SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
กระบวนการแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาอย่างมีระบบมีกระบวนการแก้ปัญหาอยู่ 4 ขั้นตอนดังนี้
เป็นขั้นตอนแรกก่อนที่จะลงมือแก้ปัญหาและเป็นขั้นตอนที่ต้องใช้เวลาจัด
ได้ว่าขั้นตอนการวิเคราะห์เป็นขั้นตอนที่สาคัญที่สุด ผู้แก้ปัญหาจาเป็นต้องมีการ
วิเคราะห์กาหนดรายละเอียดย่อยๆ เช่น การระบุข้อมูลเข้า ได้แก่การพิจารณาข้อมูล
และเงื่อนไขที่กาหนดมาในปัญหา การระบุข้อมูลออก ได้แก่ การพิจารณาเป้าหมาย
หรือสิ่งที่ต้องการหาคาตอบ
เป็นขั้นตอนการนาข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์และกาหนดรายละเอียดเกี่ยวกับปัญหามาทาความเข้าใจ
นามาใช้เพื่อการวางแผนในการแก้ปัญหาอย่างละเอียดโดยพิจารณาเงื่อนไขและข้อมูลที่มีอยู่และสิ่งที่ต้องการ
แก้ปัญหาขั้นตอนนี้จาเป็นต้องอาศัยผู้ที่มีประสบการณ์ของผู้แก้ปัญหาเป็นหลัก การเลือกเครื่องมือและออกแบบ
ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหามีขั้นตอนย่อยๆตามลาดับ ดังนี้
2.1 การเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหา โดยพิจารณาความเหมาะสมระหว่างเครื่องมือกับเงื่อนไขต่างๆของ
ปัญหาสิ่งสาคัญที่สุดคือ ความคุ้นเคยในการใช้เครื่องมือนั้นๆและยุทธวิธีที่ใช้ในการแก้ปัญหาหรือเรียกว่า
“ ขั้นตอนวิธี ” (Alogrithm)
2.2 การออกแบบวิธีในการแก้ไขปัญหา ผู้แก้ไขปัญหาควรใช้แผนภาพหรือเครื่องมือในการแสดงขั้นตอนการ
ทางานเพื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจ เช่น ผังงาน (flowchart) ที่จาลองวิธีขั้นตอนการแก้ปัญหาในรูปแบบ
สัญลักษณ์รหัสจาลอง (Pseudo Code)
เป็นขั้นตอนที่ต้องลงมือแก้ปัญหาโดยใช้เครื่องมือที่เลือกไว้โดยใช้โปรแกรม
สาเร็จรูปหรือการใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เขียนโปรแกรมแก้ปัญหา ขั้นตอนนี้ต้องอาศัยความรู้
เกี่ยวกับเครื่องมือที่ใช้ซึ่งผู้ใช้งานต้องศึกษาให้เข้าใจและเชี่ยวชาญ
หลังจากที่ลงมือแก้ปัญหาแล้วผู้แก้ปัญหาจะต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าวิธีการนี้ให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง
โดยตรวจสอบความสอดคล้องของขั้นตอนวิธีกับรายละเอียดของปัญหาซึ่งได้แก่ข้อมูลเข้า และข้อมูลออก
3.ข้อมูลนาเข้า เมื่อผู้วิเคราะห์ได้ออกแบบรูปแบบของรายงาน ไม่ว่าจะเป็นการแสดงผลทาง
จอแสดงผล การพิมพ์รายงานออกทางเครื่องพิมพ์หรือการแสดงผลผ่านทางลาโพงต่างๆสิ่งที่
ต้องพิจารณาต่อคือ ข้อมูลที่ใช้ในการนาเข้าว่าต้องใช้ข้อมูลการนาเข้าอะไรบ้าง และลักษณะ
ของข้อมูลการนาเข้านั้นสัมพันธ์กันกับลักษณะของข้อมูลที่ต้องการแสดงผลหรือไม่ การพิจาร
