SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ใบความรู้ที่ 2 
เรื่อง เครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหา 
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี (Tools and Algorithm development) ขั้นตอน นี้เป็นขั้นตอนของการวางแผนในการแก้ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วน หลังจากที่เราทาความเข้าใจกับ ปัญหา พิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่มีอยู่ แล้ว เราสามารถคาดคะเนวิธีการที่จะใช้ในการแก้ปัญหา ขั้นตอนนี้จาเป็นต้องอาศัยประสบการณ์ของผู้แก้ปัญหาเป็นหลัก หากผู้แก้ปัญหาเคยพบกับปัญหา ทานองนี้มาแล้วก็สามารถดาเนินการตามแนวทางที่เคยปฏิบัติมา 
ขั้นตอนนี้จะเริ่มจากการเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหา โดยพิจารณาความเหมาะสม ระหว่างเครื่องมือกับเงื่อนไขต่าง ๆของปัญหาซึ่งหมายรวมถึงความสามารถของเครื่องมือในการ แก้ปัญหาดังกล่าว และสิ่งที่สาคัญคือความคุ้นเคยในการใช้งานเครื่องมือนั้น ๆ ของผู้แก้ปัญหา 
อีกสิ่งหนึ่งที่สาคัญในการแก้ปัญหา คือยุทธวิธีที่ใช้ในการแก้ปัญหาหรือที่เราเรียกว่า ขั้นตอนวิธีในการแก้ปัญหา (algorithm) ในการแก้ปัญหา หลักจากที่เราได้เครื่องมือช่วยแก้ปัญหา แล้วผู้แก้ปัญหาต้องวางแผนว่าจะใช้เครื่องมือดังกล่าวเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องและดีที่สุด การ ออกแบบขั้นตอนวิธีในการแก้ปัญหา ผู้แก้ปัญหาควรใช้แผนภาพหรือเครื่องมือในการแสดง ขั้นตอนการทางานเพื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจ เช่น ผังงาน (flowchart) ที่จาลองขั้นตอนวิธีการ แก้ปัญหาในรูปของสัญลักษณ์ รหัสจาลอง (pseudo code) ซึ่งเป็นการจาลองขั้นตอนวิธีการ แก้ปัญหาในรูปของคาบรรยาย การใช้เครื่องมือช่วยออกแบบดังกล่าวนอกจากแสดงกระบวนการที่ ชัดเจนแล้ว ยังช่วยให้ผู้แก้ปัญหาสามารถหาข้อผิดพลาดของวิธีการที่ใช้ได้ง่ายและแก้ไขได้อย่าง รวดเร็ว 
การวิเคราะห์ปัญหา 
การวิเคราะห์ปัญหา เป็นวิธีกระบวนการในการใช้วิเคราะห์โจทย์ปัญหา เพื่อใช้ในการ เขียนโปรแกรม ให้นักเรียนสามารถแก้โจทย์ปัญหาได้อย่างเป็นระบบ ซึ่งการวิเคราะห์ปัญหามี ด้วยกัน 5 ขั้นตอน ได้แก่ 
1. Output (สิ่งที่โจทย์ต้องการ) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนแรกสุด เมื่อเราได้ปัญหาหรือโจทย์ ให้ วิเคราะห์หาสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ หรือคาตอบที่ต้องแสดงผลในโปรแกรม 
2. Input (ข้อมูลนาเข้า) ขั้นตอนนี้ นักเรียนต้องวิเคราะห์สิ่งที่ต้องป้อนให้กับคอมพิวเตอร์ เพื่อที่คอมพิวเตอร์จะนาไปประมวลผลต่อไป นั่นหมายถึงสิ่งที่ต้องรู้ถึงจะได้มาซึ่งคาตอบ 
3. Variable (ตัวแปรที่ใช้) ขั้นตอนนี้เป็นการกาหนดตัวแปรที่จะใช้ในโปรแกรม ให้กาหนด ชื่อเป็นภาษาอังกฤษ (a-z) , 0-9 และสัญลักษณ์ _ (Underscore) ชื่อที่ตั้งควรสื่อความหมายให้ ผู้อื่นเข้าใจไม่ควรตั้งยาวจนเกินไป อาจใช้ตัวอักษรย่อได้ 
4. Layout (รูปแบบผลลัพธ์) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนออกแบบรูปแบบของผลลัพธ์ที่เราต้องการ ให้แสดงผลทางหน้าจอ เป็นการจาลองหน้าตาของโปรแกรมที่จะเขียนโปรแกรมออกมา 
5. Algorithm (ขั้นตอนวิธี) ขั้นตอนนี้เป็นลาดับขั้นตอนในการทางานของคอมพิวเตอร์ เรา
ต้องเขียนเป็นข้อ ๆ เรียงลาดับให้ชัดเจน เพราะคอมพิวเตอร์นั้นจะประมวลผลคาสั่ง ตามลาดับขั้นตอนที่เรากาหนด 
การเขียนผังงาน (Flowchart) 
สถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกา (The American National Standard Institute , ANSI) ได้ กาหนดสัญลักษณ์มาตรฐานที่ใช้สาหรับการเขียนผังงาน ให้เราสามารถเลือกใช้ตามความเหมาะสม 
ตารางแสดงความหมายของสัญลักษณ์ผังงาน (Flowchart) 
สัญลักษณ์ 
ชื่อเรียก 
ความหมาย 
เริ่มต้นและสิ้นสุด 
(terminal) 
แทนจุดเชื่อมต่อของผังงานเมื่อใช้สัญลักษณ์ เพื่อให้ดูง่าย 
การนาข้อมูลเข้า และนา ออกจากสื่อบันทึก 
(general input/output) 
แทนจุดการนาข้อมูลเข้าหรือออกจากระบบ คอมพิวเตอร์โดยไม่ระบุอุปกรณ์ 
การตัดสินใจ 
(decision) 
แทนจุดที่จะต้องเลือกปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง 
การแสดงข้อมูล 
(display) 
แทนจุดที่แสดงข้อมูลทางจอภาพ 
การทาเอกสาร 
(document) 
แทนจุดที่มีข้อมูลเป็นเอกสารหรือแสดงข้อมูล ด้วยเครื่องพิมพ์ 
การปฏิบัติงาน 
(process) 
แทนจุดที่มีการปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง 
จุดเชื่อมต่อ 
(connector) 
แทนจุดเชื่อมต่อของผังงานที่อยู่หน้าเดียวกัน 
จุดเชื่อมต่อหน้ากระดาษ 
(off page connector) 
แทนจุดเชื่อมต่อผังงานที่อยู่คนละหน้า 
ทิศทาง 
(flow line) 
แทนทิศทางขั้นตอนการดาเนินงานซึ่งจะ ปฏิบัติต่อเนื่องตามทิศทางของหัวลูกศร
แบบตัดสัญลักษณ์

