเวย์เบรชท์บอกว่าแตรดีที่สุดคือยี่ห้อกูร์ตัว แต่ไม่ได้ทรงซื้อ...” “… สาหรับเครื่องดนตรีต่างๆที่ทรงเล่น มีเปียโน ไม่เคยทรงเรียนจริงจังจากใคร เล่นเอาเอง ดูโน้ต เรียนวิธีประสานเสียง กีตาร์ ทรงเล่นเมื่อพระชนม์ราว ๑๖ พรรษา เพื่อนที่โรงเรียนเป็นรุ่นพี่อายุมากกว่า
  • 9. ให้ยืมเล่น ภายหลังไปเอาคืน เขาเห็นว่าสนใจจึงให้เลย ขลุ่ย ทรงเล่นเมื่อพระชนม์ประมาณ ๑๖-๑๗ พรรษา เห็นว่าราคาไม่แพงนัก เล่นไม่ยาก นิ้วคล้ายๆแซกโซโฟน...ตอนหลังเคยเห็นทรงเล่นไวโอลินด้วย คิดว่าทรงเล่นเอาเองไม่มีครูสอนดนตรี …” นอกจากจะทรงศึกษาวิชาดนตรีจากพระอาจารย์ชาวต่างประเทศในต่างประเทศ แต่เมื่อยังทรงพระเยาว์แล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงได้รับการแนะนาการดนตรีจาก พระเจนดุริยางค์ ชาวต่างชาติที่เข้ามารับราชการในประเทศไทย ดังที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระราชนิพนธ์ไว้เช่นกันว่า “...คุณพระเจนดุริยางค์ เป็นอีกท่านที่กราบบังคมแนะนาเกี่ยวกับดนตรี โปรดคุณพระเจน ฯม าก ทรงพิมพ์ตาราที่คุณพระเจน ฯ ประพันธ์ขึ้นทุกเล่ม ระหว่างการพิมพ์และตรวจปรู๊ฟได้ความรู้เกี่ยวกับดนตรีมาก ส่วนไหนที่ไม่เข้าพระทัยก็มีรับสั่งถามคุณพระเจน ฯ เรื่องการพิมพ์หนังสือนี้คุณแก้วขวัญ วัชโรทัย เลขาธิการพระราชวังคนปัจจุบันทราบดี เพราะเป็นผู้ที่ทรงมอบหมายให้ดาเนินการ ได้ทราบว่าคุณพระเจน ฯ ก็ปรารภว่า ในด้านทฤษฎีไม่ทรงทราบมากนัก แต่ทาไมเคาะเสียงถูกต้องทุกที “ นอกจากทรงเล่นดนตรีแล้ว ยังทรงสอนดนตรีให้ผู้อื่นเล่นด้วย เคยเล่าพระราชทานว่า “ได้สอนคนตาบอดเล่นดนตรี สอนลาบากเพราะเขาไม่เห็นท่าทาง เมื่อพยายามอธิบายจนเข้าใจสามารถเป่าออกมาเป็นเพลงไพเราะได้ หรือแม้แต่โน้ตเดียวในตอนแรก ดูสีหน้าเขาแสดงความพอใจและภูมิใจมาก” ทรงแนะนาวิธีการเล่นดนตรีพระราชทานผู้อื่นที่มาเล่นดนตรีถวาย หรือเล่นร่วมวง ดูเหมือนจะเคยมีรับสั่งว่า การเล่นดนตรีทาให้เกิดความสามัคคีเป็นนักดนตรีเหมือนกัน ในส่วนที่ทรงพระราชนิพนธ์เพลงนั้น ทรงเริ่มอย่างจริงจังเมื่อมีพระชนมายุ ๑๘ พรรษา ขณะเมื่อยังทรงดารงพระยศเป็นสมเด็จพระอนุชาตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เสด็จนิวั ตพระนคร เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๘๘ ดังที่พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ บันทึกความไว้ดังนี้ “๕ ธันวาคม ๒๔๘๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๘ เสด็จนิวัตสู่ประเทศไทยพร้อมสมเด็จพระอนุชา และสมเด็จพระราชชนนีประทับ ณ พระที่นั่งบรมพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง