SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้




            จัดทำาโดย
    นางสาวอลิตา อบรมย์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 เลขที่ 27
บทที่ 6 หลักการแก้ปญหาด้วยคอมพิวเตอร์
                        ั

•   วัตถุประสงค์
•   อธิบายหลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
•   วิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียดของปัญหา
•   ใช้ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์และเครืองมือต่างๆในการแก้ไข
•   ประยุกต์หลักการใช้แก้ปัยหาในรูปแบบที่แตกต่างกัน
อธิบายหลักการแก้ปัญหาด้วย
               คอมพิวเตอร์
  ในชีวิตประจำาวันทุกคนต้องเคยพบกับปัญหาต่างๆ ไม่ว่าจะ
เป็นปัญหาด้านการเรียน การงานการเงิน หรือแม้แต่ในการ
เล่นเกม จนอาจกล่าวได้ว่าการแก้ปัญหาเป็นกิจกรรมพื้นฐาน
อย่างหนึ่งของมนุษย์ เมื่อพบกับปัญหาแต่ละคนมีวิธที่จะ
                                                   ี
จัดการหรือแก้ปัญหาเหล่านั้นแตกต่างกันไป ซึ่งแตละวิธการ ี
อาจเหมือนหรือแตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู้กับความรู้ ความ
สามารถ และประสบการณ์ของแต่ละบุคคลอย่างไรก็ตาม
เมื่อได้มีการนำาวิธีการแก้ปัญหาต่างๆ มาวิเคราะห์ จะพบว่า
วิธีการเหล่านีสามารถสรุปเป็นทฤษฎีซึ่งมีรูปแบบที่แน่นอน
              ้
ได้ และปัญหาบางลักษณะอาจต้องอาศัยความรู้ในระดับสูง
เพือแก็ไขได้อย่างสมบูรณ์แบบ ในบทนี้ผู้เรียนจะได้ศกษา
    ่                                                ึ
เกี่ยวกับหลักและวิธีการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ และ
การนำาภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์และเครื่องมือต่างๆ มา
 
ตัวอย่างที่ 6.1 เกมทายใจ
เกมทายใจคือเกมที่จะให้ผู้เล่นทายตัวเลข 3 ตัวโดยต้องทายถูกตัวเลขและ
   ตำาแหน่งซึ่งต้องใช้ผุ้เล่น 2 คน ผู้เล่นคนที่กำาหนดตัวเลข 3 ตัวที่ไม่ซำ้ากันโดย
   เลือกจาตัวเลข 1-9 และผู้เล่นคนที่หนึ่งต้องแจ้งผลการทายว่าตัวเลขที่ทายมา
   นั้นถูกต้องกี่ตัว และถูกต้องกี่ตำาแหน่ง ตัวอย่างเช่น ถ้าตัวเลขที่กำาหนดไว้เป็น
   8 1 5 และผู้เล่นคนที่สองทายว่า 1 2 3 ผู้เล่นคนที่หนึ่งต้องแจ้งว่าตัวเลขที่ทาย
   นั้นถูกเพียงตัวเดียวและไมามีตัวใดถูกตำาแหน่ง
ตัวอย่างการเล่นเกมทายใจ
       จะเห็นได้ว่าในครั้งแรกๆ ของการทาย ผู้ทายจะใช้วิธีลองผิดลองถูกโดย
   การสุ่มตัวเลข 1-9 สำาหรับเลขทั้ง 3 ตัว ดยไม่ให้มีตัวเลขซำ้ากัน ซึ้งเมื่อผู้
   กำาหนดให้รายละเอียดเกียวกับจำานวนตัวเลขและจำานวนตำาแหน่งที่ถูกต้อง
                              ่
   แล้ว ผู้ทายก็สามารถแยกตัวเลขที่ไม่ถูกต้องทั้งค่าของตัวเลขและตำาแหน่ง
   ออกจากการทายคำาตอบของปัญหาในครั้งถัดๆไป การใช้เหตุผลเพื่อแยก
   ตัวเลขที่ไม่ต้องการใรการทายแต่ละครั้งนี้ จะช่วยให้ผทายสามารถค้นพบคำา
                                                            ู้
   ตอบของปัญหาได้ในที่สุด
      การแก้ปัญหาโดยใช้รูปแบบของการใช้เหตุผลประกอบกับการแยกคำาตอบ
   ที่ไม่ต้องการ จะขึเลขทีทาย เงื่อนไขของปัเลขที่ ในบางปัาแหน่งทีธีการนี้อาจไม่
                      นอยู่กับ
                      ้   ่          จำานวนตัว ญหา จำานวนตำ ญหาวิ ่
   สามารถหาคำาตอบสุดท้ายได้ แต่อาจช่วยจำากัดจำานวนคำาตอบที่เป็นไปได้ให้
                                          ถูก            ถูก
   น้อยลง นอกจากวิธีการแก้ปัญหาที่ยกตัวอย่างมาซึ่งได้แก่ การลองผิดลองถูก
                        123                1              -
   การใช้เหตุผลและการใช้วิธีแยกคำาตอบที่ไม่ต้องการ 2 งมีวิธีการแก้ปัญหาอีก
                        415                2              ยั
   มากมายที่สามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับตัวปัญหาและประสบการณ์ของผู้แก้
                        425                1              1
   ปัญหาเอง             416                1              1
                       715              2               2
                       815              3               3
•   การแก้ปัญหาโดยใช้รูปแบบของการใช้เหตุผลประกอบกับการแยกคำาตอบที่
    ไม่ต้องการ จะขึ้นอยูกับเงื่อนไขของปัญหา ในบางปัญหาวิธีการนี้อาจไม่
                        ่
    สามารถหาคำาตอบสุดท้ายได้ แต่อาจช่วยจำากัดจำานวนคำาตอบที่เป็นไปได้ให้
    น้อยลง นอกจากวิธีการแก้ปัญหาที่ยกตัวอย่างมาซึ่งได้แก่ การลองผิดลองถูก
    การใช้เหตุผลและการใช้วิธีแยกคำาตอบที่ไม่ต้องการ ยังมีวิธีการแก้ปัญหาอีก
    มากมายที่สามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับตัวปัญหาและประสบการณ์ของผู้
    แก้ปัญหาเอง อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาในภาพรวมจะพบว่า วิธีการเหล่านี้
    ล้วนมีขนตอนหลักที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งประกอบด้วย 4 ขันตอน ดังรูปที่ 6.1
           ั้                                         ้
วิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียดของปัญหา
•   ขันที่ 1 การวิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียดของปัญหา (State the
      ้
    problem)
•             ขันตอนนี้เป็นขั้นตอนแรกสุดก่อนที่จะลงมือแก้ปัญหา แต่ผู้แก้ปัญหา
                ้
    มักจะมองข้ามความสำาคัญของขั้นตอนนี้อยูเสมอ จุดประสงค์ของขั้นตอนนี้
                                             ่
    คือ การทำาความเข้าใจกับปัญหาเพื่อแยกให้ออกว่าข้อมูลที่กำาหนดมาใน
    ปัญหาหรือเงื่อนไขของปัญหาคืออะไร และสิ่งที่ต้องการคืออะไร อีกทั้งวิธี
    การที่ใช้ประมวลผล ในการวิเคราะห์ปัญหาใด กล่าวโดยสรุปแล้วองค์
    ประกอบในการวิเคราะห์มีอยู่ 3 องค์ประกอบ

