SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
เมกเกอร์
Maker
กิจกรรมเสริมศึกษาแนวใหม่สาหรับเยาวชน
เชื่อมโยง STEM และศิลปะ
โครงการพัฒนาเยาวชนในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์ :
โรงเรียนระดับประถมศึกษา ในจังหวัดปทุมธานี
∙ 2 ∙
ความรู้ที่เผยแพร่นี้ได้จากเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง
"Maker/Maker Space : กิจกรรมเสริมศึกษาแนวใหม่สาหรับเยาวชน"
ในวันอังคารที่ 22 สิงหาคม 2560 ภายในงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ประจาปี 2560 ณ ห้องแอมเบอร์ 3 ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี
วิทยากร :
David Wells
Director of Maker Programming
Maker Space at New York Hall of Science
เรียบเรียงโดย
ธเนศ ศิรินุมาศ (เอ)
เจ้าหน้าที่พัฒนานวัตกรรมและประเมินผลการเรียนรู้
โครงการพัฒนาเยาวชนในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์ :
โรงเรียนระดับประถมศึกษา ในจังหวัดปทุมธานี
(Young Influencer Pathumthani)
∙ 3 ∙
เมกเกอร์ (Maker) คืออะไร ?
หากคุณครูรู้จัก “ดีไอวาย (DIY ย่อมาจาก Do It Yourself)” การประดิษฐ์ของง่าย ๆ ด้วยตนเอง
เมกเกอร์ก็คือขั้นกว่าของดีไอวายนั่นเอง
ซึ่ง วัฒนธรรมดีไอวาย การประดิษฐ์ของง่าย ๆ พัฒนามาเป็น วัฒนธรรมเมกเกอร์ การสร้างสรรค์
สิ่งต่าง ๆ ที่อาจนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้
เมกเกอร์ คือ
ผู้สร้างสรรค์ที่แสวงหาทางแก้ “ปัญหา” โดยอาศัย “วัสดุอุปกรณ์” และ “กระบวนการ”
Maker is who uses Materials/Tools + Process to solve a Problem
วัสดุอุปกรณ์ที่เมกเกอร์ใช้ เป็นสิ่งใดก็ได้ ตั้งแต่ กระดาษ ปากกา เทปกาว ไม้ โลหะ แผงวงจร ไป
จนถึงเครื่องพิมพ์สามมิติ ฯลฯ
กระบวนการที่เมกเกอร์ใช้ จะเป็นการประดิษฐ์ ดัดแปลง ปรับปรุง แฮก ฯลฯ ก็ได้
∙ 4 ∙
ปัญหาที่เมกเกอร์ต้องการแก้ ก็เป็นปัญหาใด ๆ ก็ได้ ไม่จาเป็นต้องใหญ่จนเปลี่ยนโลก
เช่น
ปัญหา : เบื่อ
ประดิษฐ์ : ทากระดาษหมากฮอส (โดยใช้ปากกาเคมีเขียนลงบนกระดาษลัง และใช้ฝาจีบเป็น
หมาก)
ปัญหา : ควันไฟจากการย่างไก่พัดเข้าหน้า
ประดิษฐ์ : พัดลมดูดควัน (จากอะไหล่รถยนต์)
หัวใจของการเป็นเมกเกอร์
Maker Mindset
1
สนุก
2
อยากทา
3
อยากแบ่งปัน *
4
อยากทา
ร่วมกับผู้อื่น
1. สนุก
เมกเกอร์ต้องสนุก มีความสุขที่ได้ทา
2. อยากทา
เมกเกอร์ต้องมีความอยากทา อยากประดิษฐ์ อยากแก้ปัญหา
∙ 5 ∙
3. อยากแบ่งปัน * <<<< เป็นสิ่งที่สาคัญที่สุด !
แบ่งปัน วัสดุอุปกรณ์ เครื่องไม้เครื่องมือ หรือไอเดีย ความรู้ ก็ได้