ราข้อมูลนาเข้า ผู้วิเคราะห์ต้องวางแผนเกี่ยวกับชนิดของข้อมูล เพราะข้อมูลแต่ละชนิดมี
ความสามารถและการคานวณที่ได้ผลลัพธ์แตกต่างกัน ซึ่งจะส่งผลต่อการประกาศตัวแปรที่ใช้
เก็บข้อมูลเข้าและส่งผลถึงผลลัพธ์ที่ใช้ในการแสดงผลที่ถูกต้อง
ตัวอย่าง
รายงานใบรับเงินมีข้อมูลที่ต้องนาเข้า คือ ชื่อบริษัท เลขทะเบียน ที่ตั้ง หมายเลข
โทรศัพท์สาขาCODE วันที่ เวลา เลขที่ ชื่อ จานวนเงิน รับเงิน ทอนเงิน ผู้รับมอบอานาจ
4. ตัวแปรที่ใช้ เป็นการวางแผนเพื่อกาหนดตัวแปรสาหรับใช้แทนข้อมูลนาเข้าแต่ละตัวและ
การกาหนดตัวแปรเพื่อใช้เก็บข้อมูลที่เกิดจากการประมวลผลของข้อมูลเข้า การตั้งชื่อตัวแปรที่ใช้
เก็บข้อมูลต่างๆมีหลักเกณฑ์การตั้งชื่อเพื่อใช้ในการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์โดยทั่วไป มี
ดังนี้
4.1 ตัวแปรต้องขึ้นต้นด้วยภาษาอังกฤษหรือสัญลักษณ์ ”_” (Underscore) ไม่ควรใช้
ภาษาถิ่นในการตั้งชื่อตัวแปร
4.2 ต้องคานึงถึงตัวอักษรพิมพ์ใหญ่และพิมพ์เล็ก ในซอฟต์แวร์ตัวแปรภาษาบางตัวจะไม่
คานึงถึงอกษรพิมพ์เล็กหรืออักษรพิมพ์ใหญ่โดยเห็นว่าเป็นอักษรตัวเดียวกันแต่ในบางซอฟต์แวร์
ก็จาแนกหรือมองเห็นว่าเป็นอักษรคนละตัวกัน
4.3 ชื่อของตัวแปรให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ของตัวแปลภาษา ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมไม่ซ้ากับ
คาสงวน เช่น Format Int Eng ซึ่งซอฟต์แวร์หรทอตัวแปลภาษาที่ใช้ในการแก้ปัญหา
จะมีการระบุไว้ในวิธีการใช้โปรแกรมที่คล้ายคลึงกัน
4.4 งดใช้เครื่องหมายต่อไปนี้ในการใช้ตัวแปร ! , @ , # , $ , % , ^ , & , * , ( , ) , - ,
= ,  , l , + , ~
4.5 ชื่อของตัวแปรควรสื่อความหมายของข้อมูลนาเข้า เช่น ตัวแปรscoreใช้แทนคะแนน
นักเรียน ตัวแปร id ใช้แทนเลขประจาตัวนักเรียน การตั้งชื่อตัวแปรที่ไม่สื่อความหมายกับข้อมูล
จะทาให้เกิดความสับสนกับผู้เขียนโปรแกรม การเขียนโปรแกรมที่เขียนโดยผู้เขียนหลายคนมี
ความจาเป็นอย่างยิ่งในการตั้งชื่อตัวแปรให้สอดคล้องกับข้อมูลเพื่อความเข้าใจที่ตรงกันของผู้เขียน
โปรแกรม จากตัวอย่างในขั้นตอนที่ผ่านมาสามารถตั้งชื่อตัวแปรดังตัวอย่างต่อไปนี้
5. วิธีการประมวลผล เป็นการวิเคราะห์วิธีดาเนินการหลังจากได้สิ่งที่ต้องการ รูปแบบ
ผลลัพธ์ข้อมูลนาเข้า จนถึงตัวแปรที่ใช้มาแล้ว ซึ่งขั้นตอนนี้จะเคราะห์ความเป็นไปได้ที่
จะต้องให้ได้ผลลัพธ์ของการแก้ปัญหาตามต้องการ
5.1 วิธีการรับข้อมูลเพื่อประมวลผล ตัวอย่างวิธีการประมวลผลรายงานผลการเรียนมี 2
แนวทางดังนี้
แนวทางที่ 1 รับข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ทีละรายการ โดยเก็บค่าต่างๆไว้ในตัวแปรที่
กาหนดไว้ทีละรายการ หลังจากนั้นก็จะประมวลผลรายการนั้นๆ จึงเริ่มต้นวนรับค่ารายการ