ได้โปรดเกล้า ฯ ให้เข้าเฝ้าในฐานะนักแต่งเพลงสมัครเล่น ได้นาโน้ตที่ได้แต่งไว้แล้วถวายทอดพระเนตร พระราชทานข้อแนะนาเกี่ยวกับการแต่งเพลงประเภทบลูส์ โดยทรงเปียโนสาธิตให้ฟัง และสมเด็จพระอนุชามาใส่คาร้อง เพลงแสงเทียน ยามเย็น สายฝน ตามลาดับ แต่เพลงยามเย็นและเพลงสายฝนได้นาออกสู่ประชาชนก่อนเพลงแสงเทียน โดยพระราชทานให้ออกบรรเลงในงานลีลาศที่สวนอัมพรโดยวงดนตรีของกรมโฆษณาการ (กรมประชาสัมพันธ์) ควบคุมวงโดย เอื้อ สุนทรสนาน และออกอากาศทางวิทยุ กรมโฆษณาการเป็นประจา เป็นที่ซาบซึ้ง และประทับใจพสกนิกรอย่างมาก....”
  • 10. “..จากนั้นฉันก็แต่งขึ้นอีกเรื่อยๆ จนบัดนี้รวมทั้ง ๔๐ เพลง ในระยะเวลา ๒๐ ปี คิดเฉลี่ยปีละ ๒ เพลง ที่ทาได้ก็เพราะได้รับการสนับสนุนจากนักดนตรี นักเพลงและนักร้อง รวมทั้งประชาชนผู้ฟังต่างก็แสดงความพอใจและความนิยมพอควร จึงเป็นกาลังใจให้แก่ฉันเรื่อยมา...” เพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงพระราชนิพนธ์ทานองเพลงแล้วจึงใส่คาร้องภาษาอังก ฤษด้วยพระองค์เองได้แก่Echo, Still on My Mind, Old Fashioned Melody, No Moon และ Dream Island ที่ทรงพระราชนิพนธ์ทานองจากคาร้องภาษาไทย ได้แก่ เพลงความฝันอันสูงสุด และเราสู้ นอกจากนั้น ก็เป็นส่วนหนึ่งที่ทรงพระราชนิพนธ์ทานอง และโปรดเกล้า ฯ ให้มีผู้แต่งคาร้องประกอบเพลงพระราชนิพนธ์หลายท่าน ได้แก่ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงนพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร ท่านผู้หญิงสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา นายศุภร ผลชีวิน นายจานง ราชกิจ (จรัล บุณยรัตนพันธุ์) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค เพลงพระราชนิพนธ์ ระหว่างปีพุทธศักราช ๒๔๘๙-๒๕๓๘ มี ๔๘ เพลง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีความรู้อย่างแตกฉานในทฤษฎีการประพันธ์ ทรงเป็นผู้นาในด้านการประพันธ์ทานองเพลงสากลของเมืองไทย โดยทรงใส่คอร์ดดนตรีที่แปลกใหม่และซับซ้อนทาให้เกิดเสียงประสานที่เข้มข้นในดนตรี เมื่อประกอบกับลีลาจังหวะเต้นราที่หลากหลาย ทาให้ทรงพระราชนิพนธ์เพลงบรรเลงได้อย่างไพเราะหลายบท กลายเป็นเพลงอมตะของไทยในปัจจุบัน นอกจากนี้ยังทรงมีจินตนาการสร้างสรรค์ไม่ซ้าแบบผู้ใด และแปลกใหม่อยู่ตลอดเวลา เพลงพระราชนิพนธ์แต่ละเพลงนั้น ล้วนแสดงออกถึงพระมหากรุณาธิคุณที่มีต่อพสกนิกรทุกหมู่เหล่าโดยถ้วนหน้า เช่น เพลงยามเย็น พระราชทานแก่สมาคมปราบวัณโรค เพื่อนาออกแสดงเก็บเงินบารุงการกุศล เพลงใกล้รุ่ง บรรเลงเป็นปฐมฤกษ์ในงานของสมาคมเลี้ยงไก่แห่งประเทศไ ทย เพลงยิ้มสู้ พระราชทานแก่โรงเรียนสอนคนตาบอด