SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดล ณ โรงพยาบาล เคมบริดจ์ ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น โรงพยาบาลเมาต์ออร์เบิร์น เมืองเคมบริดจ์ มลรัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา เมื่อ วันจันทร์ ตรงกับวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๗๐ เหตุที่ พระราชสมภพที่สหรัฐอเมริกา เนื่องจากสมเด็จพระบรม- ราชชนกและสมเด็จพระบรมราชชนนีกาลังทรงศึกษาอยู่ที่นั่น พระราชประวัติ
เมื่อ พ.ศ.๒๔๗๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้โดยเสด็จฯ กลับสู่ประเทศไทยเป็นครั้งแรก ประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมา วันที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ.๒๔๗๒ สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต 
ขณะที่พระบาทสมเด็จ- 
พระเจ้าอยู่หัว พระชนมายุ 
ไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา 
เมื่อยังทรงพระเยาว์ ทรงได้รับการดูแลในเบื้องต้นจาก สถานเลี้ยงเด็กซองโซเลย์เมืองโลซานน์ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ พอมีพระชนมายุ ๕ พรรษา ทรงเข้ารับการศึกษา ชั้นอนุบาลในประเทศไทยเป็นเวลาสั้นๆ ที่โรงเรียนมาแตร์เดอี 
ต่อมาในปี พ.ศ.๒๔๗๖ สมเด็จพระบรมราชชนนีได้พา พระธิดาและพระโอรสทั้งสองพระองค์เสด็จไปประทับ ณ เมือง โลซานน์ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ จึงทรงส่งทั้ง ๓ พระองค์เข้า สถานเลี้ยงเด็กซองโซเลย์อีกครั้ง จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้น ประถมศึกษาที่โรงเรียนเมียร์มองต์และในช่วงเวลาหยุดฤดูร้อน สมเด็จพระบรมราชินีนาถได้ส่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเข้าเรียนที่โรงเรียนพัวเย่
จากนั้นในปี พ.ศ.๒๔๗๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมเชษฐาธิราชได้ทรงเปลี่ยนเข้าศึกษาที่โรงเรียน เอกชนนูเวลเดอลา ชืออิส โรมองด์เมืองแชลลี ซูรโลซานน์ 
ทรงเลือกเรียนทางด้านภาษา คือ 
สายศิลป์ ภาษาละติน, อังกฤษ 
ในปี พ.ศ.๒๔๘๘ ทรงได้รับ 
ประกาศนีบัตรทางอักษรศาสตร์ 
จาก โรงเรียนยิมนาสกลาซิค กลังโตนาลแล้งจึงเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยโลซานน์โดย ทรงเลือกศึกษาในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์
ครองราชย์ 
ในวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๘๘ เสด็จนิวัติกลับประเทศ ไทยเป็นครั้งที่ ๒ พร้อมด้วยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดล ทรงประกอบพระราชกรณียกิจร่วมกันหลาย ประการ และแล้วในวันที่ ๙ มิ.ย.พ.ศ.๒๔๘๙ พระบาทสมเด็จ- พระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลได้เสด็จสวรรคตโดยกะทันหัน รัฐสภาได้กราบบังคมทูลอัญเชิญสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ- เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช(พระยศในขณะนั้น) เสด็จขึ้นครองราชย์ ในวันเดียวกันนั้นเอง 
เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชยังมีพระราช ภารกิจในการศึกษา จึงเสด็จพระราช ดาเนินกลับประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ใน วันที่ ๑๙ ส.ค.ในปีนั้น การเสด็จกลับไป ศึกษาสาขาวิชารัฐศาสตร์ และ นิติศาสตร์แทนสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ ด้วยทรงเห็นว่าจะเป็นประโยชน์ใน พระราชภารกิจที่ทรงเป็น พระมหากษัตริย์ต่อไป
พระราชพิธีราชาภิเษกสมรส 
เมื่อวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๔๙๓ ทรงประกอบพิธี ราชาภิเษกสมรส กับ หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ที่วัง สระปทุม โดยสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวีพระพัน วสาอัยยิกาเจ้า พระราชทานหลั่งน้าพระมหาสังข์ทรง จดทะเบียนสมรส ตามกฎหมายเช่นเดียวกับประชาชน ได้ ทรงสถาปนาหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ ขึ้นเป็น พระราชินีสิริกิติ์