การแบ่งปัน เป็นการขยายไอเดีย ขยายความรู้ เปิดโอกาสให้ผู้อื่น
ซึ่งสามารถทาได้โดยผ่านช่องทางต่าง ๆ เช่น
 อินเทอร์เน็ต / สังคมออนไลน์
เช่น ถ่ายวิดีโอเผยแพร่ใน YouTube, ถ่ายรูปเผยแพร่ใน Facebook, Instagram,
Pinterest หรือเว็บไซต์อื่น ๆ เพื่อให้คนอื่นดูเป็นต้นแบบและนาไปต่อยอด
 เมกเกอร์สเปซ (Maker Space)
พื้นที่ที่เหล่าเมกเกอร์มารวมตัวกัน เพื่อแบ่งปันเครื่องไม้เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ ตั้งแต่
เครื่องมือช่างไปจนถึงบางอย่างที่ราคาสูง เช่น เครื่องพิมพ์สามมิติ อุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ หรือเป็นพื้นที่ที่มาแบ่งปันไอเดียความรู้กัน
ซึ่งปัจจุบันในประเทศไทยมีเมกเกอร์สเปซเปิดให้บริการด้วย
 เมกเกอร์แฟร์
งานที่เมกเกอร์มารวมตัวกันเพื่อแสดงผลงาน แลกเปลี่ยนและกระจายไอเดีย เช่น
World Maker Faire,
Bangkok Maker Faire
ดูข้อมูลได้ที่ www.bangkokmakerfaire.com
หรือ www.facebook.com/bangkokmakerfaire
∙ 6 ∙
บางอย่างไม่จาเป็นต้องประดิษฐ์เสร็จเป็นชิ้นเป็นอัน ก็สามารถแบ่งปันไอเดียได้เช่นกัน
เช่น โอเพนซอร์ซ (Open Source) การแจกจ่ายความรู้ โดยเฉพาะซอฟต์แวร์ โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้อื่นนาไปออกแบบ พัฒนาต่อยอดได้
Open Source เปิดแหล่งข้อมูล
Open-Minded เปิดใจ : ใจกว้างยอมแบ่งปัน
Open Door เปิดประตู : เปิดประตูให้ผู้อื่นเข้ามาเห็นไอเดียของเรา
และเปิดประตูให้ผู้อื่นไปต่อยอดได้
และหากมีไอเดีย แต่ไม่มีทุนในการสร้าง ก็สามารถเสนอไอเดียเพื่อระดมทุนได้ ซึ่งปัจจุบันมีการ
ระดมทุนผ่านอินเทอร์เน็ตที่เรียกว่า คราวด์ฟันดิง (Crowdfunding) เพื่อนาทุนมาเปลี่ยนฝันให้
เป็นจริง
ตัวอย่างคราวด์ฟันดิง
 GoFundMe : www.gofundme.com
 Kickstarter : www.kickstarter.com
 Indiegogo : www.indiegogo.com
∙ 7 ∙
4. อยากทาร่วมกับผู้อื่น
การทาร่วมกัน การแบ่งปันไอเดียระหว่างกัน จะทาให้เกิดการพัฒนาไวขึ้น เพราะทุกคนมา
ช่วยกัน และหากเป็นการทาร่วมกับผู้อื่นที่มีความรู้ต่างสาขากัน ก็จะทาให้เกิดการแลกเปลี่ยน
ข้อมูล ความรู้ และทาให้เกิดไอเดียใหม่ ๆ ได้ ตัวอย่างเช่น
ปัญหา : เมื่อนักแข่งจักรยานจะดื่มน้าจากขวดที่พกไป พวกเขาจะต้อง
1. หยิบขวด 2. หมุนเปิดฝา 3. กระดก - ดื่ม
4. หมุนปิดฝา 5. เก็บขวด
ซึ่งเสียเวลาเพราะความยุ่งยากของการเปิดฝา
หนึ่งในทีมงานเมกเกอร์ที่มาร่วมกันออกแบบขวดน้าแบบใหม่เคยทางานในสายสุขภาพ จึงนึกถึง
ลิ้นหัวใจ ที่เมื่อหัวใจบีบ ลิ้นหัวใจจะเปิด และจะปิดเมื่อหัวใจหยุดบีบ จึงนาเอาหลักการนี้มา