เพลงลมหนาว พระราชทานในงานประจาปีของสมาคมนั กเรียนเก่าอังกฤษในพระบรมราชูปถัมภ์ เพลงพรปีใหม่ พระราชทานแก่พสกนิกรเนื่องในวันปีใหม่ เพลงเกิดเป็นไทยตายเพื่อไทย เพลงความฝันอันสูงสุด และเพลงเราสู้ พระราชทานแก่ผู้ปฏิบัติหน้าที่เพื่อประเทศชาติ Kinari Suite พระราชทานเพื่อใช้ประกอบการแสดงบัลเล่ต์ชุดมโนราห์ และมีเพลงประจาสถาบันที่ทรงพระกรุณาโปรดเ กล้า ฯ พระราชทาน ได้แก่ เพลงมหาจุฬาลงกรณ์ เพลงธรรมศาสตร์ เพลงเกษตรศาสตร์ เพลงธงชัยเฉลิมพล ราชวัลลภ และ ราชนาวิกโยธิน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้มีการรวมนักดนตรีสมัครเล่นมารวมกันตั้งเป็นวงขึ้นเป็นครั้งแ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน ประกอบด้วยพระราชวงศ์ผู้ใหญ่ที่ทรงคุ้นเคย และเมื่อโปรดเกล้า ฯ ให้จัดตั้งสถานีวิทยุ อ.ส. (อัมพร ๒๔๙๕ เพื่อให้เป็นสื่อกลางที่ให้ความบันเทิงและสาระประโยชน์ในด้านต่างๆ พระราชทานชื่อว่า “วงลายคราม” ก็ได้ม
  • 11. ต่อมาโปรดเกล้า ฯ ให้นักดนตรีรุ่นหนุ่มมาเล่นดนตรีร่วมกับวงลายคราม จึงเกิดเป็น วงดนตรี อ.ส.วันศุกร์ ขึ้น วงดนตรี อ.ส. วันศุกร์มีลักษณะพิเศษคือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงร่วมบรรเลงกับสมาชิกของวง ออกอากาศกระจายเสียงทางสถา ทรงเลือกแผ่นเสียงเองในระยะแรก บางครั้งก็โปรดเกล้า ฯ ให้มีการขอเพลง และจะทรงรับโทรศัพท์ด้วยพระองค์เองทุกวันศุก ยังเป็นวงดนตรีที่โปรดให้ไปร่วมบรรเลงในงาน “วันทรงดนตรี” ตามที่มหาวิทยาลัยต่างๆ กราบบังคมทูลเชิญเสด็จฯ เพื่อทรงส ก่อนที่จะยกเลิกไป เพราะทรงมีพระราชกรณียกิจเพิ่มมากขึ้น ในปีพุทธศักราช ๒๕๒๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงตั้งแตรวง “สหายพัฒนา” ขึ้นอีกวงหนึ่ง โดยโปรดฯให้รวบรวมผู้ปฏิบัติราชการใกล้ชิดเบื้องพระยุคลบาท และโดยเสด็จฯในการพัฒนาภูมิภาคต่าง ๆ เป็นประจา เช่น นักเกษตรหลวง คณะแพทย์อาสาสมัคร ข้าราชการในพระองค์ ราชองค์รักษ์ ตลอดจนเจ้าหน้าที่หน่วยรักษาความปลอดภัย ซึ่งส่วนใหญ่ไม่เคยเล่นดนตรีมาก่อน พระราชทานเวลาฝึกสอนในช่วงเวลาทรงออกพระกาลังในตอนค่าของทุกๆวัน ทรงตั้งแตรวงขึ้นสาเร็จ และยังคงเล่นดนตรีเป็นประจาทุกค่าของวันศุกร์ และวันอาทิตย์เป็นวันซ้อมร่วมกับนักดนตรี อ.ส.วันศุกร์ ณ สถานี อ.