พระบรมราชาภิเษก 
วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล- อดุลยเดชได้ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกตาม โบราณขัตติยราชประเพณี ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ ใน พระมหาราชวัง เฉลิมพระปรมาภิไธยตามจารึกใน พระสุพรรณบัฏว่า “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร”และได้พระราชทาน พระปฐมบรมราชโองการเป็นสัจวาจาว่า 
“ เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม 
เพื่อประโยชน์สุขของมหาชนชาวสยาม” 
ในการนี้ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเฉลิม 
พระเกียรติยศ สมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ พระอัครมเหสีเป็น สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๔๙๓ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จ พร้อมด้วย สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินี ไปยังสวิตเซอร์แลนด์อีกครั้ง เพื่อทรงรักษาพระสุขภาพ และเสด็จพระราชดาเนินนิวัติ พระนคร เมื่อ ๒ ธันวาคม ๒๔๙๔ ประทับ ณ พระตาหนัก จิตรลดารโหฐาน และพระที่นั่งอัมพรสถาน
เมื่อวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๔๙๙ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระผนวช ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ทรงจาพรรษา ณ พระตาหนักปั้นหย่า วัดบวรนิเวศวิหาร ปฏิบัติพระศาสนกิจเป็นเวลา ๑๕ วัน ระหว่างนี้สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ทรงปฏิบัติ พระราชกรณียกิจแทนพระองค์ ต่อมาทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็น “สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ” ทรงพระผนวช 
ทรงได้รับพระสมณฉายาว่า ภูมิพโล 
เช้าวันที่ ๔ พ.ย. ๒๔๙๙ เป็นวันที่ ๑๔ แห่งการทรงผนวช ได้เสด็จ พระราชดาเนินออกบิณฑบาตโดย ไม่มีนัดหมายกาหนดการ ซึ่ง จะต้องจารึกไว้ในประวัติศาสตร์ ว่า พระมหากษัตริย์ที่ทรงพระ ผนวช ได้เสด็จพระราชดาเนิน ออกทรงรับบิณฑบาตรจาก ประชาชน
“พระราชกรณียกิจ กว่า ๖๐ ปีที่ผ่านมา 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริหลายพันโครงการ 
มิได้มีพระราชประสงค์เพื่อพระองค์เอง 
แต่มีพระราชประสงค์เพื่อบาบัดทุกข์ 
บารุงสุขของประชาชนอย่างแท้จริง ” 
ไม่มีพื้นที่ใดในประเทศไทย 
ที่พระองค์ไม่เคยเสด็จพระราชดาเนินไปถึง 
พระราชกรณียกิจ
ทรงเสด็จเยี่ยมราษฎรทั่วประเทศ 
ทรงเยี่ยมราษฎรในท้องถิ่นต่าง ๆ ทุกภูมิภาคของ ประเทศ อย่างสม่าเสมอ นับตั้งแต่เสด็จขึ้นครองราชย์ ตลอดระยะเวลาหลายสิบปีที่ได้ทรงใกล้ชิดประชาชนทั่วทุก ภูมิภาคของประเทศ ในหลวงได้ทรงทราบถึงปัญหาความ เดือดร้อนของประชาชนส่วนใหญ่ที่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ซึ่งต้องการน้าเป็นปัจจัยสาคัญเพื่อการ เพาะปลูกและการดารงชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งราษฎรใน ท้องถิ่นทุรกันดาร ที่ขาดแคลนแม้กระทั่งแหล่งน้ากินน้าใช้ เป็นเหตุให้เกิดปัญหาความยากจน ขาดเสถียรภาพ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นรากฐานของความ มั่นคง และมั่งคั่งของประเทศ และขาดคุณภาพชีวิตที่สมบูรณ์
การที่จะแจกสิ่งของหรือเงินแก่ราษฎรนั้น 
เป็นการช่วยเหลือชั่วคราว ไม่ยั่งยืน 
การที่จะช่วยประชาชนให้อยู่รอดได้คืออาชีพ 
“ 
“ 
ทุกครั้งที่เสด็จฯ เยี่ยมเยียนราษฎร ไม่ว่าแห่งหนตาบลใด มิได้ทรงคานึงถึงเส้นทางที่จะเสด็จพระราชดาเนินหรือ ภยันตราย บางครั้งต้อง ขึ้นเขาลงห้วย บางครั้งต้องบุกป่าฝ่าดง ก็มิได้ทรงย่อท้อหรือเหนื่อยหน่ายพระราชหฤทัย แม้ขุนเขาจะ สูงชัน แม้ฝนจะตกหนัก แม้อากาศจะหนาวเหน็บหรือ ร้อนอบ อ้าว ก็ไม่ทรงถือเป็นอุปสรรคกีดขวางการเสด็จฯ ไปให้ถึงตัว ราษฎรที่ทรงห่วงใย และที่เฝ้ารอการเสด็จพระราชดาเนินไป ทรงเยี่ยมเยียนอย่างใจจดจ่อ