     1.1   การระบุขอมูลเข้า ได้แก่ การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กำาหนดมา
                   ้
    ในปัญหา 
     1.2   การระบุขอมูลออก ได้แก่ การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคำา
                     ้
    ตอบ 
     1.3   การกำาหนดวิธีประมวลผล ได้แก่ การพิจารณาขันตอนวิธีการได้มาซึ่ง
                                                      ้
    คำาตอบหรือข้อมูลออก
•   ข้อมูลออกหรือคำาตอบ คือสิ่งที่โจทย์ต้องการในการแก้ปัญหาด้วย
    คอมพิวเตอร์จำาเป็นต้องระบุให้ชัดเจนว่าสิ่งที่ต้องการให้เป้นผลลัพธ์ของ
    ปัญหาคืออะไร และต้องการให้แสดงออกในรูปแบบใด เช่น การประมวลผล
    ข้อมูลการเบิกถอนเงินจากเครื่องเอทีเอ็ม ต้อมีการแสดงข้อมูลออกเป็นจำานวน
    เงินที่ถอนไป และจำานวนเงินคงเหลือในบัญชี อีกทั้งยังต้องออกแบบการจัด
    วางข้อมูลเหล่านี้เพื่อพิมพ์ลงในใบบันทึกรายการด้วย ตัวอย่างข้อมูลออกดังรู
    ที่ 6.2




•   1.2 การระบุขอมูลเข้า
                  ้
    ข้อมูลเข้าคือ ข้อมูลเริ่มต้นหรือเงื่อนไขที่โจทย์กำาหนดมาให้ตั้งแต่แรก ใน
    การแก้ปัญหา ผู้แก้ปัญหาจะต้องใช้ขอมูลเหล่านี้ในการประมวลผู้เพื่อให้ได้
                                           ้
• 1.3 รายละเอียดของปัญหา
• รายละเอียดของปัญหา คือ การพิจารณาความต้องการของ
  ปัญหา ตัวอย่างที่ 6.2 และ 6.3 ต่อไปนี้ แสดงรายละเอียดแต่ละ
  ขั้นตอนของตัวอย่างปัญหา
• ตัวอย่างที่ 6.2 ให้แสดงการวิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียด
  ของการหาค่าเฉลี่ยนของจำานวนเต็ม 5 จำานวน
• องค์ประกอบของขั้นตอนการวิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียด
  ของปัญหาสามารถแสดงได้ดังนี้