ส. และเกือบทุกเย็นกับวงสหายพัฒนา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา จนถึงปัจจุบัน พระปรีชาสามารถในการทรงดนตรีของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นที่ประจักษ์ในนานาประเทศ ดังที่จะเห็นจากการที่ทรงเข้าร่วมบรรเลงดนตรีกับวงดนตรีของประเทศต่าง ๆ ที่เสด็จพระราชดาเนินเยือน ไม่ว่าวงดนตรีนั้น ๆ จะมีการเล่นดนตรีในแบบใด โดยมิได้ทรงเตรียมพระองค์มาก่อน นักดนตรีที่มีชื่อเสียงของโลกล้วนถวายการยกย่องพระองค์ในฐานะทรงเป็นนักดนตรีแจ๊สผู้มีอัจฉริยภาพสูงส่ง ดังเช่น เมื่อครั้งเสด็จพระราชดาเนินประเทศออสเตรีย เมื่อเดือนตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๐๗ ประธานสถาบันการดนตรีและศิลปะแห่งกรุงเวียนนาได้ทูลเกล้า ฯ ถวายปริญญากิตติมศักดิ์แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในฐานะที่ทรงเป็นสมาชิกหมายเลข ๒๓ ซึ่งผู้ที่จะได้รับเกียรติเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์แห่งสถาบันนี้ได้ ส่วนใหญ่เป็นผู้มีอาชีพและผลงานด้านดนตรีและศิลปะดีเด่นเป็นที่ยอมรับของชาวโลกทั้งสิ้น ด้านการดนตรีนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มิได้ทรงละเลยดนตรีไทย อันเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมของชาติ ได้มีพระราชดาริให้มีการรวบรวมเพลงไทยเดิมขึ้นไว้ แล้วบันทึกโน้ตเพลงไทยเดิมขึ้นเป็นหลักฐาน เพื่อที่จะได้พิมพ์เผยแพร่วิชาการดนตรีไทยในหมู่ประชาชนต่อไป ทรงริเริ่มให้มีการวิจัยเกี่ยวกับดนตรีไทยประเภทต่าง ๆ นอกจากนี้ยังทรงได้ ริเริ่มให้นาเพลงสากลมาแต่งเป็นแนวเพลงไทย โดยโปรดเกล้า ฯ ให้นายเทวาประสิทธิ์ พาทยโกศล นาทานองเพลงพระราชนิพนธ์ มหาจุฬาลงกรณ์ มาแต่งเป็นแนวไทย บรรเลงด้วยวงปี่พาทย์ เมื่อนาขึ้นบรรเลงถวายแล้วก็พระราชทานชื่อว่า เพลงมหาจุฬาลงกรณ์ เช่นเดียวกัน นับเป็นเพลงไทยเพลงแรกที่ประดิษฐ์ขึ้นจากเพลงไทยสากลตามพระราชดาริที่ทรงสร้างสรรค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชดารัสเกี่ยวกับดนตรีแก่นักข่าวชาวอเมริกันในรายการเสียงแห่งวิทยุอเ มริกา เมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๐๓ ความตอนหนึ่งว่า
  • 12. “ดนตรีเป็นส่วนหนึ่งของข้าพเจ้า จะเป็นแจ๊สหรือไม่ใช่แจ๊สก็ตาม ดนตรีล้วนอยู่ในตัวทุกคน เป็นส่วนที่ยิ่งใหญ่ในชีวิตคนเรา สาหรับข้าพเจ้าดนตรีคือสิ่งประณีตงดงาม และทุกคนควรนิยมในคุณค่าของดนตรีทุกประเภท เพราะว่าดนตรีแต่ละประเภทต่างก็มีความเหมาะสมตามแต่โอกาสและอารมณ์ที่ต่างๆกันออกไป” ทรงเห็นว่า ดนตรี นอกจากจะให้ความบันเทิงแล้ว ควรจะเป็นสื่อสร้างสรรค์ชักนาให้คนเป็นคนดีของประเทศชาติและสังคม ดังพระราชดารัสที่พระราชทานแก่คณะกรรมการสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย ณ ศาลาดุสิดาลัย เมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๔ มีความตอนหนึ่งดังนี้ “...