“ หยาดน้าพระทัยกลายเป็น 
สายฝนสู่แผ่นดิน ” 
ทรงสังเกตเห็นว่ามีเมฆปริมาณมากปกคลุมท้องฟ้า แต่ไม่ สามารถก่อรวมตัวกันจนเกิดเป็นฝนได้ เป็นเหตุให้เกิดภาวะ ฝนทิ้งช่วงระยะยาวทั้งๆที่เป็นช่วงฤดูฝน ทรงคิดคานึงว่า น่าจะมีมาตรการทางวิทยาศาสตร์ที่จะช่วยให้เมฆเหล่านั้นก่อ รวมตัวกันจนเกิดเป็นฝนได้ ทรงเชื่อมั่นว่า ด้วยลักษณะของ กาลอากาศ ภูมิอากาศ และภูมิประเทศของประเทศไทย จะสามารถดัดแปรสภาพอากาศ ให้เกิดเป็นฝนตกได้ อย่าง แน่นอน
โครงการแกล้งดิน 
“..ให้มีการทดลองทาดินให้ เปรี้ยวจัด โดยการระบายน้าให้ แห้งและศึกษาวิธีแก้ดินเปรี้ยว เพื่อนาผลไปแก้ปัญหาดิน เปรี้ยวให้แก่ราษฎรที่มีปัญหา ในเรื่องนี้ในเขตจังหวัด นราธิวาส โดยให้ทาโครงการ ศึกษาทดลองในกาหนด ๒ ปี และพืชทาการทดลองควรเป็น ข้าว…” 
“…ที่ที่น้าท่วมที่หาประโยชน์ ไม่ได้ ถ้าเราจะทาให้มันโผล่ พ้นน้าขึ้นมา มีการระบายน้า ออกไปก็จะเกิดประโยชน์พ้น น้าขึ้นมา มีการระบายน้า ออกไปก็จะเกิดประโยชน์กับ ประชาชนในเรื่องการทามาหา กินอย่างมหาศาล…”
โครงการแก้มลิง 
เป็นส่วนหนึ่งของโครงการแก้ไขปัญหาน้าท่วมพื้นที่ใน เขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลตามแนวพระราชดาริ โดย ประกอบด้วยโครงการขุดลอกคลองระบายน้าและกาจัด วัชพืชโครงการปรับปรุงและก่อสร้างสถานีสูบน้าและประตู ระบายน้า ตามที่ได้เกิดสภาวะน้าท่วมหนัก ในลุ่มแม่น้า เจ้าพระยาเมื่อ พ.ศ.๒๕๓๘ อันสืบเนื่องมาจากฝนตกหนัก ในลุ่มน้าตอนบน
พืชเมืองหนาวแก้ปัญหาฝิ่น 
กว่า ๓๐ ปี ที่โรงงานหลวงฯ ทาหน้าที่แปรรูป ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อช่วยเหลือ เกษตรกรและยกระดับมาตรฐานความเป็นอยู่ของ ชาวบ้านในพื้นที่ลุ่มน้าแม่งอนและดอยอ่างขาง อันเป็น แนวทางการแก้ไขปัญหาสังคม เศรษฐกิจและ สิ่งแวดล้อมแบบรอบด้านและยั่งยืนตามแนวพระราชดาริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 
ด้วยคุณค่าทางประวัติศาสตร์และความทรงจาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในโรงงานหลวงฯ และชุมชนโดยรอบ
ด้านการศึกษา 
ทรงอรรถาธิบาย วิธีการทาฝนหลวง พระราชทานแก่นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และตอนปลาย โรงเรียน วังไกลกังวล 
ในพระบรมราชูปถัมภ์ 
ในโอกาสเสด็จพระราช ดาเนินไปทรงเยี่ยม ศูนย์วิจัยปฏิบัติการฝน หลวงเฉลิมพระเกียรติ ณ สนามบินบ่อฝ้าย อาเภอหัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์
เศรษฐกิจพอเพียง 
... การเป็นเสือนั้นไม่สาคัญ สาคัญที่เรามี เศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกินนั้น หมายความว่าอุ้มชูตัวเองได้ให้มีพอเพียงกับตัวเอง อันนี้เคยบอกว่า ความพอเพียงนี้ไม่ได้หมายความ ว่าทุกครอบครัวต้องผลิตอาหารของตัว จะต้องทอ ผ้าใส่เอง อย่างนั้นมันเกินไป แต่ว่าในหมู่บ้านหรือ ในอาเภอจะต้องมีความพอเพียงพอสมควร บาง สิ่งบางอย่างที่ผลิตได้มากกว่าความต้องการ ก็ขาย ได้ แต่ขายในที่ไม่ห่างไกลเท่าไหร่ ไม่ต้องเสียค่า ขนส่งมากนัก ... 
พระราชดารัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 
“ 
“
....ความอิ่มเอมใจของคนไทย ที่ได้ เห็นรอยยิ้มของในหลวง ซึ่งทุกคน สัมผัสได้ด้วยตาตัวเอง ในทุกครั้ง ที่พระองค์ทรงพระเมตตา เสด็จ พระราชดาเนินไปปฏิบัติพระราช- กรณียกิจต่างๆ เพื่อพสกนิกรของ พระองค์ 
“ 
“
เมื่อครั้งท่านพระชนม์มายุ ๗๒ พรรษา มีการผลิตเหรียญที่ระลึกออกมาหลายรุ่น เจ้าของกิจการนาฬิกายี่ห้อหนึ่งได้ยื่นเรื่องขอ อนุญาตนาพระบรมฉายาลักษณ์ของท่านมา ประดับที่หน้าปัดนาฬิกาเป็นรุ่นพิเศษ 
ท่านทราบเรื่องแล้วตรัสกับเจ้าหน้าที่ว่า "ไปบอกเค้านะ เราไม่ใช่มิกกี้เมาส์" ไม่ใช่ มิกกี้เมาส์
เคยมีคนเล่าให้ฟังว่า ครั้งหนึ่ง พ่อหลวงทรงเสด็จไปทีตลาดสด ทรงแวะไปเสวยก๋วยเตี๋ยว แม่ค้า ขายก๋วยเตี๋ยว เห็นก็สงสัย จึงทูล ถามท่านว่า 