• ตัวอย่างที่ 6.3 ให้แสดงการวิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียด
  ของโจทย์ต่อไปนี้ กำาหนดตัวเลข 3 4 8 12 และ x ให้หาค่า x
  เมื่อค่าเฉลี่ยของจำานวนเต็มทั้ง 5 จำานวน มีค่าเป็น 10
• องค์ประกอบของขั้นตอนการวิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียด
  ของปัญหาสามารถแสดงได้ดังนี้
วิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียดของปัญหา
•   หลัก การแก้ป ัญ หา > การวิเ คราะห์แ ละกำา หนดรายละเอีย ดของ
    ปัญ หา1/5  
    ตัว อย่า งที่ 1 แสดงการวิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียดของการหาค่าเฉลี่ย
    ของจำานวนเต็ม 5 จำานวน ได้แก่ 0   3   4   8 และ 12  (1)การระบข้อ มูล
    เข้า  ในที่นี้โจทย์กำาหนดให้หาค่าเฉลี่ยของจำานวนเต็ม 5 จำานวน ดังนั้น
    ข้อมูลเข้าได้แก่จำานวน 0 3 4 8 และ 12(2)การระบุข อ มูล ออก จากโจทย์
                                                        ้
    สิ่งที่เป็นคำาตอบของปัญหา คือค่าเฉลี่ย (x) ของจำานวนทั้งห้า(3)การ
    กำา หนดวิธ ีก ารประมวลผล  จากสิ่งที่โจทย์ต้องการ "ค่าเฉลี่ย" หมายถึง ผล
    รวมของจำานวนทั้ง 5 หารด้วย 5 ดังนั้น ขั้นตอนของการประมวลผลประกอบ
    ด้วย 3.1รับค่าจำานวนทั้ง 5 จำานวน3.2นำาจำานวนเต็มทั้ง 5 มาบวกเข้าด้วย
    กัน3.3นำาผลลัพธ์จากข้อ 3.2 มาหารด้วย 5
•   ตัว อย่า งที่ 2 แสดงการวิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียดของการหาค่า x
    เมื่อ x คือจำานวนเต็มจำานวนหนึ่งในกลุ่มจำานวนเต็ม 5 จำานวนที่มีค่าเฉลี่ยเป็น
    10 และจำานวนอีก 4 จำานวนได้แก่ 3   4   8  และ 12  (1)การระบข้อ มูล
    เข้า  จากโจทย์ข้อมูลเข้า ได้แก่2.1จำานวนอีก 4 จำานวน คือ  3  4  8
     122.2ค่าเฉลี่ยของจำานวนทั้ง 5 จำานวน คือ 10(2)การระบุข ้อ มูล
    ออก จากโจทย์สิ่งที่เป็นผลลัพธ์ คือ ค่า x(3)การกำา หนดวิธ ีก ารประมวล
•   ขัน ที่ 2  การเลือ กเครื่อ งมือ และออกแบบขั้น ตอนวิธ ีก ารพัฒ นา
        ้
    (Tools and Algorithm development)
•               ขันตอนนี้เป็นขั้นตอนของการวางแผนในการแก้ปัญหาอย่าง
                  ้
    ละเอียดถีถ้วน หลังจากที่เราทำาความเข้าใจกับปัญหา พิจารณาข้อมูลและ
                ่
    เงื่อนไขที่มีอยู่ และสิ่งที่ต้องการหาแล้วในขันตอนที่ 1 เราสามารถคาดคะเน
                                                 ้
    วิธีการที่เราจะใช้ในการแก้ปัญหากระบวนการนี้จำาเป็นอาศัยประสบการณ์
    ของผู้แก้ปัญหาเป็นหลัก หากผู้แก้ปัญหาเคยพบกับปัญหาทำานองนี้มาแล้วก็
    สามารถดำาเนินการตามแนวทางที่เคยปฏิบัติมา            ขันตอนนี้จะเริ่มจาก
                                                                ้
    การเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหา โดยพิจารณาความเหมาะสมระหว่าง
    เครื่องมือกับเงื่อนไขต่างๆ ของปัญหา ซึ่งหมายรวมถึงความสามารถของ
    เครื่องมือในการแก้ปัญหาดังกล่าว และสิ่งที่สำาคัญคือความคุ้นเคยในการใช้
    งานเครื่องมือนั้นๆ ของผู้แก้ปัญหา
                อีกสิ่งหนึ่งที่สำาคัญในการแก้ปัญหา คือ ยุทธวิธีที่ใช้ในการแก้
    ปัญหาหรือที่เราเรียกว่า ขั้นตอนวิธี (algorithm) ในการแก้ปัญหา หลังจากที่
    เราได้เครื่องมือช่วยแก้ปัญหาแล้ว ผู้แก้ปัญหาต้องวางแผนว่าจะใช้เครื่องมือ
    ดังกล่าวอย่างเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องและดีที่สุด ในการออกแบบขั้นตอน
    วิธีในการแก้ปัญหา ผู้แก้ปัญหาควรใช้แผนภาพหรือเครื่องมือในการแสดง
    ขันตอนการทำางานเพื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจเช่น ผังงาน(flowchart) รหัส
      ้
    ลำาลอง (pseudo code) การใช้เครื่องมือช่วยออกแบบดังกล่าวนอกจาก
•  ขัน ที่ 3  การดำา เนิน การแก้ป ัญ หา (Implementation) 
      ้
           หลังจากที่ได้ออกแบบขันตอนวิธีเรียบร้อยแล้ว ขันตอนนี้เป็นขั้นตอนที่
                                   ้                         ้
   ต้องลงมือแก้ปัญหาโดยใช้เครื่องมือที่ได้เลือกไว้ หากการแก้ปัญหาดังกล่าว
   ใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยงาน ขันตอนนี้ก็เป็นการใช้โปรแกรมสำาเร็จ หรือ
                                         ้
   ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เขียนโปรแกรมแก้ปัญหา ขันตอนนี้ต้องอาศัยความรู้
                                                        ้
   เกี่ยวกับเครื่องมือที่เลือกใช้ ซึ่งผู้แก้ปัญหาต้องศึกษาที่เข้าใจและเชี่ยวชาญ
   ในการดำาเนินการอาจพบแนวทางที่ดกว่าที่ออกแบบไว้ก็สามารถปรับเปลี่ยน
                                              ี
   ได้
• ขัน ที่ 4 การตรวจสอบและปรับ ปรุง (Refinement)
        ้
    หลังจากที่ลงมือแก้ปัญหาแล้ว ต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าวิธีการนี้ให้
   ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง โดยผู้แก้ปัญหาต้องตรวจสอบว่าขั้นตอนวิธีที่สร้างขึ้น
   สอดคล้องกับรายละเอียดของปัญหา ซึ่งได้แก่ ข้อมูลเข้า และข้อมูลออก เพื่อ
   ให้มั่นใจว่าสามารถรองรับข้อมูลเข้าได้ในทุกกรณีอย่างถูกต้องและสมบูรณ์
   ในขณะเดียวกันก็ต้องปรับปรุงวิธีการเพื่อให้การแก้ปัญหานี้ได้ผลลัพธ์ที่ดี
   ที่สุด
            ขั้นตอนทั้ง 4 ขั้นตอนดังกล่าวข้างต้น เป็นเสมือนขันบันได ที่ทำาให้
                                                             ้
    มนุษย์สามารถประสบความสำาเร็จในการแก้ปัญหาต่างๆ ได้ รวมทั้งการเขียน
    หรือพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหา ก็ต้องใช้กระบวนการตามขั้น
    ตอนทั้ง 4 นี้เช่นกัน
ใช้ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์และเครื่องมือต่างๆในการ
                 แก้ปัญหา
•   ใช้ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์และเครื่องมือต่างๆในการแก้ปัญหา
•   ภาษาคอมพิวเตอร์
    ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาใดๆ ที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์
    หรือคอมพิวเตอร์ด้วยกัน แล้วคอมพิวเตอร์สามารถทำางานตามคำาสั่งนั้นได้ คำา
    นี้มักใช้เรียกแทนภาษาโปรแกรม แต่ความเป็นจริงภาษาโปรแกรมคือส่วน
    หนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น และมีภาษาอื่นๆ ที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์
    เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น HTML เป็นทั้งภาษามาร์กอัปและภาษาคอมพิวเตอร์
    ด้วย แม้ว่ามันจะไม่ใช่ภาษาโปรแกรม หรือภาษาเครื่องนั้นก็นับเป็นภาษา
    คอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยทางเทคนิคสามารถใช้ในการเขียนโปรแกรมได้ แต่ก็ไม่
    จัดว่าเป็นภาษาโปรแกรม
•   ภาษาคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มคือ ภาษาระดับสูง (high
    level) และภาษาระดับตำ่า (low level) ภาษาระดับสูงถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้
    งานง่ายและสะดวกสบายมากกว่าภาษาระดับตำ่า โปรแกรมที่เขียนถูกต้องตาม
    กฎเกณฑ์และไวยากรณ์ของภาษาจะถูกแปล (compile) ไปเป็นภาษาระดับ
    ตำ่าเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถนำาไปใช้งานหรือปฏิบัติตามคำาสั่งได้ต่อไป
    ซอฟต์แวร์สมัยใหม่ส่วนมากเขียนด้วยภาษาระดับสูง แปลไปเป็นออบเจกต์
    โค้ด (object code) แล้วเปลี่ยนให้เป็นชุดคำาสั่งในภาษาเครื่อง
•   ภาษาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งกลุ่มได้เป็นอีกสองประเภทคือ ภาษาที่มนุษย์อ่าน
    ออก (human-readable) และภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออก (non human-
    readable) ภาษาที่มนุษย์อ่านออกถูกออกแบบมาเพื่อให้มนุษย์สามารถเข้าใจ
    และสื่อสารได้โดยตรงกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษ) ส่วนภาษา
    ที่มนุษย์อ่านไม่ออกจะมีโค้ดบางส่วนที่ไม่อาจอ่านเข้าใจได้
ประยุกต์หลักการแก้ปัญหาในรูปแบบที่แตกต่างกัน