ใหม่จนครบ วิธีการนี้จะสะดวกเนื่องจากใช้ลาดับวิธีการในการประมวลผลข้อมูลที่ง่าย
แนวทางที่ 2 ใช้วิธีการรับข้อมูลทั้งหมด โดยการป้อนข้อมูลนาเข้าทุกรายการของนักเรียนทุกคนใส่ในตัวแปรจนครบ
เมื่อครบแล้วจึงทากาประมวลผลเพียงครั้งเดียว วิธีการนี้มีวิธีการประมวลผลที่ซับซ้อนใช้ความจาจานวนมาก
จากตัวอย่างการประมวลผลทั้ง 2 วิธีมีข้อดีและข้อเสียที่ต่างกันโดยวิธีการรับข้อมูลที
ละรายการจะใช้ความจาน้อย คานวณผลลัพธ์ทันที แต่การทางานแต่ละรอบต้อง
คานวณทุกครั้งต้องมีการปรับปรุงฐานข้อมูลทุกครั้งเมื่อป้อนข้อมูลแต่ละรายการ
นอกจากนี้ยังไม่เหมาะสมกับการแก้ไขข้อมูลนาเข้าที่ป้อนผิดพลาดในรายการที่ผ่าน
มาเนื่องจากมีการประมวลผลไปแล้ว สาหรับการประมวลผลโดยใช้วิธีการรับข้อมูล
ทั้งหมด จะใช้หน่วยความจามาก ตัวแปรซับซ้อน แต่สามารถแก้ไขได้สะดวกกว่า มี
ข้อเสียคือ หากทางานไม่สาเร็จระหว่างการรับข้อมูลจะทาให้สูญเสียข้อมูลที่ทามา
ก่อนหน้านี้
5.2 การทดสอบข้อมูลสุดท้าย เป็นการวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางการเริ่มคานวณผลลัพธ์ของข้อมูล
ที่ถูกนาเข้าเสร็จสิ้นแล้วซึ่งต้องสร้างเหตุการณ์สาหรับกระตุ้นให้เครื่องคอมพิวเตอร์รับรู้ว่าข้อมูล
นาเข้ามานั้นสิ้นสุดแล้วให้เริ่มทาการประมวลผลลัพธ์โดยมีแนวทางดังนี้
1.การใช้ค่าของข้อมูลใดข้อมูลหนึ่งที่ไม่ใช่ค่าที่เป็นไปได้เพื่อกระตุ้นหรือสั่งการให้
คอมพิวเตอร์เข้าสู้ขั้นตอนการประมวลผล เช่นการทาแบบโครงสร้าง การนาเข้าข้อมูลตัวเลขเพื่อ
ป้อนข้อมูลคะแนนของนักเรียนแต่ละคน
2.การใช้วิธีการกาหนดตัวแปรเพิ่มอีกตัวแปรหนึ่ง เพื่อใช้สาหรับการนับ เพิ่มค่าเพื่อ
ทดสอบข้อมูลสุดท้ายเช่น การสร้างตัวแปรนับข้อมูลนาเข้าทีละรายการ เมื่อครบ 20 รายการก็ถือ
ว่าข้อมูลเข้ามาหมดแล้ว
ความหมายของผังงาน
ผังงาน (Flowchart) คือ รูปภาพ (Image) หรือสัญลักษณ์(Symbol) ที่ใช้เขียน
แทนขั้นตอน คาอธิบาย ข้อความ หรือคาพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm)
ประเภทของผังงาน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1.ผังงานระบบ แสดงถึงขอบเขตขั้นตอนการทางานภายในระบบหนึ่งๆ ประกอบด้วยการนาข้อมูลเข้า วิธีการประมวลผล
และการแสดงผลลัพธ์ ระบบอย่างกว้าง ๆ
2.ผังงานโปรแกรม จะแสดงถึงขั้นตอนของคาสั่งที่ใช้ในโปรแกรม วิธีการทางานของโปรแกรมในขั้นการวิเคราะห์
งาน มาเขียนเป็นผังงานโปรแกรมได้ทันที จากนั้นก็สามารถนาผังงานโปรแกรม ไปเขียนโปรแกรมตามที่ต้องการได้
ประโยชน์ของผังงาน
1.สามารถเรียนรู้และเข้าใจผังงานระบบได้ง่าย เพราะผังงานระบบไม่ขั้นอยู่กับภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษา
หนึ่งโดยเฉพาะ
2.ลาดับขั้นตอนการทางานของโปรแกรม และสามารถนาไปเขียนโปรแกรมได้โดยไม่สับสน