ประดิษฐ์ “ขวดน้าที่มีฝาแบบลิ้นหัวใจ” ทาให้เวลานักปั่นจะดื่มน้า เพียงแค่
1. หยิบขวด 2. บีบ 3. ดื่ม 4. เก็บขวด
เป็นการแก้ปัญหา ลดความยุ่งยากและลดเวลาให้นักแข่งจักรยานเป็นอย่างมาก
∙ 8 ∙
เมกเกอร์จึงเป็นมากกว่า DIY : Do It Yourself
เพราะเมกเกอร์เป็น DIT : Do It Together
ณ เมกเกอร์สเปซ
เมกเกอร์สเปซสาหรับนักเรียนจะเป็น แอคทีฟเลินนิ่งสเปซ (Avtive Learning Space) พื้นที่
เรียนรู้แบบเน้นกระบวนการ
ในเมกเกอร์สเปซ นักเรียนจะนั่งบนพื้น นั่งบนเก้าอี้ จะยืน จะเดิน หรือไปยืนดูคนอื่นก็ได้
ให้นักเรียนเป็นผู้กาหนดเองว่าอยากทาอะไร อยากเรียนรู้อะไร
ส่วนคุณครูจะเป็นผู้อานวย (Facilitator) ร่วมหาคาตอบ ร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน
∙ 9 ∙
รูปแบบกิจกรรม
กิจกรรมที่จะจัดให้นักเรียนอาจเป็นกิจกรรมเดี่ยวหรือกลุ่มก็ได้
รูปแบบกิจกรรมส่งเสริมความเป็นเมกเกอร์ ที่น่าสนใจ และเหมาะสาหรับส่งเสริมการเรียนรู้ใน
โรงเรียนมี 2 รูปแบบ ดังนี้
1. ปลายเปิด (Open Ended)
2. สารวจและเรียนรู้ (Exploration Learning)
1. ปลายเปิด
เป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนใช้จิตนาการอย่างอิสระ สร้างสรรค์ผลงานจากวัสดุที่มีให้
หลักการคือ “กาหนดโจทย์ให้น้อยที่สุด”
ให้นักเรียนตีโจทย์เองว่าของเหล่านี้จะนาไปทาอะไรได้บ้าง
เขาจะออกแบบสิ่งที่เขาต้องการเอง
กระบวนการเรียนรู้ของนักเรียนจะเป็น
ออกแบบ (Design) - สร้างสรรค์ (Make) - เล่น (Play)
เขาจะได้ใช้จินตนาการอย่างสนุกบนข้อจากัดที่คุณครูมีให้ เช่น วัสดุที่มีอยู่อย่างจากัด
∙ 10 ∙
ตัวอย่างกิจกรรม
 กล่องลัง + เทปกาว
ซึ่งนักเรียนอาจประดิษฐ์เป็น หุ่นยนต์ ตู้ กรอบรูป ฯลฯ
 วัสดุหลาย ๆ อย่างกองรวมกัน
(อาจเรียกว่า “กองขยะ” แล้วให้โจทย์ว่า “เปลี่ยนขยะให้เป็นประโยชน์” ก็ได้)
2. สารวจและเรียนรู้
รูปแบบนี้จะเป็นโจทย์ปลายปิด แต่เปิดโอกาสให้นักเรียนเรียนรู้และใช้จิตนการของตนสร้างสรรค์
ผลงานออกมา ซึ่งมีหลักการเรียนรู้ 4 ข้อ หรือ 4 D(s)
1) Deconstruction : ถอดแบบ
ให้นักเรียนถอดแบบ ถอดรื้อโครงสร้างสิ่งของต้นแบบว่า
1. สิ่งนั้นคืออะไร ?
2. มันทาอะไรได้ ?
3. มันทาจากอะไรบ้าง ?
4. วัสดุแต่ละอันมีคุณสมบัติอย่างไร ?
5. วัสดุแต่ละอันมีหน้าที่อะไร ?
การถอดแบบ คุณครูอาจอนุญาตให้นักเรียนงัด แงะ แกะ ทาลายต้นแบบเพื่อการเรียนรู้ได้เลยว่า
ด้านในมีอะไรบ้าง แต่จะจุดมีกลไกอะไรบ้าง
∙ 11 ∙
2) Discovery : ค้นพบ
ให้นักเรียนเรียนรู้ เข้าใจ และค้นพบว่า วัสดุนั้นทาอะไรได้บ้าง ?