“ทาไมหน้า เหมือนในหลวงจัง?” 
ท่านไม่ตอบอะไรได้แต่ยิ้มๆ ทรง จ่ายเงินค่าก๋วยเตี๋ยวแล้วตรัสชมว่า ก๋วยเตี๋ยวอร่อย ส่วนแม่ค้ามารู้ที่ หลังว่าเป็นท่านก็ได้แต่ปลื้ม เหมือนในหลวงจัง 
พระองค์ท่านเสด็จไปที่จังหวัดสกลนคร เพื่อเยี่ยมเยียนชาวบ้านและพระองค์ก็ทรง ตรัสถามชายคนหนึ่งที่มาเข้าเฝ้าเพราะ แขนเจ็บเข้าเฝือกในหลวงทรงรับสั่งถามว่า 
"แขนเจ็บไปโดนอะไรมา" ชายคนนั้นตอบว่า "ตกสะพาน" แล้วในหลวงทรงรับสั่งกลับไปอีกว่า 
" แล้วแขนอีกข้างหนึ่งละ " ชายคนนั้นก็ตอบกลับมาอีกว่า " แขนข้างนี้ไม่ได้ตกลงไปด้วยตกข้างเดียว" ในหลวงของเราก็ทรงพระสรวล
ส่งเสี่ยกลับวัง 
เมื่อสมัยก่อน ในหลวงเสด็จฯ 
แปรพระราชฐานไปยังหัวหิน และมักจะ 
เสด็จฯ ออกไปยังตลาดหัวหินบ่อยครั้ง และ บางครั้งเสด็จฯ โดยลาพังพระองค์ มีครั้งหนึ่ง ระหว่างจะเสด็จฯ กลับ ซาเล้งที่ตลาดกราบ บังคมทูลถามว่า “ไปไหมเสี่ย” ปรากฏว่าเสี่ย พระองค์นี้สนพระทัยก็รับสั่งจ้างไปยัง พระราชวังไกลกังวลโดยที่ซาเล้งคนนั้นไม่รู้ นึกว่าเป็นข้าราชการ แต่พอถึงหน้าพระราชวัง ทหารสั่งวันทยาวุธเท่านั้นแหละ 
ซาเล้งถึงรู้ว่าเสี่ยที่มาส่งน่ะ 
เป็นใคร 
พระองค์เสด็จพระราชดาเนินเยี่ยม พสกนิกรที่ ทางภาคใต้คือ จังหวัด นราธิวาส ทางใต้นี้มีปัญหาเรื่องดิน เป็นกรดมีความเค็มพระองค์จึงทรง รับสั่งถามกับชาวบ้าน ที่มาเฝ้ารับ เสด็จว่า 
“ดินหลังบ้านเป็นอย่างไร เค็มไหม” ชาวบ้านก็มองหน้ากันแล้วทาหน้างง ก่อนตอบกลับมาว่า “ไม่เคยชิมซักที” ในหลวงก็รับทรงสั่งกับข้าราชบริพารที่ ตามเสด็จว่า 
“ชาวบ้านแถวนี้เขามีอารมณ์ขัน 
กันดีนะ” ดินเค็มไหม?
ซุ้มสาหรับในหลวง 
ระยะแรกราวปี พ.ศ.๒๔๙๘เป็นต้นมาคราใดที่เสด็จ พระราชดาเนินแปรพระราชฐานไปประทับ ณ พระราชวังไกลกังวลนั้นจะทรงขับรถยนต์พระที่นั่งไป ยังท้องที่ห่างไกลทุรกันดารย่านหัวหิน หนองพลับแก่ง กระจาน ด้วยพระองค์เองทานองเสด็จประพาสต้น ของรัชกาลที่ห้าโดยที่ราษฎรไม่รู้ตัวล่วงหน้าว่าทรง มาถึงแล้ว 
วันหนึ่งทรงขับรถยนต์พระที่นั่งผ่านไปถึงยังบริเวณ หมู่บ้านแห่งหนึ่งย่านหมู่บ้านห้วยมงคล อาเภอหัวหิน ซึ่งราษฎรกาลังช่วยกันตบแต่งประดับซุ้มรับเสด็จ กันอย่างสนุกสนานครื้นเครงและไม่คาดคิดว่าเป็น รถยนต์พระที่นั่งส่วนพระองค์“ต้องให้ในหลวงเสด็จฯ ก่อนแล้วพรุ่งนี้ถึงจะลอดผ่านซุ้มได้..วันนี้ห้าม ลอดผ่านซุ้มนี้ เพราะขอให้ในหลวงผ่านก่อนนะ...” 
ทรงขับรถพระที่นั่งเบี่ยงข้างทางไม่ลอดซุ้มดังกล่าว 
วันรุ่งขึ้นเมื่อทรงขับรถยนต์พระที่นั่งเสด็จพระราช- ดาเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรในหมู่บ้านนี้อย่างเป็น ทางการพร้อมคณะข้าราชบริพารผู้ติดตามและทรงมี พระดารัสทักทายกับชายผู้นั้นที่เฝ้าอยู่หน้าซุ้ม เมื่อวันวานว่า 
“วันนี้ฉันเป็นในหลวง..คงผ่านซุ้มนี้ได้แล้วนะ.."
ขอพระองค์ทรงพระเจริญ 
... ความสุขความสวัสดีของข้าพเจ้า จะเกิดขึ้นได้ 
ก็ด้วยบ้านเมืองของเรามีความเจริญมั่นคง 
เป็นปกติสุข ความเจริญมั่นคงทั้งนั้น 
จะสาเร็จผลเป็นจริงได้ ก็ด้วยคนทุกฝ่ายในชาติ 
มุ่งที่จะปฏิบัติหน้าที่ของตนให้เต็มกาลัง 
ด้วยสติรู้ตัว ด้วยปัญญารู้คิด และด้วยความสุจริตจริงใจ 
โดยเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนอื่น...
โดย 
นางสาวสุภัสสรา เตสุภา เลขที่ ๑๓ 
นางสาวนันทิชา นันทวาศเลขที่ ๑๖ 
นางสาวสิริปราญชลี ศรีรัง เลขที่ ๒๑ 
นางสาวสุวีรยา เมฆรักษากิจ เลขที่ ๒๓ 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๑ 
เสนอ 
ครูสายพินวงษารัตน์ 
โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
CREDIT 
หนังสือ “รอยยิ้มของในหลวง” 
http://kanchanapisek.or.th/biography/hmk.th.html 
http://www.oknation.net/blog/print.php?id=107554 
http://king.kapook.com/royal_duties.php 
http://www.xn--12co9drbac8a9as5aiidh8isei1npa. 
com/content/index.php?page=category&type=view&cat=14