การดนตรีจึงมีความหมายสาคัญสาหรับประเทศชาติสาหรับสังคม ถ้าทาดี ๆ ก็ทาให้คนเขามีกาลังใจจะปฏิบัติงานการ ก็เป็นหน้าที่ส่วนหนึ่งที่ให้ความบันเทิง ทาให้คนที่กาลังท้อใจมีกาลังใจขึ้นมาได้ คือเร้าใจได้ คนกาลังไปทางหนึ่งทางที่ไม่ถูกต้อง ก็อาจจะดึงกลับมาในทางที่ถูกต้องได้ ฉะนั้น ดนตรีก็มีความสาคัญอย่างหนึ่ง จึงพูดได้กับท่านทั้งหลายที่เกี่ยวข้องกับการดนตรีในรูปการณ์ต่าง ๆว่า มีความสาคัญและต้องทาให้ถูกต้อง ต้องทาให้ดี ถูกต้องในทางหลักวิชาการดนตรีอย่างหนึ่ง และก็ถูกต้องตามหลักวิชาของผู้ที่มีศีลธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต ก็จะทาให้เป็นประโยชน์อย่างมาก เป็นประโยชน์ทั้งต่อส่วนรวมทั้งส่วนตัว เพราะก็อย่างที่กล่าวว่าเพลงนี้มันเกิดความปีติภายในของตัวเองได้ ความปีติในผู้อื่นได้ ก็เกิดความดีได้ความเสียก็ได้ ฉะนั้นก็ต้องมีความระมัดระวังให้ดี...” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเข้าพระทัยอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับเรื่องดนตรี และอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อความคิดและจิตใจของมวลมนุษย์ ตลอดจนกระบวนการใช้เสียงดนตรีและบทเพลงในการสร้างสรรค์ความบันเทิง รวมทั้งปลูกฝังแนวความคิดที่ดีงาม เช่น ความรักชาติบ้านเมือง ความสามัคคีพร้อมเพรียงให้เกิดขึ้นในสังคมและหมู่คณะ พร้อมทั้งทรงตระหนักถึงอิทธิพลของดนตรีในทางลบ ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อชาติบ้านเมืองได้ พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสเกี่ยวกับดนตรีจึงเป็นเสมือนคติเตือนใจแก่บรรดาเยาวชน นักดนตรี และมวลพสกนิกรทุกหมู่เหล่า ให้มีความเข้าใจลึกซึ้งเรื่องดนตรีและอิทธิพลที่พึงมีต่อสังคม หมู่คณะ และประเทศชาติ นอกเหนือไปจากความบันเทิงรื่นเริงใจและสาระประโยชน์ที่ได้จากเพลงหรือดนตรีโดยทั่วไป ความสาคัญของศิลปะการดนตรี ๑. พระราชดารัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภายหลังที่สถาบันดนตรีและศิลปะแห่งกรุงเวียนนาทูลเกล้า ฯ
  • 13. ถวายประกาศนียบัตร เกียรติคุณชั้นสูงให้ทรงดารงตาแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์ หมายเลข ๒๓ เมื่อวันที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ ๒๕๐๗ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชดารัสตอบเป็นภาษาเยอรมัน (ต่อมา หม่อมหลวง เดช สนิทวงศ์ ได้แปลและถ่ายทอดเป็นภาษาไทย) ทรงกล่าวถึงความสาคัญของดนตรีว่า “...