แล้วมีวัสดุอื่นไหมที่ทาแบบนั้นได้เหมือนกันหรือคล้าย ๆ กัน มีคุณสมบัติใกล้เคียงกัน ?
ให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตัวเอง ไม่ใช่คุณครูบอก
3) Design : ออกแบบ
ให้นักเรียนเอาความรู้ที่ได้มายืดหยุ่น ใช้จินตนาการสร้างสรรค์ ออกแบบสิ่งใหม่ขึ้นมา
โดยขั้นตอนออกแบบอาจแบ่งเป็น
1. สร้างแนวคิด
2. สร้างแบบจาลอง
3. สร้างชิ้นงานจริง
4) Display : ออกแสดง
ให้นักเรียนนาเสนอผลงาน แบ่นปันไอเดีย เล่าให้ฟังว่าตัวเองสร้างสรรค์อะไรมา และฉลองกับ
ความสาเร็จว่าเขาทาได้
∙ 12 ∙
ตัวอย่างกิจกรรม
1 : สมุดทามือ
ที่มา : Maker Space at NYSCI
วัดสุอุปกรณ์ :
- กระดาษ (หลายสี หลายแบบได้ เช่น กระดาษสาหรับทาปกอาจเป็นกระดาษแข็ง)
- คลิปหนีบกระดาษ - ตะปู - ค้อน
- แผ่นรองเจาะ - เข็ม - ด้ายหรือไหมพรม
- กรรไกร - ไม้บรรทัด - ดินสอ
- ของตกแต่ง เช่น กาว ดอกไม้ประดิษฐ์ ลูกตา สติ๊กเกอร์ สี ฯลฯ
∙ 13 ∙
วิธีทา : https://tmblr.co/ZhSG4w1q29v_k
จะเห็นว่าเป็นโจทย์ปลายปิด คือ ให้ประดิษฐ์สมุดทามือ
ให้เขาดูต้นแบบ ถอดแบบ ค้นพบจากสมุดต้นแบบที่คุณครูทา
แต่ยังเปิดโอกาสให้นักเรียนได้สร้างสรรค์จินตนาการ ออกแบบเองว่า สมุดของตนจะมีรูปร่าง
หน้าตาอย่างไร
นักเรียนจะมี “ความสุข” และ “ความสนุก” เมื่อพวกเขาได้เลือกเอง
เลือกว่าจะทากี่หน้า
เลือกว่าจะใช้กระดาษสีอะไร
เลือกว่าจะใช้อะไรตกแต่งปกสมุด
การเลือกเอง ทาให้นักเรียนได้ฟังเสียงของตนเอง ได้แสดงออก ได้สะท้อนความเป็นตัวตน
กิจกรรมนี้นอกจากจะฝึกเรื่องความคิดสร้างสรรค์แล้ว
ยังฝึกเรื่องสังคมเนื่องจากสมุดแต่ละเล่มจะมีหน้าตาไม่เหมือนกัน มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง
แสดงออกถึงตัวตนของผู้ประดิษฐ์ อาจทาให้เกิดความอยากรู้จักผู้ที่มีแนวเหมือนหรือคล้ายตัวเอง
และอยากแลกเปลี่ยนความต่างกับผู้อื่น
∙ 14 ∙
นอกจากนี้ยังสร้างความภูมิใจในตัวเอง
เด็กและผู้ใหญ่จะชอบจดลงสมุดที่ตัวเองทาเพราะภูมิใจ
คุณครูอาจจัดกิจกรรมนี้ในช่วงเปิดเทอม หรือตอนเริ่มต้นค่าย
ถ้านักเรียนใช้เต็มเล่มแล้ว ต่อไปนักเรียนจะสามารถประดิษฐ์สมุดเองได้
บางคนอาจคิดว่าสมุดทายาก แต่เมื่อลองทาก็พบว่ามันง่าย
แต่การทาสมุดก็ไม่ง่ายซะทีเดียว เพราะมีรายละเอียดเรื่องระยะห่างการเจาะ การเย็บ
สรุปสิ่งที่ได้จากกิจกรรม “สมุดทามือ” :
- ความคิดสร้างสรรค์ (วิชาศิลปะ)
- การแสดงออกทางสังคม
- ความภูมิใจ
- ประสบการณ์ (วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี)
∙ 15 ∙
2. ลิงค์เกจ - ชิ้นต่อโยง (Linkage)
กิจกรรมให้นักเรียนสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ที่มีกลไกต่อโยง (คล้ายประตูเหล็กยืด)