3.ใช้การตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมื่อเกิดข้อผิดพลาด
4.ผังงานเป็นการสื่อความหมายด้วยภาพ ทาให้ง่ายและสะดวกในการพิจารณาถึงลาดับขั้นตอนในการทางาน
5.การเขียนโปรแกรมโดยพิจารณาจากผังงาน สามารถทางานง่ายและรวดเร็ว
6.การบารุงรักษาโปรแกรม เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโปรแกรม สามารถดูผังงานเพื่อแก้ไขคา
ข้อจากัดของผังงาน
1. ผังงานระบบ ทาให้เครื่องไม่สามารถรับและเข้าใจว่าในผังงานระบบนั้นต้องการให้ทาอะไร
2. จะไม่สามารถทราบได้ว่า ขั้นตอนการทางานใดสาคัญกว่ากัน เพราะทุก ๆ ขั้นนอนจะใช้รูปาภาพหรือ
สัญลักษณ์ในลักษณะเดียวกัน
3. การเขียนผังงานระบบเป็นการสิ้นเปลือง
4. ในภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันในปัจจุบัน เช่น ภาษาซี ผังงานระบบไม่สามารถแทนลักษณะคาสั่งใน
ภาษาได้ชัดเจน ตรงไปตรงมา
วิธีการเขียนผังงานที่ดี
1. ใช้สัญลักษณ์ตามที่กาหนดไว้
2. ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่าง หรือจากซ้ายไปขวา
3. คาอธิบายในภาพควรสั้นกะทัดรัด และเข้าใจง่าย
4. ทุกแผนภาพต้องมีลูกศรแสดงทิศทางเข้า – ออก
5. ไม่ควรโยงเส้นเชื่อมผังงานที่อยู่ไกลมาก ๆ ควรใช้สัญลักษณ์จุดเชื่อมต่อแทน
6. ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทางานก่อนนาไปเขียนโปรแกรม
หลักเกณฑ์ในการเขียนผังงาน
1 . การกาหนดจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดโปรแกรม
โดยการเริ่มต้นผังงานจะใช้คาว่า Start และการสิ้นสุดจะใช้คาว่า Stop ซึ่งข้อความดังกล่าวจะอยู่ใน
สัญลักษณ์ ดังภาพ
2. การกาหนดค่าเริ่มต้นและการคานวณ
ในการเขียนผังงานโปรแกรม จะมีการกาหนดค่าเริ่มต้น รวมถึงจะมีการคานวณข้อมูลในรูปของสูตรสมการ
คณิตศาสตร์ ซึ่งขั้นตอนเหล่านี้จะเขียนข้อความภายในสัญลักษณ์กรอบสี่เหลี่ยมผืนผ้า ดังภาพ
3. การรับข้อมูลนาเข้า
เป็นการรับข้อมูลเข้าสู่โปรแกรม หรือข้อมูลที่ต้องป้อนให้คอมพิวเตอร์นาไปใช้ในการคานวณ หรือ
ประมวลผลข้อมูล จะเขียนข้อความรับค่า หรือ Read ข้อมูล ภายในสัญลักษณ์สี่เหลี่ยมด้านขนาน ดังภาพ
การรับข้อมูล a , b เข้าสู่โปรแกรมโดยไม่ระบุอุปกรณ์นาเข้า
การรับข้อมูล a , b เข้าสู่โปรแกรมทางคีย์บอร์ด
4. การแสดงผลข้อมูล
เป็นการนาข้อมูลที่ได้จากการกาหนดค่า หรือ การคานวณ หรือการประมวลผลใดใด มาแสดงผลออกทาง
อุปกรณ์ที่กาหนด จะเขียนข้อความแสดงผล หรือ Print ภายในสัญลักษณ์
การแสดงผลข้อมูล x , y โดยไม่ระบุอุปกรณ์แสดงผล
การแสดงผลข้อมูล x , y ออกทางจอภาพ การแสดงผลข้อมูล x , y ออกทางเครื่องพิมพ์
5. การตรวจสอบเงื่อนไข
เป็นการเปรียบเทียบเพื่อตรวจสอบเงื่อนไข จริงหรือเท็จอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น โดยจะเขียนข้อความ