More Related Content

What's hot

1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
mind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdfmind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdfssuser3892ca
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03Chay Kung
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนMontira Butyothee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u soundpantiluck
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)pingpingmum
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกFah Philip
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศmaleela
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามวชิรญาณ์ พูลศรี
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการkasetpcc
 

What's hot (20)

1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
mind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdfmind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdf
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u sound
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
 

Similar to Week2-1

การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศWanit Sahnguansak
 
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศwanit sahnguansak
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์prang00
 
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6yosawat1089
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศB'Benz Sunisa
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9Rattana Wongphu-nga
 
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรมหลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรมNunnaphat Chadajit
 
งานคอม อลิตา
งานคอม  อลิตางานคอม  อลิตา
งานคอม อลิตาalita122
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2Orapan Chamnan
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ Hiz Hi
 
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอน
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนการเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอน
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนKhemjira Plongsawai
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solutionaumaiaiai
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solutionaumaiaiai
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศwarathip pongkan
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศbenz18
 

Similar to Week2-1 (20)

การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
 
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9
 
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรมหลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
 
งานคอม อลิตา
งานคอม  อลิตางานคอม  อลิตา
งานคอม อลิตา
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอน
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนการเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอน
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solution
 
It1
It1It1
It1
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solution
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

More from Supaksorn Tatongjai (20)

Work30243 new58
Work30243 new58Work30243 new58
Work30243 new58
 
คำสั่งในโปรแกรมภาษาซี
คำสั่งในโปรแกรมภาษาซีคำสั่งในโปรแกรมภาษาซี
คำสั่งในโปรแกรมภาษาซี
 