ที่มา : Maker Space at NYSCI
วัสดุอุปกรณ์ :
- กระดาษลัง - หมุดลิ้นแฟ้มโลหะ - ไม้บรรทัด
- ดินสอ ปากกา - กรรไกร - มีดคัตเตอร์
- อุปกรณ์เจาะรู (อาจใช้ ปากกา ไขควง หรือตะปูก็ได้) - เทปกาว
- ของตกแต่งอื่น ๆ เช่น กระดาษสี กาว สี ฯลฯ
วิธีทา : https://tmblr.co/ZhSG4w1qmjpB6
∙ 16 ∙
กิจกรรมนี้นักเรียนต้องตัดกระดาษลัง เจาะรู และยึดข้อต่อด้วยหมุดลิ้นแฟ้มโลหะ หลังจากที่เขาดู
แบบ ถอดแบบ ค้นพบ และมาออกแบบเอง ซึ่งนักเรียนอาจสร้างสรรค์ชิ้นต่อโยงเป็นหุ่นชัก ของ
เล่นชกมวย ที่คีบ กรรไกร ฯลฯ
เมื่อเสร็จแล้วก็ให้นักเรียนแต่ละคนมาแสดง แบ่งปัน เล่าถึงผลงานของตน
กิจกรรมนี้ต้องใช้ทั้ง “เทคนิค” และ “ความคิดสร้างสรรค์” พร้อม ๆ กัน
ขณะทา นักเรียนบางคนอาจเกิดปัญหาใช้เวลานาน คิดไม่ออก ฯลฯ
ดังนั้น บางครั้งอาจต้องใช้ “เทคนิค” หรือ “ความคิดสร้างสรรค์” สิ่งใดสิ่งหนึ่งนา
จินตนาการ คิดก่อนว่าจะทาอะไร
หรือทาไปก่อนแล้วค่อยใช้จินตนาการว่าสิ่งนี้คืออะไร
ขณะทาอาจรู้สึกหงุดหงิด ซึ่งเป็นเรื่องปกติ อย่าถอดใจ
ต้องผลักดันตัวเอง ทาให้สาเร็จให้ได้
สรุปสิ่งที่ได้จากกิจกรรม “ลิงค์เกจ - ชิ้นต่อโยง” :
- การคานวณ (วิชาคณิตศาสตร์)
- การตัดสินใจ
- ความคิดสร้างสรรค์ (วิชาศิลปะ)
- ความไม่ยอมแพ้
- กลไกอย่างง่าย (วิชาวิทยาศาสตร์ งานช่างและวิศวกรรมเบื่องต้น)
- การเล่าเรื่อง (ความคิดสร้างสรรค์, ประวัติศาสตร์, ภาษา)
∙ 17 ∙
3. ผลิตเครื่องดนตรี
วัสดุอุปกรณ์ :
- เครื่องดนตรี จะเป็นของจริงหรือของเล่นก็ได้ แต่ทาให้เกิดเสียงดนตรีได้จริง หนึ่งกลุ่มอาจได้
เครื่องดนตรีมากกว่า 2 ชิ้น
- วัสดุทาแบบจาลอง เช่น กระดาษลัง เชือก เทปกาว ฯลฯ
กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมให้นักเรียนใช้หลักการ 4 D(s) โดยเริ่มจาก
Deconstruction : ถอดแบบเครื่องดนตรีที่คุณครูนามาให้
ให้นักเรียนถอดแบบ ถอดรื้อโครงสร้างสิ่งของต้นแบบว่า
1) เครื่องดนตรีแต่ละชิ้นนั้นคืออะไร ?
เช่น ฉิ่ง
∙ 18 ∙
2) เครื่องนั้นเกิดเสียงได้ด้วยวิธีใด ?
เช่น กระทบกันแล้วเกิดเสียง
3) มันทาจากอะไรบ้าง ?
เช่น เชือกและทองเหลือง
4) วัสดุของแต่ละส่วนนั้นมีคุณสมบัติอย่างไรอย่างไรบ้าง ?
เช่น เชือกเป็นเส้นเล็ก มีความคงทน
ทองเหลืองเป็นโลหะ แข็ง
5) วัสดุแต่ละอันมีหน้าที่อะไร ?
เช่น เชือกยึดให้มันอยู่ด้วยกัน
ส่วนทองเหลืองใช้กระทบให้เกิดเสียง
Discovery : ค้นพบว่า วัสดุนั้นทาอะไรได้บ้าง ?
แล้วค้นหามีวัสดุอื่นไหมที่ทาแบบนั้นได้เหมือนกันหรือคล้าย ๆ กัน มีคุณสมบัติใกล้เคียงกัน ?
Design : ออกแบบ เช่น