เงื่อนไขที่ต้องการเปรียบเทียบภายในสัญลักษณ์สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
6. จุดต่อและการเชื่อมโยงผังงาน
ในการเขียนผังงานอาจมีลาดับการทางานหลายขั้นตอน จึงจาเป็นต้องใช้สัญลักษณ์เชื่อมโยงผังงานดังกล่าว
เพื่ออ้างอิงจุดเชื่อมต่อนั้นไปยังตาแหน่งที่มีชื่อหรืออักษรเดียวกัน
แสดงจุดต่อ A เชื่อมโยงผังงานที่อยู่คนละหน้า
7.เส้นแสดงทิศทาง
เป็นสัญลักษณ์แสดงทิศทางการทางานของ Flowchart
8.การอธิบายผังงาน
เป็นสัญลักษณ์แสดงการอธิบายผังงาน เพิ่มเติมหรือเป็นการหมายเหตุ (Comment)
หลักการจัดสัญลักษณ์และทิศทางของผังงาน
1.ต้องชัดเจนและดูง่าย
2.ต้องมีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดเพียงจุดเดียว
3.ทิศทางการทางานจากบนลงล่าง หรือจากด้านว้ายไปด้านขวา
4.ลูกศรแต่ละเส้นบ่งบอกทิศทาง
5.คาอธิบายในกรอบภาพ ควรใช้ชิงสัญลักษณ์
แผนภาพการออกแบบโครงสร้าง
1.แผนภาพแบบเรียงลาดับ
คือ การเขียนให้ทางานจากบนลงล่าง สมมติให้มีการทางาน 3 กระบวนการคือ อ่านข้อมูล คานวณ และพิมพ์
จะเขียนเป็นผังงาน(Flowchart)ดังนี้
2.แผนภาพแบบทดสอบเงื่อนไข
คือใช้การตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อการทางานอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งมี 2 แบบ ดังนี้
2.1 แบบมีเงื่อนไขหนึ่งทางเลือก (if)
2.2 แบบมีเงื่อนไขสองทางเลือก (if-else) แสดงได้ดังตัวอย่าง การเขียนผังงานเพื่อเลือกซื้อโทรศัพท์มือถือ
3. แผนภาพแบบทาซ้า
การประมวลผลกลุ่มคาสั่งซ้าหลายครั้ง ตามลักษณะเงื่อนไขที่กาหนด อาจเรียก ได้อีกแบบว่า การวนลูป
( Looping ) แบ่งหลักการทางานได้ 2 แบบ
3.1ผังโปรแกรมทาซ้าถ้าเงื่อนไขเป็นจริง จะใช้ในงานที่มีการตรวจสอบเงื่อนไข ถ้าเป็นจริงจะทางานซ้าโดยจะ
ตรวจสอบเงื่อนไขก่อนการทางานทุกครั้ง
3.2 ผังโปรแกรมแบบทาซ้าจนกระทั่งเงื่อนไขเป็นจริง จะใช้ในระบบที่ต้องทางานก่อนการตรวจสอบ
เงื่อนไข และทางานซ้าจนกระทั่งเงื่อนไขเป็นจริง
4. แผนภาพแบบทาซ้าตามจานวนที่ระบุ ใช้ในระบบที่ต้องทางานตามจานวนรอบที่กาหนด โดยเริ่มจากรอบ
เริ่มต้นไปยังรอบสุดท้าย ตามปกติแล้วค่าการนับรอบจะเพิ่มขึ้นครั้งละหนึ่งค่า
รหัสจาลองและพีดีแอล
รหัสจาลองหรือซูโดโค้ด(Pseudo Code) และพีดีแอล (PDL:Progam
Desigan Language) เป็นการอธิบายขั้นตอนการทางาของโปรแกรม สามารถ
ใช้ได้ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ซูโดโค้ดและพีดีแอล การทางานที่การอธิบายจะไม่
ขึ้นอยู่กับโปรกรมภาษาใดภาษาหนึ่ง มีการใช้ภาษาเข้าใจง่าย เป็นต้น
ตัวอย่างซูโดโค้ด
Input a number : ใส่ข้อมูลนาเข้าเป็นค่าตัวเลข
Input n : ป้อนข้อมูลตัวเลขของจานวนรายการทั้งหมด
บทที่ 2