•   ประยุกต์หลักการแก้ปัญหาในรูปแบบที่แตกต่างกัน
•   ประยุกต์หลักการแก้ปัญหาในรูปแบบที่แตกต่างกัน
•   ในชีวิตประจำาวันทุกคนจะต้องเคยพบกับปัญหาต่างๆ ที่จะต้องหาทางแก้ไข
    การแก้ปัญหาของแต่ละคนจะมีวิธีการที่แตกต่างกัน การเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้
    เรียนได้ฝึกแก้ปัญหาต่างๆ โดยผ่านกระบวนการคิดอย่างสมเหตุสมผลและ
    ปฏิบัติอย่างมีระบบ ทำาความเข้าใจปัญหา ใช้กระบวนการหรือวิธีการ ข้อมูล
    ความรู้ และทักษะต่างๆ มาประกอบกันเพื่อแก้ไขปัญหา จะช่วยให้ผู้เรียน
    สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างดีและเหมาะสม
•   1. ทำาความเข้าใจปัญหา ในการที่จะแก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่งได้นั้น สิ่งแรกที่
    ต้องทำาคือทำาความเข้าเกี่ยวกับถ้อยคำาต่างๆ ในปัญหา แล้วแยกปัญหาให้ออก
    ว่าอะไรเป็นสิ่งที่ต้องหา อะไรเป็นข้อมูลที่กำาหนดให้และมีเงื่อนไขใดบ้าง หลัง
    จากนั้นจึงพิจารณาว่า ข้อมูลและเงื่อนไขที่กำาหนดให้นั้นเพียงพอที่จะหาคำา
    ตอบของปัญหาได้หรือไม่ ถ้าไม่เพียงพอก็ต้องหาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อให้แก้
    ปัญหาได้
•   2. วางแผนแก้ปัญหา จากการทำาความเข้าใจกับปัญหาจะช่วยให้เกิดการคาด
    คะเนว่าจะใช้วิธีการใดในการแก้ปัญหา เพื่อให้ได้มาซึ่งคำาตอบ
    ประสบการณ์เดิมของผู้แก้ปัญหาจะมีส่วนช่วยอย่างมาก ฉะนั้นในการเริ่มต้น
    จึงควรเริ่มด้วยการถามตนเองว่า “เคยแก้ปัญหาในทำานองเดียวกันนี้มาก่อน
    หรือไม่” ในกรณีที่มีประสบการณ์มาก่อนควรจะใช้ประสบการณ์เป็นแนวทาง
    ในการแก้ปัญหา สิ่งที่จะช่วยให้เราเลือกใช้ประสบการณ์เดิมได้คือ การมองดู
    สิ่งที่ต้องการหา แล้วพยายามเลือกปัญหาเดิมที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันเมื่อ
    เลือกได้แล้วก็เท่ากับมีแนวทางว่าจะใช้ความรู้ใดในการหาคำาตอบ โดย
    พิจารณาว่าวิธีการแก้ปัญหาเดิมนั้นมีความเหมาะสมกับปัญหาหรือไม่ หรือ
    ต้องมีการปรับปรุงเพื่อให้ได้วิธีการแก้ปัญหาที่ดีขึ้น
•   ในกรณีที่ไม่เคยมีประสบการณ์ในการแก้ปัญหาทำานองเดียวกันมาก่อน ควร
    เริ่มจากการมองดูสิ่งที่ต้องการหาแล้วพยายามหาวิธีการเพื่อให้ได้ความ
    สัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่ต้องการหากับข้อมูลที่มีอยู่ เมื่อได้ความสัมพันธ์แล้วควร
    พิจารณาว่าความสัมพันธ์นั้นสามารถหาคำาตอบได้หรือไม่ ถ้าไม่ได้ก็แสดงว่า
    จะต้องหาข้อมูลเพิ่มเติม หรืออาจจะต้องหาความสัมพันธ์ในรูปแบบอื่นต่อไป
    เมื่อได้แนวทางในการแก้ปัญหาแล้วจึงวางแผนในการแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้น
    ตอน
•   3. ดำาเนินการแก้ปัญหาตามแผนที่วางไว้ เมื่อได้วางแผนแล้วก็ดำาเนินการแก้
    ปัญหา ระหว่างการดำาเนินการแก้ปัญหาอาจได้แนวทางที่ดีกว่าวิธีที่คิดไว้ ก็
•   แม้ว่าจะดำาเนินตามขั้นตอนที่กล่าวมาแล้วก็ตาม ผู้แก้ปัญหายังต้องมีความ
    มั่นใจว่าจะสามารถแก้ปัญหานั้นได้ รวมทั้งต้องมุ่งมั่นและทุ่มเทให้กับการแก้
    ปัญหา เนื่องจากบางปัญหาต้องใช้เวลาและความพยายามเป็นอย่างสูง
•   ตัวอย่าง ให้เติมเลข 1-6 ลงในวงกลมที่จัดวาง ดังรูปที่ 1 โดยตัวเลขใน
    วงกลมจะต้องไม่ซำ้ากัน และผลรวมของตัวเลขในวงกลมที่เรียงกันแต่ละด้านมี
    ค่าเท่ากัน
•   ขันตอนที่ 1 ทำาความเข้าใจปัญหา
       ้
•   จากปัญหาข้างต้นพบว่า
•   สิ่งที่ต้องการหา คือ การใส่ตัวเลข 1-6 ลงในวงกลมที่อยูในตำาแหน่งที่
                                                             ่
    กำาหนดดังรูปที่ 1 เพื่อให้ได้ผลบวกของตัวเลขสามตัวที่อยู่ในวงกลมที่เรียงใน
    แต่ละด้านมีค่าเท่ากัน
    ขั้นตอนที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา
•        เมื่อทำาความเข้าใจกับปัญหาแล้ว จะเห็นว่า สิ่งแรกที่จะต้องพิจารณาใน
    การวางแผน คือ การหาผลบวกของจำานวนในแต่ละด้านว่าควรเป็นเท่าไร
    และหาได้อย่างไร ในที่นี้จะพิจารณาผลบวกที่มีค่าน้อยที่สุด และผลบวกที่มี
    ค่ามากที่สุด ซึ่งจะทำาให้ทราบว่าผลบวกจะอยู่ในช่วงใด
    ขั้นตอนที่ 3 ดำาเนินการแก้ปัญหาตามแผนที่วางไว้

More Related Content

What's hot

การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
ชุดที่4
ชุดที่4 ชุดที่4
ชุดที่4 krurutsamee
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมPassawan' Koohar
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
การบวนการ
การบวนการการบวนการ
การบวนการanuphon112328
 
ชุดที่3
ชุดที่3 ชุดที่3
ชุดที่3 krurutsamee
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นParn Parai
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
การวัดการกระจายของข้อมูล
การวัดการกระจายของข้อมูลการวัดการกระจายของข้อมูล
การวัดการกระจายของข้อมูลKruGift Girlz
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติพัน พัน
 
โครงร่างโครงงาคอม
โครงร่างโครงงาคอมโครงร่างโครงงาคอม
โครงร่างโครงงาคอมChutikarn Sothanapaisan
 
ชุดที่2
ชุดที่2 ชุดที่2
ชุดที่2 krurutsamee
 

What's hot (19)

การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
ชุดที่4
ชุดที่4 ชุดที่4
ชุดที่4
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การวิเคราะห์ระบบ 1
การวิเคราะห์ระบบ 1การวิเคราะห์ระบบ 1
การวิเคราะห์ระบบ 1
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
การบวนการ
การบวนการการบวนการ
การบวนการ
 
Eq7.1
Eq7.1Eq7.1
Eq7.1
 
ชุดที่3
ชุดที่3 ชุดที่3
ชุดที่3
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
ข้อสอบวิช..
ข้อสอบวิช..ข้อสอบวิช..
ข้อสอบวิช..
 
การวัดการกระจายของข้อมูล
การวัดการกระจายของข้อมูลการวัดการกระจายของข้อมูล
การวัดการกระจายของข้อมูล
 
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
 
โครงร่างโครงงาคอม
โครงร่างโครงงาคอมโครงร่างโครงงาคอม
โครงร่างโครงงาคอม
 
ชุดที่2
ชุดที่2 ชุดที่2
ชุดที่2
 

Viewers also liked

Masthead analysis
Masthead analysisMasthead analysis
Masthead analysiskiera1995
 
Crowdsourcing for the common good
Crowdsourcing for the common goodCrowdsourcing for the common good
Crowdsourcing for the common goodmr_mahoney
 
Double Page Spread
Double Page Spread Double Page Spread
Double Page Spread kiera1995
 
Film posters
Film postersFilm posters
Film posterskiera1995
 
Draft layouts for poster
Draft layouts for posterDraft layouts for poster
Draft layouts for posterkiera1995
 
Flip Chart (NEW)
Flip Chart (NEW)Flip Chart (NEW)
Flip Chart (NEW)MonaVie
 
Otitis externa media cmo equine wobblers
Otitis externa media cmo equine wobblersOtitis externa media cmo equine wobblers
Otitis externa media cmo equine wobblersshahbaz3
 