More Related Content

Similar to รอยยิ้มของในหลวง

ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติสุรพล ศรีบุญทรง
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับnuttawon
 
ประวัติวันแม่
ประวัติวันแม่ประวัติวันแม่
ประวัติวันแม่ruangkhow
 
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1Junior'z Pimmada Saelim
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง มSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
งานนำเสนอ12
งานนำเสนอ12งานนำเสนอ12
งานนำเสนอ12Beebe Benjamast
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยfernbamoilsong
 
Https _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandler
Https  _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandlerHttps  _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandler
Https _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandlerPhichakorn Borirak
 
Https _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandler
Https  _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandlerHttps  _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandler
Https _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandlerPhichakorn Borirak
 

Similar to รอยยิ้มของในหลวง (18)

ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 
พระราชประวัติ
พระราชประวัติพระราชประวัติ
พระราชประวัติ
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3
 
ประวัติวันแม่
ประวัติวันแม่ประวัติวันแม่
ประวัติวันแม่
 
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
 
งานนำเสนอ12
งานนำเสนอ12งานนำเสนอ12
งานนำเสนอ12
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
Https _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandler
Https  _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandlerHttps  _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandler
Https _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandler
 
Https _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandler
Https  _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandlerHttps  _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandler
Https _powerpoint.officeapps.live.com_p_printhandler
 