1) สร้างแนวคิด เช่น ออกแบบเป็นตาข่ายที่ยึดก้อนโลหะไว้ เมื่อเขย่าตาข่าย โลหะจะ
กระทบกันแล้วเกิดเป็นเสียง
2) สร้างแบบจาลองจากไหมพรมและนากระดาษมาแทนก้อนโลหะ
3) สร้างชิ้นงานจริง
อาจทาหรือไม่ทาก็ได้ขึ้นอยู่กับกระบวนการที่คุณครูกาหนด
ขั้นนี้อาจเป็นการให้นักเรียนใช้เครื่องไม้เครื่องมือ วัสดุจริง เช่น เครื่องพิมพ์สามมิติ
∙ 19 ∙
Display : ออกแสดง
นาเสนอ
การสร้างแบบจาลองจากกระดาษจะทาให้นักเรียนไม่ติดข้อจากัด จึงใช้จินตนาการได้เต็มที่ คิดว่า
ทุกอย่างสามารถเป็นจริงได้
สรุปสิ่งที่ได้จากกิจกรรม “ผลิตเครื่องดนตรี” :
- ความคิดสร้างสรรค์ (วิชาศิลปะ)
- วิทยาศาสตร์
- การเล่าเรื่อง (ความคิดสร้างสรรค์, ภาษา)
ข้อเสนอ
 คุณครูอาจเพิ่มเรื่องราวของโจทย์ให้นักเรียนรู้สึกตื่นเต้น สนุก ท้าทาย เช่น
“คุณครูเป็นเจ้าของโรงงานผลิตเครื่องดนตรี วันนี้คุณครูอยากให้พนักงานทุกคนช่วยกัน
ออกแบบเครื่องดนตรีใหม่ที่เราจะส่งไปขายทั่วโลก”
 และคุณครูอาจสร้างบรรยากาศระหว่างทาโดยการเปิดเพลงหรือดนตรีที่มีจังหวะสดใส
ร่าเริง ไม่ง่วง และไม่รบกวนสมาธินักเรียนเกินไป
∙ 20 ∙
ข้อควรคานึง
เครื่องมือ
ถ้าเตือนนักเรียนในมุมมองความปลอดภัย เช่น “ระวังมีดบาด” อาจทาให้นักเรียนกลัว ไม่กล้าใช้
เครื่องมือ และไม่เกิดการเรียนรู้
จึงขอแนะนาให้คุณครูพูดแนะนานักเรียนว่า เครื่องมือแต่ละชนิดทาอะไรได้บ้าง เราใช้มันทาอะไร
ได้บ้าง ใช้อย่างถูกต้องอย่างไร และมันจะช่วยให้เราทางานสาเร็จได้อย่างไรบ้าง เป็นการถอดแบบ
(Deconstruction) ซึ่งจะทาให้นักเรียนรู้สึกสนุกและอยากใช้เครื่องมือ
ถ้านักเรียนใช้ผิดวิธี คุณครูก็เข้าไปคุยกับนักเรียนว่านักเรียนกาลังใช้ผิดเงื่อนไขที่ตกลงกันไว้ วิธีที่
ถูกต้องควรทาอย่างไร
∙ 21 ∙
การให้กาลังใจ
สิ่งที่เมกเกอร์ตัวน้อยหรือนักเรียนสร้างสรรค์ขึ้นมาอาจมีความต่างกัน ตั้งแต่ง่าย ๆ ไปจนถึง
สวยงาม ยิ่งใหญ่ น่าประทับใจ
แต่ทุกชิ้นล้วนเป็นผลงานที่นักเรียนคนนั้นตั้งใจทาขึ้นมา คุณครูจึงควรระวังเรื่องการเปรียบเทียบ
การชม เพราะความสามารถของเด็กต่างกัน ความต้องการของเด็กต่างกัน แต่ความพยายามของ
เขาเท่ากัน คุณครูจึงควรทาให้พวกเขารู้สึกภูมิใจในผลงานของตน
กิจกรรม เมกเกอร์ เชื่อมโยงกับ
วิชา : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ (STEM) และศิลปะ
พหุปัญญา : ด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ และด้านศิลปะ
ซึ่งคุณครูสามารถปลูกฝังความเป็นเมกเกอร์ให้นักเรียนด้วยกิจกรรมง่าย ๆ ใช้วัสดุอุปกรณ์ง่าย ๆ
แต่ได้ความรู้หลายด้าน
∙ 22 ∙
Note…
∙ 23 ∙
Note…
∙ 24 ∙