Flip Chart (NEW) v2
Flip Chart (NEW) v2Flip Chart (NEW) v2
Flip Chart (NEW) v2MonaVie
 
Rating Cards
Rating CardsRating Cards
Rating Cardskiera1995
 
Flip Chart Version 3 9-5-2013
Flip Chart Version 3 9-5-2013Flip Chart Version 3 9-5-2013
Flip Chart Version 3 9-5-2013MonaVie
 
Flip Chart
Flip ChartFlip Chart
Flip ChartMonaVie
 
Magazine drafts
Magazine draftsMagazine drafts
Magazine draftskiera1995
 
Tems investigation-13.1-datasheet
Tems investigation-13.1-datasheetTems investigation-13.1-datasheet
Tems investigation-13.1-datasheetmehran esfandiari
 
Activities to teach vocabulary 2
Activities to teach vocabulary 2Activities to teach vocabulary 2
Activities to teach vocabulary 2John Herrera Navas
 

Viewers also liked (18)

Question 1
Question 1Question 1
Question 1
 
Distribute
DistributeDistribute
Distribute
 
Masthead analysis
Masthead analysisMasthead analysis
Masthead analysis
 
Crowdsourcing for the common good
Crowdsourcing for the common goodCrowdsourcing for the common good
Crowdsourcing for the common good
 
Double Page Spread
Double Page Spread Double Page Spread
Double Page Spread
 
Film posters
Film postersFilm posters
Film posters
 
Draft layouts for poster
Draft layouts for posterDraft layouts for poster
Draft layouts for poster
 
Flip Chart (NEW)
Flip Chart (NEW)Flip Chart (NEW)
Flip Chart (NEW)
 
Otitis externa media cmo equine wobblers
Otitis externa media cmo equine wobblersOtitis externa media cmo equine wobblers
Otitis externa media cmo equine wobblers
 
Flip Chart (NEW) v2
Flip Chart (NEW) v2Flip Chart (NEW) v2
Flip Chart (NEW) v2
 
Rating Cards
Rating CardsRating Cards
Rating Cards
 
CNC Eportfolio
CNC EportfolioCNC Eportfolio
CNC Eportfolio
 
Flip Chart Version 3 9-5-2013
Flip Chart Version 3 9-5-2013Flip Chart Version 3 9-5-2013
Flip Chart Version 3 9-5-2013
 
Flip Chart
Flip ChartFlip Chart
Flip Chart
 
Magazine drafts
Magazine draftsMagazine drafts
Magazine drafts
 
Bao cao servo
Bao cao servoBao cao servo
Bao cao servo
 
Tems investigation-13.1-datasheet
Tems investigation-13.1-datasheetTems investigation-13.1-datasheet
Tems investigation-13.1-datasheet
 
Activities to teach vocabulary 2
Activities to teach vocabulary 2Activities to teach vocabulary 2
Activities to teach vocabulary 2
 

Similar to งานคอม อลิตา

ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศNattapon
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์prang00
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาแผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาwichudaaon
 
การจำลองความคิด
การจำลองความคิดการจำลองความคิด
การจำลองความคิดStrisuksa Roi-Et
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
โจทย์ปัญหา8.1
โจทย์ปัญหา8.1โจทย์ปัญหา8.1
โจทย์ปัญหา8.1anusong
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอมJa Phenpitcha
 
หลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหาหลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหาSarun Suksri
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศณัฐพล บัวพันธ์
 

Similar to งานคอม อลิตา (20)

ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาแผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
การจำลองความคิด
การจำลองความคิดการจำลองความคิด
การจำลองความคิด
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
โจทย์ปัญหา8.1
โจทย์ปัญหา8.1โจทย์ปัญหา8.1
โจทย์ปัญหา8.1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
 
หลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหาหลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหา
 
1
11
1
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solution
 
Pbl8.2
Pbl8.2Pbl8.2
Pbl8.2
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Week2-1
Week2-1Week2-1
Week2-1
 