รอยยิ้มของในหลวง

  • 1.
  • 2.
  • 3. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดล ณ โรงพยาบาล เคมบริดจ์ ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น โรงพยาบาลเมาต์ออร์เบิร์น เมืองเคมบริดจ์ มลรัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา เมื่อ วันจันทร์ ตรงกับวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๗๐ เหตุที่ พระราชสมภพที่สหรัฐอเมริกา เนื่องจากสมเด็จพระบรม- ราชชนกและสมเด็จพระบรมราชชนนีกาลังทรงศึกษาอยู่ที่นั่น พระราชประวัติ
  • 4. เมื่อ พ.ศ.๒๔๗๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้โดยเสด็จฯ กลับสู่ประเทศไทยเป็นครั้งแรก ประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมา วันที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ.๒๔๗๒ สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จ- พระเจ้าอยู่หัว พระชนมายุ ไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา เมื่อยังทรงพระเยาว์ ทรงได้รับการดูแลในเบื้องต้นจาก สถานเลี้ยงเด็กซองโซเลย์เมืองโลซานน์ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ พอมีพระชนมายุ ๕ พรรษา ทรงเข้ารับการศึกษา ชั้นอนุบาลในประเทศไทยเป็นเวลาสั้นๆ ที่โรงเรียนมาแตร์เดอี ต่อมาในปี พ.ศ.๒๔๗๖ สมเด็จพระบรมราชชนนีได้พา พระธิดาและพระโอรสทั้งสองพระองค์เสด็จไปประทับ ณ เมือง โลซานน์ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ จึงทรงส่งทั้ง ๓ พระองค์เข้า สถานเลี้ยงเด็กซองโซเลย์อีกครั้ง จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้น ประถมศึกษาที่โรงเรียนเมียร์มองต์และในช่วงเวลาหยุดฤดูร้อน สมเด็จพระบรมราชินีนาถได้ส่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเข้าเรียนที่โรงเรียนพัวเย่
  • 5. จากนั้นในปี พ.ศ.๒๔๗๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมเชษฐาธิราชได้ทรงเปลี่ยนเข้าศึกษาที่โรงเรียน เอกชนนูเวลเดอลา ชืออิส โรมองด์เมืองแชลลี ซูรโลซานน์ ทรงเลือกเรียนทางด้านภาษา คือ สายศิลป์ ภาษาละติน, อังกฤษ ในปี พ.ศ.๒๔๘๘ ทรงได้รับ ประกาศนีบัตรทางอักษรศาสตร์ จาก โรงเรียนยิมนาสกลาซิค กลังโตนาลแล้งจึงเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยโลซานน์โดย ทรงเลือกศึกษาในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์
  • 6. ครองราชย์ ในวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๘๘ เสด็จนิวัติกลับประเทศ ไทยเป็นครั้งที่ ๒ พร้อมด้วยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดล ทรงประกอบพระราชกรณียกิจร่วมกันหลาย ประการ และแล้วในวันที่ ๙ มิ.ย.พ.ศ.๒๔๘๙ พระบาทสมเด็จ- พระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลได้เสด็จสวรรคตโดยกะทันหัน รัฐสภาได้กราบบังคมทูลอัญเชิญสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ- เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช(พระยศในขณะนั้น) เสด็จขึ้นครองราชย์ ในวันเดียวกันนั้นเอง เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชยังมีพระราช ภารกิจในการศึกษา จึงเสด็จพระราช ดาเนินกลับประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ใน วันที่ ๑๙ ส.ค.ในปีนั้น การเสด็จกลับไป ศึกษาสาขาวิชารัฐศาสตร์ และ นิติศาสตร์แทนสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ ด้วยทรงเห็นว่าจะเป็นประโยชน์ใน พระราชภารกิจที่ทรงเป็น พระมหากษัตริย์ต่อไป
  • 7. พระราชพิธีราชาภิเษกสมรส เมื่อวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๔๙๓ ทรงประกอบพิธี ราชาภิเษกสมรส กับ หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ที่วัง สระปทุม โดยสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวีพระพัน วสาอัยยิกาเจ้า พระราชทานหลั่งน้าพระมหาสังข์ทรง จดทะเบียนสมรส ตามกฎหมายเช่นเดียวกับประชาชน ได้ ทรงสถาปนาหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ ขึ้นเป็น พระราชินีสิริกิติ์
  • 8. พระบรมราชาภิเษก วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล- อดุลยเดชได้ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกตาม โบราณขัตติยราชประเพณี ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ ใน พระมหาราชวัง เฉลิมพระปรมาภิไธยตามจารึกใน พระสุพรรณบัฏว่า “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร”และได้พระราชทาน พระปฐมบรมราชโองการเป็นสัจวาจาว่า “ เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขของมหาชนชาวสยาม” ในการนี้ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเฉลิม พระเกียรติยศ สมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ พระอัครมเหสีเป็น สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๔๙๓ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จ พร้อมด้วย สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินี ไปยังสวิตเซอร์แลนด์อีกครั้ง เพื่อทรงรักษาพระสุขภาพ และเสด็จพระราชดาเนินนิวัติ พระนคร เมื่อ ๒ ธันวาคม ๒๔๙๔ ประทับ ณ พระตาหนัก จิตรลดารโหฐาน และพระที่นั่งอัมพรสถาน