ดนตรีทุกชนิดเป็นศิลปะที่สาคัญอย่างหนึ่ง มนุษย์เกือบทั้งหมดชอบและรู้จักดนตรี ตั้งแต่เยาว์วัยคนเริ่มรู้จักดนตรีบ้างแล้ว ความรอบรู้ทางดนตรีอย่างกว้างขวางย่อมเกิดขึ้นกับเชาว์ และความสามารถในการแสดงของแต่ละคน อาศัยเหตุนี้จึงกล่าวได้ว่าในระหว่างศิลปะนานาชนิด ดนตรีเป็นศิลปะที่แพร่หลายกว่าศิลปะอื่นๆ และมีความสาคัญในด้านการศึกษาของประชาชนทุกประเทศด้วย” ๒. พระราชดารัสในโอกาสที่คณะกรรมการของสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย เข้าเฝ้า ฯ ทูลเกล้า ฯ ถวายเงินสมทบทุนโครงการพัฒนาตามพระราชประสงค์ ณ ศาลาดุสิดาลัย เมื่อวันพุธที่ ๑๖ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๔ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงย้าถึงความสาคัญของดนตรี เพราะเป็นศิลปะที่สามารถทาให้ศิลปินเกิดความภาคภูมิใจมากที่สุด ทรงยกตัวอย่างการพระราชนิพนธ์เพลงซึ่งไม่สิ้นเปลือง สามารถ เผื่อแผ่ความพอใจไปสู่สาธารณชนโดยไม่สึกหรอหรือเสื่อมลงเหมือนศิลปะสาขาอื่นอันเป็นรูปธรรม และยังสามารถประยุกต์โดยเรียบเรียงใหม่ได้ “...การดนตรีนี้เป็นศิลปะที่สาคัญอย่างหนึ่ง หรือในหมู่ศิลปะทั้งหลาย อาจจะพูดได้ว่าเป็นศิลปะที่สาคัญที่สุด อย่างน้อยสาหรับจิตใจของศิลปินนักดนตรีจะต้องเป็นเช่นนั้น เพราะว่าการดนตรีนี้เป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่ถือได้ว่าเป็นศิลปะที่ทาให้เกิดความปีติ ความภูมิใจ ความยินดี ความพอใจได้มากที่สุด...” “...ศิลปินในสาขาอื่น ๆ จะยกตัวอย่าง เช่น วาดภาพ เป็นศิลปินเขียนภาพ เขียนรูป หรือจะเป็นพวกจิตรกรรม ประติมากรรมก็ได้ ผู้นั้นเขาก็มีความพอใจเหมือนกันในการปฏิบัติ แต่ว่าที่จะเผื่อแผ่ให้ผู้อื่นดูก็เกิดความกลุ้มใจ เพราะสมมติว่าเอาไปไว้ในห้องแสดงศิลปกรรม ก็เกิดเป็นห่วง เดี๋ยวใครจะมาขโมย เดี๋ยวใครจะมาทาให้เสียไป...ถ้าเป็นศิลปินในด้านการแสดงละครหรือแต่งละคร ถ้าไม่มีเวที ไม่มีการแสดงละคร ก็ไม่สามารถที่จะให้คนได้ชม คือเผื่อแผ่ความพอใจออกไปไม่ได้ ดนตรีแต่งเพลงไปแล้วหรือเล่นเพลงไปแล้วก็เป็นการเผื่อแผ่ออกไป…” “เพลงสายฝนนี้อายุ ๓๕ ปีแล้ว...ตั้งแต่วันหรือตั้งแต่คืนที่แต่ง จนเดี๋ยวนี้ไม่สิ้นเปลืองอะไร หาเศษกระดาษมาขีดๆ แล้วก็เขียนไป เสร็จแล้วก็ส่งไปให้ทางครูเอื้อ แล้วครูเอื้อก็เรียบเรียงเสียงและออกแสดง...ตั้งแต่นั้นมา ๓๕ ปีกว่า เพลงนั้นก็ยังอยู่ ไม่สึกหรอ ไม่ต้องขัดเกลา ไม่ต้องไปปัดฝุ่น ใคร ๆ ก็เอาไปเล่น...ถ้าเป็นภาพเขียนที่เขียนไว้เมื่อ ๒๐ ปีแล้ว กลับไปดูสีมันลอก ก็ต้องซ่อมแซม”