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศNattapon
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solutionaumaiaiai
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศKru.Mam Charoensansuay
 
งานคอม อลิตา
งานคอม  อลิตางานคอม  อลิตา
งานคอม อลิตาalita122
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศWanit Sahnguansak
 
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศwanit sahnguansak
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศน้อย วิภาภรณ์
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)tumetr
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศB'Benz Sunisa
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศKantida SilverSoul
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมEdz Chatchawan
 
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษาใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษาNattapon
 

What's hot (19)

ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2
 
SA Chapter 9
SA Chapter 9SA Chapter 9
SA Chapter 9
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solution
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานคอม อลิตา
งานคอม  อลิตางานคอม  อลิตา
งานคอม อลิตา
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solution
 
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอม
 
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษาใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
 

Viewers also liked

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
Mídias globais - Gabriel Tolstoy
Mídias globais - Gabriel TolstoyMídias globais - Gabriel Tolstoy
Mídias globais - Gabriel TolstoyGabriel130288
 
KONSEP E-LEARNING DAN KELEBIHAN SERTA KELEMAHAN E-LEARNING
KONSEP E-LEARNING DAN KELEBIHAN SERTA KELEMAHAN E-LEARNINGKONSEP E-LEARNING DAN KELEBIHAN SERTA KELEMAHAN E-LEARNING
KONSEP E-LEARNING DAN KELEBIHAN SERTA KELEMAHAN E-LEARNINGAyundari67
 

Viewers also liked (7)

UAS Eks
UAS EksUAS Eks
UAS Eks
 
Certificates
CertificatesCertificates
Certificates
 
HLCM英文样册,2016
HLCM英文样册,2016HLCM英文样册,2016
HLCM英文样册,2016
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Mídias globais - Gabriel Tolstoy
Mídias globais - Gabriel TolstoyMídias globais - Gabriel Tolstoy
Mídias globais - Gabriel Tolstoy
 
tugas UTS
tugas UTStugas UTS
tugas UTS
 
KONSEP E-LEARNING DAN KELEBIHAN SERTA KELEMAHAN E-LEARNING
KONSEP E-LEARNING DAN KELEBIHAN SERTA KELEMAHAN E-LEARNINGKONSEP E-LEARNING DAN KELEBIHAN SERTA KELEMAHAN E-LEARNING
KONSEP E-LEARNING DAN KELEBIHAN SERTA KELEMAHAN E-LEARNING
 

Similar to บทที่ 2

การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศB'Benz Sunisa
 
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศLatcha MaMiew
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอมJa Phenpitcha
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศABELE Snvip
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศThitikorn Prakrongyad
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารPrakaywan Tumsangwan
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซีMorn Suwanno
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3anusong
 

Similar to บทที่ 2 (20)

ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรมใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
 
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Lesson3 devenlopment-program
Lesson3 devenlopment-programLesson3 devenlopment-program
Lesson3 devenlopment-program
 
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คอมทรงสัก1
คอมทรงสัก1คอมทรงสัก1
คอมทรงสัก1
 
Sallai pro
Sallai proSallai pro
Sallai pro
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Project Sky
Project SkyProject Sky
Project Sky
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 

บทที่ 2