  • 9. เมื่อวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๔๙๙ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระผนวช ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ทรงจาพรรษา ณ พระตาหนักปั้นหย่า วัดบวรนิเวศวิหาร ปฏิบัติพระศาสนกิจเป็นเวลา ๑๕ วัน ระหว่างนี้สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ทรงปฏิบัติ พระราชกรณียกิจแทนพระองค์ ต่อมาทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็น “สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ” ทรงพระผนวช ทรงได้รับพระสมณฉายาว่า ภูมิพโล เช้าวันที่ ๔ พ.ย. ๒๔๙๙ เป็นวันที่ ๑๔ แห่งการทรงผนวช ได้เสด็จ พระราชดาเนินออกบิณฑบาตโดย ไม่มีนัดหมายกาหนดการ ซึ่ง จะต้องจารึกไว้ในประวัติศาสตร์ ว่า พระมหากษัตริย์ที่ทรงพระ ผนวช ได้เสด็จพระราชดาเนิน ออกทรงรับบิณฑบาตรจาก ประชาชน
  • 10. “พระราชกรณียกิจ กว่า ๖๐ ปีที่ผ่านมา โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริหลายพันโครงการ มิได้มีพระราชประสงค์เพื่อพระองค์เอง แต่มีพระราชประสงค์เพื่อบาบัดทุกข์ บารุงสุขของประชาชนอย่างแท้จริง ” ไม่มีพื้นที่ใดในประเทศไทย ที่พระองค์ไม่เคยเสด็จพระราชดาเนินไปถึง พระราชกรณียกิจ
  • 11. ทรงเสด็จเยี่ยมราษฎรทั่วประเทศ ทรงเยี่ยมราษฎรในท้องถิ่นต่าง ๆ ทุกภูมิภาคของ ประเทศ อย่างสม่าเสมอ นับตั้งแต่เสด็จขึ้นครองราชย์ ตลอดระยะเวลาหลายสิบปีที่ได้ทรงใกล้ชิดประชาชนทั่วทุก ภูมิภาคของประเทศ ในหลวงได้ทรงทราบถึงปัญหาความ เดือดร้อนของประชาชนส่วนใหญ่ที่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ซึ่งต้องการน้าเป็นปัจจัยสาคัญเพื่อการ เพาะปลูกและการดารงชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งราษฎรใน ท้องถิ่นทุรกันดาร ที่ขาดแคลนแม้กระทั่งแหล่งน้ากินน้าใช้ เป็นเหตุให้เกิดปัญหาความยากจน ขาดเสถียรภาพ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นรากฐานของความ มั่นคง และมั่งคั่งของประเทศ และขาดคุณภาพชีวิตที่สมบูรณ์
  • 12. การที่จะแจกสิ่งของหรือเงินแก่ราษฎรนั้น เป็นการช่วยเหลือชั่วคราว ไม่ยั่งยืน การที่จะช่วยประชาชนให้อยู่รอดได้คืออาชีพ “ “ ทุกครั้งที่เสด็จฯ เยี่ยมเยียนราษฎร ไม่ว่าแห่งหนตาบลใด มิได้ทรงคานึงถึงเส้นทางที่จะเสด็จพระราชดาเนินหรือ ภยันตราย บางครั้งต้อง ขึ้นเขาลงห้วย บางครั้งต้องบุกป่าฝ่าดง ก็มิได้ทรงย่อท้อหรือเหนื่อยหน่ายพระราชหฤทัย แม้ขุนเขาจะ สูงชัน แม้ฝนจะตกหนัก แม้อากาศจะหนาวเหน็บหรือ ร้อนอบ อ้าว ก็ไม่ทรงถือเป็นอุปสรรคกีดขวางการเสด็จฯ ไปให้ถึงตัว ราษฎรที่ทรงห่วงใย และที่เฝ้ารอการเสด็จพระราชดาเนินไป ทรงเยี่ยมเยียนอย่างใจจดจ่อ
  • 13. “ หยาดน้าพระทัยกลายเป็น สายฝนสู่แผ่นดิน ” ทรงสังเกตเห็นว่ามีเมฆปริมาณมากปกคลุมท้องฟ้า แต่ไม่ สามารถก่อรวมตัวกันจนเกิดเป็นฝนได้ เป็นเหตุให้เกิดภาวะ ฝนทิ้งช่วงระยะยาวทั้งๆที่เป็นช่วงฤดูฝน ทรงคิดคานึงว่า น่าจะมีมาตรการทางวิทยาศาสตร์ที่จะช่วยให้เมฆเหล่านั้นก่อ รวมตัวกันจนเกิดเป็นฝนได้ ทรงเชื่อมั่นว่า ด้วยลักษณะของ กาลอากาศ ภูมิอากาศ และภูมิประเทศของประเทศไทย จะสามารถดัดแปรสภาพอากาศ ให้เกิดเป็นฝนตกได้ อย่าง แน่นอน
  • 14. โครงการแกล้งดิน “..ให้มีการทดลองทาดินให้ เปรี้ยวจัด โดยการระบายน้าให้ แห้งและศึกษาวิธีแก้ดินเปรี้ยว เพื่อนาผลไปแก้ปัญหาดิน เปรี้ยวให้แก่ราษฎรที่มีปัญหา ในเรื่องนี้ในเขตจังหวัด นราธิวาส โดยให้ทาโครงการ ศึกษาทดลองในกาหนด ๒ ปี และพืชทาการทดลองควรเป็น ข้าว…” “…ที่ที่น้าท่วมที่หาประโยชน์ ไม่ได้ ถ้าเราจะทาให้มันโผล่ พ้นน้าขึ้นมา มีการระบายน้า ออกไปก็จะเกิดประโยชน์พ้น น้าขึ้นมา มีการระบายน้า ออกไปก็จะเกิดประโยชน์กับ ประชาชนในเรื่องการทามาหา กินอย่างมหาศาล…”
  • 15. โครงการแก้มลิง เป็นส่วนหนึ่งของโครงการแก้ไขปัญหาน้าท่วมพื้นที่ใน เขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลตามแนวพระราชดาริ โดย ประกอบด้วยโครงการขุดลอกคลองระบายน้าและกาจัด วัชพืชโครงการปรับปรุงและก่อสร้างสถานีสูบน้าและประตู ระบายน้า ตามที่ได้เกิดสภาวะน้าท่วมหนัก ในลุ่มแม่น้า เจ้าพระยาเมื่อ พ.ศ.๒๕๓๘ อันสืบเนื่องมาจากฝนตกหนัก ในลุ่มน้าตอนบน
  • 16. พืชเมืองหนาวแก้ปัญหาฝิ่น กว่า ๓๐ ปี ที่โรงงานหลวงฯ ทาหน้าที่แปรรูป ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อช่วยเหลือ เกษตรกรและยกระดับมาตรฐานความเป็นอยู่ของ ชาวบ้านในพื้นที่ลุ่มน้าแม่งอนและดอยอ่างขาง อันเป็น แนวทางการแก้ไขปัญหาสังคม เศรษฐกิจและ สิ่งแวดล้อมแบบรอบด้านและยั่งยืนตามแนวพระราชดาริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ด้วยคุณค่าทางประวัติศาสตร์และความทรงจาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในโรงงานหลวงฯ และชุมชนโดยรอบ
  • 17. ด้านการศึกษา ทรงอรรถาธิบาย วิธีการทาฝนหลวง พระราชทานแก่นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และตอนปลาย โรงเรียน วังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในโอกาสเสด็จพระราช ดาเนินไปทรงเยี่ยม ศูนย์วิจัยปฏิบัติการฝน หลวงเฉลิมพระเกียรติ ณ สนามบินบ่อฝ้าย อาเภอหัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์