More Related Content

What's hot

โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นAopja
 
โครงงานสมบูรณ์
โครงงานสมบูรณ์โครงงานสมบูรณ์
โครงงานสมบูรณ์Kantisa Motalee
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)Rojsak Chiablaem
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...Prachoom Rangkasikorn
 
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงานTithichaya Apiwong
 
การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Stad
การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Stadการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Stad
การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (StadJindarat JB'x Kataowwy
 
โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52Dmath Danai
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2พัน พัน
 
โปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch upโปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch upChainarong Maharak
 
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะChamp Wachwittayakhang
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์จตุรพล ชานันโท
 
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจลโครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจลjellyjel
 
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560สภานักเรียน ส.ป. samutprakanstudentcouncil
 
รายงานโครงการคอมพิวเตอร์ กลุ่ม Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสม...
รายงานโครงการคอมพิวเตอร์ กลุ่ม Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสม...รายงานโครงการคอมพิวเตอร์ กลุ่ม Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสม...
รายงานโครงการคอมพิวเตอร์ กลุ่ม Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสม...BlogAseanTraveler
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมสร้างสรรค์ 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมสร้างสรรค์ 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมสร้างสรรค์ 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมสร้างสรรค์ 5 ขวบkrutitirut
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4parkpoom11z
 

What's hot (20)

โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
 
โครงงานสมบูรณ์
โครงงานสมบูรณ์โครงงานสมบูรณ์
โครงงานสมบูรณ์
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
 
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
 
การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Stad
การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Stadการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Stad
การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Stad
 
โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
โครงงาน 2
โครงงาน 2โครงงาน 2
โครงงาน 2
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2
 
โปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch upโปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch up
 
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
 
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจลโครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
 
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560
 
รายงานโครงการคอมพิวเตอร์ กลุ่ม Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสม...
รายงานโครงการคอมพิวเตอร์ กลุ่ม Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสม...รายงานโครงการคอมพิวเตอร์ กลุ่ม Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสม...
รายงานโครงการคอมพิวเตอร์ กลุ่ม Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสม...
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมสร้างสรรค์ 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมสร้างสรรค์ 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมสร้างสรรค์ 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมสร้างสรรค์ 5 ขวบ
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 

Similar to เมกเกอร์ (Maker)

ชาวม้งผู้สร้างสรรค์
ชาวม้งผู้สร้างสรรค์ชาวม้งผู้สร้างสรรค์
ชาวม้งผู้สร้างสรรค์arisanoodee
 
นิทรรศการPlay&Learn เพลินเรียนรู้
นิทรรศการPlay&Learn เพลินเรียนรู้ นิทรรศการPlay&Learn เพลินเรียนรู้
นิทรรศการPlay&Learn เพลินเรียนรู้ JoyCe Zii Zii
 