  • 14. ดนตรีสร้างความบันเทิง และสร้างสรรค์แนวคิดที่ดีในการดารงชีวิต ๑. พระบรมราโชวาทที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานเนื่องในวันสังคีตมงคล ครั้งที่ ๒ ณ เวทีลีลาศ สวนอัมพร เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๓๑ กรกฏาคม พ.ศ ๒๕๑๒ มีพระราชดาริว่า ดนตรีมีความสาคัญต่อชีวิต เนื่องจากให้ความบันเทิง ช่วยให้จิตใจสบาย นักเพลง นักดนตรีมีบทบาทสาคัญ เพราะนอกจากจะช่วยให้คนฟัง ได้รับความบันเทิงครึกครื้นแล้ว ยังสามารถสร้างความรู้สึกที่ดี เช่น ความอดทน ความขยันขันแข็ง และความสามัคคี จึงทรงปรารถนาให้นักดนตรี นักเพลง นักร้อง แสดงออกในทางสร้างสรรค์ ชักนาให้คนเป็นคนดี “...ดนตรีนั้นเป็นสิ่งที่จะแสดงออกซึ่งความรู้สึกของชนหมู่หนึ่ง ในที่นี้ก็คือ ชนคนไทยทั้งหลายจะแสดงความรู้สึกออกมา หรือจะรับความรู้สึกที่แสดงออกมาด้วยดนตรี พวกเราที่เป็นนักดนตรีจึงมีความสาคัญยิ่ง ถ้าเราทาในสิ่งที่จะทาให้คนฟังแล้วมีความพอใจ มีความครึกครื้น มีความอดทน มีความขยัน แล้วก็มีความบันเทิง ทุกสิ่งทุกอย่างในดนตรีมีจุดประสงค์ที่จะทา เขาก็มีความสาเร็จ ยิ่งเดี๋ยวนี้ และยิ่งในเมืองไทยเราอยู่ในสถานการณ์ที่ไม่น่าไว้วางใจ นักดนตรีทั้งหลาย นักเพลงทั้งหลายก็มีหน้าที่เหมือนที่จะช่วยอุ้มชูความรู้สึกที่พี่น้องชาวไทยทั้งหลายต้องมี คือความเข้มแข็ง และความเป็นอันหนึ่งอันเดียว...นักเพลง นักร้อง นักอะไรๆก็ให้แสดงในสิ่งที่จะเป็นการสร้างสรรค์ ให้เป็นทางที่ชักนาให้คนเป็นคนดี และมีความเจริญ ความก้าวหน้า...” ๒. พระราชดารัสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ยังทรงย้าในเรื่องอานุภาพของดนตรี และความสาคัญของดนตรีที่มีต่อประเทศชาติและสังคม ดังที่ทรงพระราชทานแก่ คณะกรรมการของสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย ฯ เมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๔ มีความตอนหนึ่งว่า “...การดนตรีจึงมีความหมายสาคัญสาหรับประเทศชาติสาหรับสังคม ถ้าทาดีๆ ก็ทาให้คนเขามีกาลังใจจะปฏิบัติงานการ ก็เป็นหน้าที่ส่วนหนึ่งที่ให้ความบันเทิง ทาให้คนที่กาลังท้อใจมีกาลังใจขึ้นมาได้ คือเร้าใจได้ คนกาลังไปทางหนึ่งทางที่ไม่ถูกต้อง ก็อาจจะดึงกลับมาในทางที่ ถูกต้องได้ ฉะนั้น ดนตรีก็มีความสาคัญอย่างยิ่ง ๓. พระราชดารัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่พระราชทานแก่ คณะกรรมการสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย ณ ศาลาดุสิดาลัย เมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๔ มีความตอนหนึ่งที่ทรงเห็นว่าดนตรีนอกจากจะให้ความบันเทิงแล้ว ควรจะเป็นสื่อสร้างสรรค์ชักนาให้คนเป็นคนดีของประเทศชาติและสังคม ดังนี้