  • 18. เศรษฐกิจพอเพียง ... การเป็นเสือนั้นไม่สาคัญ สาคัญที่เรามี เศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกินนั้น หมายความว่าอุ้มชูตัวเองได้ให้มีพอเพียงกับตัวเอง อันนี้เคยบอกว่า ความพอเพียงนี้ไม่ได้หมายความ ว่าทุกครอบครัวต้องผลิตอาหารของตัว จะต้องทอ ผ้าใส่เอง อย่างนั้นมันเกินไป แต่ว่าในหมู่บ้านหรือ ในอาเภอจะต้องมีความพอเพียงพอสมควร บาง สิ่งบางอย่างที่ผลิตได้มากกว่าความต้องการ ก็ขาย ได้ แต่ขายในที่ไม่ห่างไกลเท่าไหร่ ไม่ต้องเสียค่า ขนส่งมากนัก ... พระราชดารัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “ “
  • 19. ....ความอิ่มเอมใจของคนไทย ที่ได้ เห็นรอยยิ้มของในหลวง ซึ่งทุกคน สัมผัสได้ด้วยตาตัวเอง ในทุกครั้ง ที่พระองค์ทรงพระเมตตา เสด็จ พระราชดาเนินไปปฏิบัติพระราช- กรณียกิจต่างๆ เพื่อพสกนิกรของ พระองค์ “ “
  • 20. เมื่อครั้งท่านพระชนม์มายุ ๗๒ พรรษา มีการผลิตเหรียญที่ระลึกออกมาหลายรุ่น เจ้าของกิจการนาฬิกายี่ห้อหนึ่งได้ยื่นเรื่องขอ อนุญาตนาพระบรมฉายาลักษณ์ของท่านมา ประดับที่หน้าปัดนาฬิกาเป็นรุ่นพิเศษ ท่านทราบเรื่องแล้วตรัสกับเจ้าหน้าที่ว่า "ไปบอกเค้านะ เราไม่ใช่มิกกี้เมาส์" ไม่ใช่ มิกกี้เมาส์
  • 21. เคยมีคนเล่าให้ฟังว่า ครั้งหนึ่ง พ่อหลวงทรงเสด็จไปทีตลาดสด ทรงแวะไปเสวยก๋วยเตี๋ยว แม่ค้า ขายก๋วยเตี๋ยว เห็นก็สงสัย จึงทูล ถามท่านว่า “ทาไมหน้า เหมือนในหลวงจัง?” ท่านไม่ตอบอะไรได้แต่ยิ้มๆ ทรง จ่ายเงินค่าก๋วยเตี๋ยวแล้วตรัสชมว่า ก๋วยเตี๋ยวอร่อย ส่วนแม่ค้ามารู้ที่ หลังว่าเป็นท่านก็ได้แต่ปลื้ม เหมือนในหลวงจัง พระองค์ท่านเสด็จไปที่จังหวัดสกลนคร เพื่อเยี่ยมเยียนชาวบ้านและพระองค์ก็ทรง ตรัสถามชายคนหนึ่งที่มาเข้าเฝ้าเพราะ แขนเจ็บเข้าเฝือกในหลวงทรงรับสั่งถามว่า "แขนเจ็บไปโดนอะไรมา" ชายคนนั้นตอบว่า "ตกสะพาน" แล้วในหลวงทรงรับสั่งกลับไปอีกว่า " แล้วแขนอีกข้างหนึ่งละ " ชายคนนั้นก็ตอบกลับมาอีกว่า " แขนข้างนี้ไม่ได้ตกลงไปด้วยตกข้างเดียว" ในหลวงของเราก็ทรงพระสรวล
  • 22. ส่งเสี่ยกลับวัง เมื่อสมัยก่อน ในหลวงเสด็จฯ แปรพระราชฐานไปยังหัวหิน และมักจะ เสด็จฯ ออกไปยังตลาดหัวหินบ่อยครั้ง และ บางครั้งเสด็จฯ โดยลาพังพระองค์ มีครั้งหนึ่ง ระหว่างจะเสด็จฯ กลับ ซาเล้งที่ตลาดกราบ บังคมทูลถามว่า “ไปไหมเสี่ย” ปรากฏว่าเสี่ย พระองค์นี้สนพระทัยก็รับสั่งจ้างไปยัง พระราชวังไกลกังวลโดยที่ซาเล้งคนนั้นไม่รู้ นึกว่าเป็นข้าราชการ แต่พอถึงหน้าพระราชวัง ทหารสั่งวันทยาวุธเท่านั้นแหละ ซาเล้งถึงรู้ว่าเสี่ยที่มาส่งน่ะ เป็นใคร พระองค์เสด็จพระราชดาเนินเยี่ยม พสกนิกรที่ ทางภาคใต้คือ จังหวัด นราธิวาส ทางใต้นี้มีปัญหาเรื่องดิน เป็นกรดมีความเค็มพระองค์จึงทรง รับสั่งถามกับชาวบ้าน ที่มาเฝ้ารับ เสด็จว่า “ดินหลังบ้านเป็นอย่างไร เค็มไหม” ชาวบ้านก็มองหน้ากันแล้วทาหน้างง ก่อนตอบกลับมาว่า “ไม่เคยชิมซักที” ในหลวงก็รับทรงสั่งกับข้าราชบริพารที่ ตามเสด็จว่า “ชาวบ้านแถวนี้เขามีอารมณ์ขัน กันดีนะ” ดินเค็มไหม?
  • 23. ซุ้มสาหรับในหลวง ระยะแรกราวปี พ.ศ.๒๔๙๘เป็นต้นมาคราใดที่เสด็จ พระราชดาเนินแปรพระราชฐานไปประทับ ณ พระราชวังไกลกังวลนั้นจะทรงขับรถยนต์พระที่นั่งไป ยังท้องที่ห่างไกลทุรกันดารย่านหัวหิน หนองพลับแก่ง กระจาน ด้วยพระองค์เองทานองเสด็จประพาสต้น ของรัชกาลที่ห้าโดยที่ราษฎรไม่รู้ตัวล่วงหน้าว่าทรง มาถึงแล้ว วันหนึ่งทรงขับรถยนต์พระที่นั่งผ่านไปถึงยังบริเวณ หมู่บ้านแห่งหนึ่งย่านหมู่บ้านห้วยมงคล อาเภอหัวหิน ซึ่งราษฎรกาลังช่วยกันตบแต่งประดับซุ้มรับเสด็จ กันอย่างสนุกสนานครื้นเครงและไม่คาดคิดว่าเป็น รถยนต์พระที่นั่งส่วนพระองค์“ต้องให้ในหลวงเสด็จฯ ก่อนแล้วพรุ่งนี้ถึงจะลอดผ่านซุ้มได้..วันนี้ห้าม ลอดผ่านซุ้มนี้ เพราะขอให้ในหลวงผ่านก่อนนะ...” ทรงขับรถพระที่นั่งเบี่ยงข้างทางไม่ลอดซุ้มดังกล่าว วันรุ่งขึ้นเมื่อทรงขับรถยนต์พระที่นั่งเสด็จพระราช- ดาเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรในหมู่บ้านนี้อย่างเป็น ทางการพร้อมคณะข้าราชบริพารผู้ติดตามและทรงมี พระดารัสทักทายกับชายผู้นั้นที่เฝ้าอยู่หน้าซุ้ม เมื่อวันวานว่า “วันนี้ฉันเป็นในหลวง..คงผ่านซุ้มนี้ได้แล้วนะ.."
  • 24. ขอพระองค์ทรงพระเจริญ ... ความสุขความสวัสดีของข้าพเจ้า จะเกิดขึ้นได้ ก็ด้วยบ้านเมืองของเรามีความเจริญมั่นคง เป็นปกติสุข ความเจริญมั่นคงทั้งนั้น จะสาเร็จผลเป็นจริงได้ ก็ด้วยคนทุกฝ่ายในชาติ มุ่งที่จะปฏิบัติหน้าที่ของตนให้เต็มกาลัง ด้วยสติรู้ตัว ด้วยปัญญารู้คิด และด้วยความสุจริตจริงใจ โดยเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนอื่น...
  • 25. โดย นางสาวสุภัสสรา เตสุภา เลขที่ ๑๓ นางสาวนันทิชา นันทวาศเลขที่ ๑๖ นางสาวสิริปราญชลี ศรีรัง เลขที่ ๒๑ นางสาวสุวีรยา เมฆรักษากิจ เลขที่ ๒๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๑ เสนอ ครูสายพินวงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 26. CREDIT หนังสือ “รอยยิ้มของในหลวง” http://kanchanapisek.or.th/biography/hmk.th.html http://www.oknation.net/blog/print.php?id=107554 http://king.kapook.com/royal_duties.php http://www.xn--12co9drbac8a9as5aiidh8isei1npa. com/content/index.php?page=category&type=view&cat=14