7 3 condition
7 3 condition7 3 condition
7 3 condition
 
7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง
 
7 1 dev c++
7 1 dev c++7 1 dev c++
7 1 dev c++
 
Work20253
Work20253Work20253
Work20253
 
Week4-16
Week4-16Week4-16
Week4-16
 
Week4-1
Week4-1Week4-1
Week4-1
 
Week3-14
Week3-14Week3-14
Week3-14
 
Week3-13
Week3-13Week3-13
Week3-13
 
Week3-2
Week3-2Week3-2
Week3-2
 
Week3-1
Week3-1Week3-1
Week3-1
 
Week2-13
Week2-13Week2-13
Week2-13
 
Week2-12
Week2-12Week2-12
Week2-12
 
Week2-2
Week2-2Week2-2
Week2-2
 
Week1-11
Week1-11Week1-11
Week1-11
 
Week1-1
Week1-1Week1-1
Week1-1
 
M1-Programs1
M1-Programs1M1-Programs1
M1-Programs1
 
Work30243
Work30243Work30243
Work30243
 
Week4-46
Week4-46Week4-46
Week4-46
 

Week2-1

  • 1. ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง เครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหา การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี (Tools and Algorithm development) ขั้นตอน นี้เป็นขั้นตอนของการวางแผนในการแก้ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วน หลังจากที่เราทาความเข้าใจกับ ปัญหา พิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่มีอยู่ แล้ว เราสามารถคาดคะเนวิธีการที่จะใช้ในการแก้ปัญหา ขั้นตอนนี้จาเป็นต้องอาศัยประสบการณ์ของผู้แก้ปัญหาเป็นหลัก หากผู้แก้ปัญหาเคยพบกับปัญหา ทานองนี้มาแล้วก็สามารถดาเนินการตามแนวทางที่เคยปฏิบัติมา ขั้นตอนนี้จะเริ่มจากการเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหา โดยพิจารณาความเหมาะสม ระหว่างเครื่องมือกับเงื่อนไขต่าง ๆของปัญหาซึ่งหมายรวมถึงความสามารถของเครื่องมือในการ แก้ปัญหาดังกล่าว และสิ่งที่สาคัญคือความคุ้นเคยในการใช้งานเครื่องมือนั้น ๆ ของผู้แก้ปัญหา อีกสิ่งหนึ่งที่สาคัญในการแก้ปัญหา คือยุทธวิธีที่ใช้ในการแก้ปัญหาหรือที่เราเรียกว่า ขั้นตอนวิธีในการแก้ปัญหา (algorithm) ในการแก้ปัญหา หลักจากที่เราได้เครื่องมือช่วยแก้ปัญหา แล้วผู้แก้ปัญหาต้องวางแผนว่าจะใช้เครื่องมือดังกล่าวเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องและดีที่สุด การ ออกแบบขั้นตอนวิธีในการแก้ปัญหา ผู้แก้ปัญหาควรใช้แผนภาพหรือเครื่องมือในการแสดง ขั้นตอนการทางานเพื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจ เช่น ผังงาน (flowchart) ที่จาลองขั้นตอนวิธีการ แก้ปัญหาในรูปของสัญลักษณ์ รหัสจาลอง (pseudo code) ซึ่งเป็นการจาลองขั้นตอนวิธีการ แก้ปัญหาในรูปของคาบรรยาย การใช้เครื่องมือช่วยออกแบบดังกล่าวนอกจากแสดงกระบวนการที่ ชัดเจนแล้ว ยังช่วยให้ผู้แก้ปัญหาสามารถหาข้อผิดพลาดของวิธีการที่ใช้ได้ง่ายและแก้ไขได้อย่าง