Week2-1
Week2-1Week2-1
Week2-1
 

งานคอม อลิตา

  • 1. ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ จัดทำาโดย นางสาวอลิตา อบรมย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 เลขที่ 27
  • 2. บทที่ 6 หลักการแก้ปญหาด้วยคอมพิวเตอร์ ั • วัตถุประสงค์ • อธิบายหลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ • วิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียดของปัญหา • ใช้ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์และเครืองมือต่างๆในการแก้ไข • ประยุกต์หลักการใช้แก้ปัยหาในรูปแบบที่แตกต่างกัน
  • 3. อธิบายหลักการแก้ปัญหาด้วย คอมพิวเตอร์ ในชีวิตประจำาวันทุกคนต้องเคยพบกับปัญหาต่างๆ ไม่ว่าจะ เป็นปัญหาด้านการเรียน การงานการเงิน หรือแม้แต่ในการ เล่นเกม จนอาจกล่าวได้ว่าการแก้ปัญหาเป็นกิจกรรมพื้นฐาน อย่างหนึ่งของมนุษย์ เมื่อพบกับปัญหาแต่ละคนมีวิธที่จะ ี จัดการหรือแก้ปัญหาเหล่านั้นแตกต่างกันไป ซึ่งแตละวิธการ ี อาจเหมือนหรือแตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู้กับความรู้ ความ สามารถ และประสบการณ์ของแต่ละบุคคลอย่างไรก็ตาม เมื่อได้มีการนำาวิธีการแก้ปัญหาต่างๆ มาวิเคราะห์ จะพบว่า วิธีการเหล่านีสามารถสรุปเป็นทฤษฎีซึ่งมีรูปแบบที่แน่นอน ้ ได้ และปัญหาบางลักษณะอาจต้องอาศัยความรู้ในระดับสูง เพือแก็ไขได้อย่างสมบูรณ์แบบ ในบทนี้ผู้เรียนจะได้ศกษา ่ ึ เกี่ยวกับหลักและวิธีการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ และ การนำาภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์และเครื่องมือต่างๆ มา
  • 4.   ตัวอย่างที่ 6.1 เกมทายใจ เกมทายใจคือเกมที่จะให้ผู้เล่นทายตัวเลข 3 ตัวโดยต้องทายถูกตัวเลขและ ตำาแหน่งซึ่งต้องใช้ผุ้เล่น 2 คน ผู้เล่นคนที่กำาหนดตัวเลข 3 ตัวที่ไม่ซำ้ากันโดย เลือกจาตัวเลข 1-9 และผู้เล่นคนที่หนึ่งต้องแจ้งผลการทายว่าตัวเลขที่ทายมา นั้นถูกต้องกี่ตัว และถูกต้องกี่ตำาแหน่ง ตัวอย่างเช่น ถ้าตัวเลขที่กำาหนดไว้เป็น 8 1 5 และผู้เล่นคนที่สองทายว่า 1 2 3 ผู้เล่นคนที่หนึ่งต้องแจ้งว่าตัวเลขที่ทาย นั้นถูกเพียงตัวเดียวและไมามีตัวใดถูกตำาแหน่ง ตัวอย่างการเล่นเกมทายใจ จะเห็นได้ว่าในครั้งแรกๆ ของการทาย ผู้ทายจะใช้วิธีลองผิดลองถูกโดย การสุ่มตัวเลข 1-9 สำาหรับเลขทั้ง 3 ตัว ดยไม่ให้มีตัวเลขซำ้ากัน ซึ้งเมื่อผู้ กำาหนดให้รายละเอียดเกียวกับจำานวนตัวเลขและจำานวนตำาแหน่งที่ถูกต้อง ่ แล้ว ผู้ทายก็สามารถแยกตัวเลขที่ไม่ถูกต้องทั้งค่าของตัวเลขและตำาแหน่ง ออกจากการทายคำาตอบของปัญหาในครั้งถัดๆไป การใช้เหตุผลเพื่อแยก ตัวเลขที่ไม่ต้องการใรการทายแต่ละครั้งนี้ จะช่วยให้ผทายสามารถค้นพบคำา ู้ ตอบของปัญหาได้ในที่สุด การแก้ปัญหาโดยใช้รูปแบบของการใช้เหตุผลประกอบกับการแยกคำาตอบ ที่ไม่ต้องการ จะขึเลขทีทาย เงื่อนไขของปัเลขที่ ในบางปัาแหน่งทีธีการนี้อาจไม่ นอยู่กับ ้ ่ จำานวนตัว ญหา จำานวนตำ ญหาวิ ่ สามารถหาคำาตอบสุดท้ายได้ แต่อาจช่วยจำากัดจำานวนคำาตอบที่เป็นไปได้ให้ ถูก ถูก น้อยลง นอกจากวิธีการแก้ปัญหาที่ยกตัวอย่างมาซึ่งได้แก่ การลองผิดลองถูก 123 1 - การใช้เหตุผลและการใช้วิธีแยกคำาตอบที่ไม่ต้องการ 2 งมีวิธีการแก้ปัญหาอีก 415 2 ยั มากมายที่สามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับตัวปัญหาและประสบการณ์ของผู้แก้ 425 1 1 ปัญหาเอง  416 1 1 715 2 2 815 3 3
  • 5. การแก้ปัญหาโดยใช้รูปแบบของการใช้เหตุผลประกอบกับการแยกคำาตอบที่ ไม่ต้องการ จะขึ้นอยูกับเงื่อนไขของปัญหา ในบางปัญหาวิธีการนี้อาจไม่ ่ สามารถหาคำาตอบสุดท้ายได้ แต่อาจช่วยจำากัดจำานวนคำาตอบที่เป็นไปได้ให้ น้อยลง นอกจากวิธีการแก้ปัญหาที่ยกตัวอย่างมาซึ่งได้แก่ การลองผิดลองถูก การใช้เหตุผลและการใช้วิธีแยกคำาตอบที่ไม่ต้องการ ยังมีวิธีการแก้ปัญหาอีก มากมายที่สามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับตัวปัญหาและประสบการณ์ของผู้ แก้ปัญหาเอง อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาในภาพรวมจะพบว่า วิธีการเหล่านี้ ล้วนมีขนตอนหลักที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งประกอบด้วย 4 ขันตอน ดังรูปที่ 6.1 ั้ ้
  • 6. วิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียดของปัญหา • ขันที่ 1 การวิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียดของปัญหา (State the ้ problem) •           ขันตอนนี้เป็นขั้นตอนแรกสุดก่อนที่จะลงมือแก้ปัญหา แต่ผู้แก้ปัญหา ้ มักจะมองข้ามความสำาคัญของขั้นตอนนี้อยูเสมอ จุดประสงค์ของขั้นตอนนี้ ่ คือ การทำาความเข้าใจกับปัญหาเพื่อแยกให้ออกว่าข้อมูลที่กำาหนดมาใน ปัญหาหรือเงื่อนไขของปัญหาคืออะไร และสิ่งที่ต้องการคืออะไร อีกทั้งวิธี การที่ใช้ประมวลผล ในการวิเคราะห์ปัญหาใด กล่าวโดยสรุปแล้วองค์ ประกอบในการวิเคราะห์มีอยู่ 3 องค์ประกอบ 1.1   การระบุขอมูลเข้า ได้แก่ การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กำาหนดมา ้ ในปัญหา  1.2   การระบุขอมูลออก ได้แก่ การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคำา ้ ตอบ  1.3   การกำาหนดวิธีประมวลผล ได้แก่ การพิจารณาขันตอนวิธีการได้มาซึ่ง ้ คำาตอบหรือข้อมูลออก
  • 7. ข้อมูลออกหรือคำาตอบ คือสิ่งที่โจทย์ต้องการในการแก้ปัญหาด้วย คอมพิวเตอร์จำาเป็นต้องระบุให้ชัดเจนว่าสิ่งที่ต้องการให้เป้นผลลัพธ์ของ ปัญหาคืออะไร และต้องการให้แสดงออกในรูปแบบใด เช่น การประมวลผล ข้อมูลการเบิกถอนเงินจากเครื่องเอทีเอ็ม ต้อมีการแสดงข้อมูลออกเป็นจำานวน เงินที่ถอนไป และจำานวนเงินคงเหลือในบัญชี อีกทั้งยังต้องออกแบบการจัด วางข้อมูลเหล่านี้เพื่อพิมพ์ลงในใบบันทึกรายการด้วย ตัวอย่างข้อมูลออกดังรู ที่ 6.2 • 1.2 การระบุขอมูลเข้า ้ ข้อมูลเข้าคือ ข้อมูลเริ่มต้นหรือเงื่อนไขที่โจทย์กำาหนดมาให้ตั้งแต่แรก ใน การแก้ปัญหา ผู้แก้ปัญหาจะต้องใช้ขอมูลเหล่านี้ในการประมวลผู้เพื่อให้ได้ ้