  • 15. “...จึงพูดได้กับท่านทั้งหลายที่เกี่ยวข้องกับการดนตรีในรูปการณ์ต่าง ๆ ว่า มีความสาคัญและต้องทาให้ถูกต้อง ต้องทาให้ดี ถูกต้องในทางหลักวิชาการดนตรีอย่างหนึ่ง และก็ถูกต้องตามหลักวิชาของผู้ที่มีศีลธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต ก็จะทาให้เป็นประโยชน์อย่างมาก เป็นประโยชน์ทั้งต่อส่วนรวมทั้งส่วนตัว เพราะก็อย่างที่กล่าวว่าเพลงนี้มันเกิดความปีติภายในของตัวเองได้ ความปีติในผู้อื่นได้ ก็เกิดความดีได้ความเสียก็ได้ ฉะนั้นก็ต้องมีความระมัดระวังให้ดี...” “....ยินดีและขอชมเชยสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยที่สามารถจัดงานสาคัญนี้ขึ้นมา ดนตรีนี้เป็นศิลปะและนับว่าเป็นกิจกรรมที่กว้างขวางมาก งานที่สาเร็จลุล่วงไปนั้นก็แสดงถึงความสามารถอย่างสูงของวงการดนตรีนี้พาดพิงไปถึงหลายด้าน ในด้านศิลปะก็พาดพิงไปถึงทั้งละคร ทั้งที่แสดงในบนเวที ทั้งที่แสดงในสถานที่ต่างๆทั่วไป ก็นับว่ากว้างขวางมาก นอกจากนี้ ยังพาดพิงไปถึงกิจการด้านต่างๆ เช่นในด้านภาพยนตร์ ในด้านวิทยุและโทรทัศน์ ก็นับว่าดนตรีนี้จะพาดพิงถึงชีวิตของประชาชนทั่วไปอย่างกว้างขวาง เป็นกิจการที่สาคัญและควรสนับสนุน เพราะว่าดนตรีถ้าการเล่นดนตรีและการฟังดนตรีดี ประชาชนก็ได้ความบันเทิงและได้ผ่อนอารมณ์ให้มีจิตใจร่าเริง สามารถที่จะมีกาลังใจอย่างการที่ได้จัดการประกวดดนตรี เพื่อให้มาตรฐานของการดนตรีในเมืองไทยสูงขึ้นและเป็นนิยมรู้จัก ก็เป็นสิ่งที่สมควรและเป็นสิ่งที่ทาให้สาเร็จขึ้นมาด้วยความลาบากยากยิ่ง” ๔. พระบรมราโชวาทที่พระราชทานแก่คณะกรรมการสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ณ พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน “การดนตรีเป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่สามารถก่อให้เกิดความปีติ ความสุข ความยินดี ความพอใจได้มากที่สุด หน้าที่ของนักดนตรีนั้นคือ ทาให้ผู้ฟังเกิดความพอใจ ความครึกครื้น ความอดทน ความขยัน มีความเข้มแข็ง และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน คือนอกจากจะสร้างความบันเทิงแล้ว ควรแสดงในสิ่งที่จะเป็นทางสร้างสรรค์ เช่น ชักนาให้คนเป็นคนดีด้วย” ดนตรีมีอิทธิพลทั้งในทางดีและทางเสีย ๑. พระบรมราโชวาทที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่คณะกรรมการการประกวดเพลงแผ่นเสียงทอง คา ศิลปิน นักแสดง นักวิชาการประกวดภาพยนตร์ และคณะกรรมการจัดงานประกวดภาพยนตร์ ณ ศาลาดุสิดาลัย พระราชวังดุสิต เมื่อวันพุธที่ ๙ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๑๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดารัสว่า ดนตรีสามารถแสดงออกซึ่งความรู้สึกที่มีอยู่ในจิตใจ ไม่ว่าจะเป็นความคิด หรือลัทธิการเมือง ความรู้สึกในชาติบ้านเมือง หรือ ความรู้สึกในเรื่องของมวลมนุษย์