รวดเร็ว การวิเคราะห์ปัญหา การวิเคราะห์ปัญหา เป็นวิธีกระบวนการในการใช้วิเคราะห์โจทย์ปัญหา เพื่อใช้ในการ เขียนโปรแกรม ให้นักเรียนสามารถแก้โจทย์ปัญหาได้อย่างเป็นระบบ ซึ่งการวิเคราะห์ปัญหามี ด้วยกัน 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1. Output (สิ่งที่โจทย์ต้องการ) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนแรกสุด เมื่อเราได้ปัญหาหรือโจทย์ ให้ วิเคราะห์หาสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ หรือคาตอบที่ต้องแสดงผลในโปรแกรม 2. Input (ข้อมูลนาเข้า) ขั้นตอนนี้ นักเรียนต้องวิเคราะห์สิ่งที่ต้องป้อนให้กับคอมพิวเตอร์ เพื่อที่คอมพิวเตอร์จะนาไปประมวลผลต่อไป นั่นหมายถึงสิ่งที่ต้องรู้ถึงจะได้มาซึ่งคาตอบ 3. Variable (ตัวแปรที่ใช้) ขั้นตอนนี้เป็นการกาหนดตัวแปรที่จะใช้ในโปรแกรม ให้กาหนด ชื่อเป็นภาษาอังกฤษ (a-z) , 0-9 และสัญลักษณ์ _ (Underscore) ชื่อที่ตั้งควรสื่อความหมายให้ ผู้อื่นเข้าใจไม่ควรตั้งยาวจนเกินไป อาจใช้ตัวอักษรย่อได้ 4. Layout (รูปแบบผลลัพธ์) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนออกแบบรูปแบบของผลลัพธ์ที่เราต้องการ ให้แสดงผลทางหน้าจอ เป็นการจาลองหน้าตาของโปรแกรมที่จะเขียนโปรแกรมออกมา 5. Algorithm (ขั้นตอนวิธี) ขั้นตอนนี้เป็นลาดับขั้นตอนในการทางานของคอมพิวเตอร์ เรา
  • 2. ต้องเขียนเป็นข้อ ๆ เรียงลาดับให้ชัดเจน เพราะคอมพิวเตอร์นั้นจะประมวลผลคาสั่ง ตามลาดับขั้นตอนที่เรากาหนด การเขียนผังงาน (Flowchart) สถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกา (The American National Standard Institute , ANSI) ได้ กาหนดสัญลักษณ์มาตรฐานที่ใช้สาหรับการเขียนผังงาน ให้เราสามารถเลือกใช้ตามความเหมาะสม ตารางแสดงความหมายของสัญลักษณ์ผังงาน (Flowchart) สัญลักษณ์ ชื่อเรียก ความหมาย เริ่มต้นและสิ้นสุด (terminal) แทนจุดเชื่อมต่อของผังงานเมื่อใช้สัญลักษณ์ เพื่อให้ดูง่าย การนาข้อมูลเข้า และนา ออกจากสื่อบันทึก (general input/output) แทนจุดการนาข้อมูลเข้าหรือออกจากระบบ คอมพิวเตอร์โดยไม่ระบุอุปกรณ์ การตัดสินใจ (decision) แทนจุดที่จะต้องเลือกปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง การแสดงข้อมูล (display) แทนจุดที่แสดงข้อมูลทางจอภาพ การทาเอกสาร (document) แทนจุดที่มีข้อมูลเป็นเอกสารหรือแสดงข้อมูล ด้วยเครื่องพิมพ์ การปฏิบัติงาน (process) แทนจุดที่มีการปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง จุดเชื่อมต่อ (connector) แทนจุดเชื่อมต่อของผังงานที่อยู่หน้าเดียวกัน จุดเชื่อมต่อหน้ากระดาษ (off page connector) แทนจุดเชื่อมต่อผังงานที่อยู่คนละหน้า ทิศทาง (flow line) แทนทิศทางขั้นตอนการดาเนินงานซึ่งจะ ปฏิบัติต่อเนื่องตามทิศทางของหัวลูกศร