  • 8. • 1.3 รายละเอียดของปัญหา • รายละเอียดของปัญหา คือ การพิจารณาความต้องการของ ปัญหา ตัวอย่างที่ 6.2 และ 6.3 ต่อไปนี้ แสดงรายละเอียดแต่ละ ขั้นตอนของตัวอย่างปัญหา • ตัวอย่างที่ 6.2 ให้แสดงการวิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียด ของการหาค่าเฉลี่ยนของจำานวนเต็ม 5 จำานวน • องค์ประกอบของขั้นตอนการวิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียด ของปัญหาสามารถแสดงได้ดังนี้ • ตัวอย่างที่ 6.3 ให้แสดงการวิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียด ของโจทย์ต่อไปนี้ กำาหนดตัวเลข 3 4 8 12 และ x ให้หาค่า x เมื่อค่าเฉลี่ยของจำานวนเต็มทั้ง 5 จำานวน มีค่าเป็น 10 • องค์ประกอบของขั้นตอนการวิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียด ของปัญหาสามารถแสดงได้ดังนี้
  • 9. วิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียดของปัญหา • หลัก การแก้ป ัญ หา > การวิเ คราะห์แ ละกำา หนดรายละเอีย ดของ ปัญ หา1/5   ตัว อย่า งที่ 1 แสดงการวิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียดของการหาค่าเฉลี่ย ของจำานวนเต็ม 5 จำานวน ได้แก่ 0   3   4   8 และ 12  (1)การระบข้อ มูล เข้า  ในที่นี้โจทย์กำาหนดให้หาค่าเฉลี่ยของจำานวนเต็ม 5 จำานวน ดังนั้น ข้อมูลเข้าได้แก่จำานวน 0 3 4 8 และ 12(2)การระบุข อ มูล ออก จากโจทย์ ้ สิ่งที่เป็นคำาตอบของปัญหา คือค่าเฉลี่ย (x) ของจำานวนทั้งห้า(3)การ กำา หนดวิธ ีก ารประมวลผล  จากสิ่งที่โจทย์ต้องการ "ค่าเฉลี่ย" หมายถึง ผล รวมของจำานวนทั้ง 5 หารด้วย 5 ดังนั้น ขั้นตอนของการประมวลผลประกอบ ด้วย 3.1รับค่าจำานวนทั้ง 5 จำานวน3.2นำาจำานวนเต็มทั้ง 5 มาบวกเข้าด้วย กัน3.3นำาผลลัพธ์จากข้อ 3.2 มาหารด้วย 5 • ตัว อย่า งที่ 2 แสดงการวิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียดของการหาค่า x เมื่อ x คือจำานวนเต็มจำานวนหนึ่งในกลุ่มจำานวนเต็ม 5 จำานวนที่มีค่าเฉลี่ยเป็น 10 และจำานวนอีก 4 จำานวนได้แก่ 3   4   8  และ 12  (1)การระบข้อ มูล เข้า  จากโจทย์ข้อมูลเข้า ได้แก่2.1จำานวนอีก 4 จำานวน คือ  3  4  8  122.2ค่าเฉลี่ยของจำานวนทั้ง 5 จำานวน คือ 10(2)การระบุข ้อ มูล ออก จากโจทย์สิ่งที่เป็นผลลัพธ์ คือ ค่า x(3)การกำา หนดวิธ ีก ารประมวล
  • 10. ขัน ที่ 2  การเลือ กเครื่อ งมือ และออกแบบขั้น ตอนวิธ ีก ารพัฒ นา ้ (Tools and Algorithm development) •             ขันตอนนี้เป็นขั้นตอนของการวางแผนในการแก้ปัญหาอย่าง ้ ละเอียดถีถ้วน หลังจากที่เราทำาความเข้าใจกับปัญหา พิจารณาข้อมูลและ ่ เงื่อนไขที่มีอยู่ และสิ่งที่ต้องการหาแล้วในขันตอนที่ 1 เราสามารถคาดคะเน ้ วิธีการที่เราจะใช้ในการแก้ปัญหากระบวนการนี้จำาเป็นอาศัยประสบการณ์ ของผู้แก้ปัญหาเป็นหลัก หากผู้แก้ปัญหาเคยพบกับปัญหาทำานองนี้มาแล้วก็ สามารถดำาเนินการตามแนวทางที่เคยปฏิบัติมา            ขันตอนนี้จะเริ่มจาก ้ การเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหา โดยพิจารณาความเหมาะสมระหว่าง เครื่องมือกับเงื่อนไขต่างๆ ของปัญหา ซึ่งหมายรวมถึงความสามารถของ เครื่องมือในการแก้ปัญหาดังกล่าว และสิ่งที่สำาคัญคือความคุ้นเคยในการใช้ งานเครื่องมือนั้นๆ ของผู้แก้ปัญหา             อีกสิ่งหนึ่งที่สำาคัญในการแก้ปัญหา คือ ยุทธวิธีที่ใช้ในการแก้ ปัญหาหรือที่เราเรียกว่า ขั้นตอนวิธี (algorithm) ในการแก้ปัญหา หลังจากที่ เราได้เครื่องมือช่วยแก้ปัญหาแล้ว ผู้แก้ปัญหาต้องวางแผนว่าจะใช้เครื่องมือ ดังกล่าวอย่างเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องและดีที่สุด ในการออกแบบขั้นตอน วิธีในการแก้ปัญหา ผู้แก้ปัญหาควรใช้แผนภาพหรือเครื่องมือในการแสดง ขันตอนการทำางานเพื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจเช่น ผังงาน(flowchart) รหัส ้ ลำาลอง (pseudo code) การใช้เครื่องมือช่วยออกแบบดังกล่าวนอกจาก
  • 11. • ขัน ที่ 3  การดำา เนิน การแก้ป ัญ หา (Implementation)  ้         หลังจากที่ได้ออกแบบขันตอนวิธีเรียบร้อยแล้ว ขันตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ ้ ้ ต้องลงมือแก้ปัญหาโดยใช้เครื่องมือที่ได้เลือกไว้ หากการแก้ปัญหาดังกล่าว ใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยงาน ขันตอนนี้ก็เป็นการใช้โปรแกรมสำาเร็จ หรือ ้ ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เขียนโปรแกรมแก้ปัญหา ขันตอนนี้ต้องอาศัยความรู้ ้ เกี่ยวกับเครื่องมือที่เลือกใช้ ซึ่งผู้แก้ปัญหาต้องศึกษาที่เข้าใจและเชี่ยวชาญ ในการดำาเนินการอาจพบแนวทางที่ดกว่าที่ออกแบบไว้ก็สามารถปรับเปลี่ยน ี ได้ • ขัน ที่ 4 การตรวจสอบและปรับ ปรุง (Refinement) ้   หลังจากที่ลงมือแก้ปัญหาแล้ว ต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าวิธีการนี้ให้ ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง โดยผู้แก้ปัญหาต้องตรวจสอบว่าขั้นตอนวิธีที่สร้างขึ้น สอดคล้องกับรายละเอียดของปัญหา ซึ่งได้แก่ ข้อมูลเข้า และข้อมูลออก เพื่อ ให้มั่นใจว่าสามารถรองรับข้อมูลเข้าได้ในทุกกรณีอย่างถูกต้องและสมบูรณ์ ในขณะเดียวกันก็ต้องปรับปรุงวิธีการเพื่อให้การแก้ปัญหานี้ได้ผลลัพธ์ที่ดี ที่สุด             ขั้นตอนทั้ง 4 ขั้นตอนดังกล่าวข้างต้น เป็นเสมือนขันบันได ที่ทำาให้ ้ มนุษย์สามารถประสบความสำาเร็จในการแก้ปัญหาต่างๆ ได้ รวมทั้งการเขียน หรือพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหา ก็ต้องใช้กระบวนการตามขั้น ตอนทั้ง 4 นี้เช่นกัน
  • 12. ใช้ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์และเครื่องมือต่างๆในการ แก้ปัญหา • ใช้ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์และเครื่องมือต่างๆในการแก้ปัญหา • ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาใดๆ ที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ด้วยกัน แล้วคอมพิวเตอร์สามารถทำางานตามคำาสั่งนั้นได้ คำา นี้มักใช้เรียกแทนภาษาโปรแกรม แต่ความเป็นจริงภาษาโปรแกรมคือส่วน หนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น และมีภาษาอื่นๆ ที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น HTML เป็นทั้งภาษามาร์กอัปและภาษาคอมพิวเตอร์ ด้วย แม้ว่ามันจะไม่ใช่ภาษาโปรแกรม หรือภาษาเครื่องนั้นก็นับเป็นภาษา คอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยทางเทคนิคสามารถใช้ในการเขียนโปรแกรมได้ แต่ก็ไม่ จัดว่าเป็นภาษาโปรแกรม • ภาษาคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มคือ ภาษาระดับสูง (high level) และภาษาระดับตำ่า (low level) ภาษาระดับสูงถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้ งานง่ายและสะดวกสบายมากกว่าภาษาระดับตำ่า โปรแกรมที่เขียนถูกต้องตาม กฎเกณฑ์และไวยากรณ์ของภาษาจะถูกแปล (compile) ไปเป็นภาษาระดับ ตำ่าเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถนำาไปใช้งานหรือปฏิบัติตามคำาสั่งได้ต่อไป ซอฟต์แวร์สมัยใหม่ส่วนมากเขียนด้วยภาษาระดับสูง แปลไปเป็นออบเจกต์ โค้ด (object code) แล้วเปลี่ยนให้เป็นชุดคำาสั่งในภาษาเครื่อง • ภาษาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งกลุ่มได้เป็นอีกสองประเภทคือ ภาษาที่มนุษย์อ่าน ออก (human-readable) และภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออก (non human- readable) ภาษาที่มนุษย์อ่านออกถูกออกแบบมาเพื่อให้มนุษย์สามารถเข้าใจ และสื่อสารได้โดยตรงกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษ) ส่วนภาษา ที่มนุษย์อ่านไม่ออกจะมีโค้ดบางส่วนที่ไม่อาจอ่านเข้าใจได้
  • 13. ประยุกต์หลักการแก้ปัญหาในรูปแบบที่แตกต่างกัน • ประยุกต์หลักการแก้ปัญหาในรูปแบบที่แตกต่างกัน • ประยุกต์หลักการแก้ปัญหาในรูปแบบที่แตกต่างกัน • ในชีวิตประจำาวันทุกคนจะต้องเคยพบกับปัญหาต่างๆ ที่จะต้องหาทางแก้ไข การแก้ปัญหาของแต่ละคนจะมีวิธีการที่แตกต่างกัน การเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้ เรียนได้ฝึกแก้ปัญหาต่างๆ โดยผ่านกระบวนการคิดอย่างสมเหตุสมผลและ ปฏิบัติอย่างมีระบบ ทำาความเข้าใจปัญหา ใช้กระบวนการหรือวิธีการ ข้อมูล ความรู้ และทักษะต่างๆ มาประกอบกันเพื่อแก้ไขปัญหา จะช่วยให้ผู้เรียน สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างดีและเหมาะสม • 1. ทำาความเข้าใจปัญหา ในการที่จะแก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่งได้นั้น สิ่งแรกที่ ต้องทำาคือทำาความเข้าเกี่ยวกับถ้อยคำาต่างๆ ในปัญหา แล้วแยกปัญหาให้ออก ว่าอะไรเป็นสิ่งที่ต้องหา อะไรเป็นข้อมูลที่กำาหนดให้และมีเงื่อนไขใดบ้าง หลัง จากนั้นจึงพิจารณาว่า ข้อมูลและเงื่อนไขที่กำาหนดให้นั้นเพียงพอที่จะหาคำา ตอบของปัญหาได้หรือไม่ ถ้าไม่เพียงพอก็ต้องหาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อให้แก้ ปัญหาได้
  • 14. 2. วางแผนแก้ปัญหา จากการทำาความเข้าใจกับปัญหาจะช่วยให้เกิดการคาด คะเนว่าจะใช้วิธีการใดในการแก้ปัญหา เพื่อให้ได้มาซึ่งคำาตอบ ประสบการณ์เดิมของผู้แก้ปัญหาจะมีส่วนช่วยอย่างมาก ฉะนั้นในการเริ่มต้น จึงควรเริ่มด้วยการถามตนเองว่า “เคยแก้ปัญหาในทำานองเดียวกันนี้มาก่อน หรือไม่” ในกรณีที่มีประสบการณ์มาก่อนควรจะใช้ประสบการณ์เป็นแนวทาง ในการแก้ปัญหา สิ่งที่จะช่วยให้เราเลือกใช้ประสบการณ์เดิมได้คือ การมองดู สิ่งที่ต้องการหา แล้วพยายามเลือกปัญหาเดิมที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันเมื่อ เลือกได้แล้วก็เท่ากับมีแนวทางว่าจะใช้ความรู้ใดในการหาคำาตอบ โดย พิจารณาว่าวิธีการแก้ปัญหาเดิมนั้นมีความเหมาะสมกับปัญหาหรือไม่ หรือ ต้องมีการปรับปรุงเพื่อให้ได้วิธีการแก้ปัญหาที่ดีขึ้น • ในกรณีที่ไม่เคยมีประสบการณ์ในการแก้ปัญหาทำานองเดียวกันมาก่อน ควร เริ่มจากการมองดูสิ่งที่ต้องการหาแล้วพยายามหาวิธีการเพื่อให้ได้ความ สัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่ต้องการหากับข้อมูลที่มีอยู่ เมื่อได้ความสัมพันธ์แล้วควร พิจารณาว่าความสัมพันธ์นั้นสามารถหาคำาตอบได้หรือไม่ ถ้าไม่ได้ก็แสดงว่า จะต้องหาข้อมูลเพิ่มเติม หรืออาจจะต้องหาความสัมพันธ์ในรูปแบบอื่นต่อไป เมื่อได้แนวทางในการแก้ปัญหาแล้วจึงวางแผนในการแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้น ตอน • 3. ดำาเนินการแก้ปัญหาตามแผนที่วางไว้ เมื่อได้วางแผนแล้วก็ดำาเนินการแก้ ปัญหา ระหว่างการดำาเนินการแก้ปัญหาอาจได้แนวทางที่ดีกว่าวิธีที่คิดไว้ ก็
  • 15. แม้ว่าจะดำาเนินตามขั้นตอนที่กล่าวมาแล้วก็ตาม ผู้แก้ปัญหายังต้องมีความ มั่นใจว่าจะสามารถแก้ปัญหานั้นได้ รวมทั้งต้องมุ่งมั่นและทุ่มเทให้กับการแก้ ปัญหา เนื่องจากบางปัญหาต้องใช้เวลาและความพยายามเป็นอย่างสูง • ตัวอย่าง ให้เติมเลข 1-6 ลงในวงกลมที่จัดวาง ดังรูปที่ 1 โดยตัวเลขใน วงกลมจะต้องไม่ซำ้ากัน และผลรวมของตัวเลขในวงกลมที่เรียงกันแต่ละด้านมี ค่าเท่ากัน • ขันตอนที่ 1 ทำาความเข้าใจปัญหา ้ • จากปัญหาข้างต้นพบว่า • สิ่งที่ต้องการหา คือ การใส่ตัวเลข 1-6 ลงในวงกลมที่อยูในตำาแหน่งที่ ่ กำาหนดดังรูปที่ 1 เพื่อให้ได้ผลบวกของตัวเลขสามตัวที่อยู่ในวงกลมที่เรียงใน แต่ละด้านมีค่าเท่ากัน ขั้นตอนที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา • เมื่อทำาความเข้าใจกับปัญหาแล้ว จะเห็นว่า สิ่งแรกที่จะต้องพิจารณาใน การวางแผน คือ การหาผลบวกของจำานวนในแต่ละด้านว่าควรเป็นเท่าไร และหาได้อย่างไร ในที่นี้จะพิจารณาผลบวกที่มีค่าน้อยที่สุด และผลบวกที่มี ค่ามากที่สุด ซึ่งจะทำาให้ทราบว่าผลบวกจะอยู่ในช่วงใด ขั้นตอนที่ 3 ดำาเนินการแก้ปัญหาตามแผนที่วางไว้