โครงงานถุงกระดาษ Mini Memo
โครงงานถุงกระดาษ Mini Memoโครงงานถุงกระดาษ Mini Memo
โครงงานถุงกระดาษ Mini MemoAon NP
 
โครงงานงานประดิษฐ์
โครงงานงานประดิษฐ์โครงงานงานประดิษฐ์
โครงงานงานประดิษฐ์Aon NP
 
โครงงานงานประดิษฐ์ถุงกระดาษ
โครงงานงานประดิษฐ์ถุงกระดาษโครงงานงานประดิษฐ์ถุงกระดาษ
โครงงานงานประดิษฐ์ถุงกระดาษAon NP
 
โครงงานงานประดิษฐ์
โครงงานงานประดิษฐ์โครงงานงานประดิษฐ์
โครงงานงานประดิษฐ์Aon NP
 
โครงงานถุงกระดาษ Mini Memo
โครงงานถุงกระดาษ Mini Memoโครงงานถุงกระดาษ Mini Memo
โครงงานถุงกระดาษ Mini MemoAon NP
 
สิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์จากกล่องนม
สิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์จากกล่องนมสิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์จากกล่องนม
สิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์จากกล่องนมJaohjaaee
 
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jengชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า JengAungkana Na Na
 
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมบันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
พลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTพลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTpatitadarakorn
 
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการ
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการบทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการ
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการน๊อต เอกลักษณ์
 
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2thkitiya
 
แจกันสวยด้วยขวดใส ครูศุภวรรณ
แจกันสวยด้วยขวดใส ครูศุภวรรณแจกันสวยด้วยขวดใส ครูศุภวรรณ
แจกันสวยด้วยขวดใส ครูศุภวรรณสุดรัก หวานใจ
 

Similar to เมกเกอร์ (Maker) (20)

ชาวม้งผู้สร้างสรรค์
ชาวม้งผู้สร้างสรรค์ชาวม้งผู้สร้างสรรค์
ชาวม้งผู้สร้างสรรค์
 
คอมมิ้น
คอมมิ้นคอมมิ้น
คอมมิ้น
 
คอมมิ้น
คอมมิ้นคอมมิ้น
คอมมิ้น
 
นิทรรศการPlay&Learn เพลินเรียนรู้
นิทรรศการPlay&Learn เพลินเรียนรู้ นิทรรศการPlay&Learn เพลินเรียนรู้
นิทรรศการPlay&Learn เพลินเรียนรู้
 
โครงงานถุงกระดาษ Mini Memo
โครงงานถุงกระดาษ Mini Memoโครงงานถุงกระดาษ Mini Memo
โครงงานถุงกระดาษ Mini Memo
 
โครงงานงานประดิษฐ์
โครงงานงานประดิษฐ์โครงงานงานประดิษฐ์
โครงงานงานประดิษฐ์
 
โครงงานงานประดิษฐ์ถุงกระดาษ
โครงงานงานประดิษฐ์ถุงกระดาษโครงงานงานประดิษฐ์ถุงกระดาษ
โครงงานงานประดิษฐ์ถุงกระดาษ
 
โครงงานงานประดิษฐ์
โครงงานงานประดิษฐ์โครงงานงานประดิษฐ์
โครงงานงานประดิษฐ์
 
โครงงานถุงกระดาษ Mini Memo
โครงงานถุงกระดาษ Mini Memoโครงงานถุงกระดาษ Mini Memo
โครงงานถุงกระดาษ Mini Memo
 
สิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์จากกล่องนม
สิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์จากกล่องนมสิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์จากกล่องนม
สิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์จากกล่องนม
 
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jengชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
 
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมบันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
 
พลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTพลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICT
 
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการ
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการบทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการ
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการ
 
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
 
Ls general
Ls generalLs general
Ls general
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Flipped class room1
Flipped class room1Flipped class room1
Flipped class room1
 
Tsmt vol16
Tsmt vol16Tsmt vol16
Tsmt vol16
 
แจกันสวยด้วยขวดใส ครูศุภวรรณ
แจกันสวยด้วยขวดใส ครูศุภวรรณแจกันสวยด้วยขวดใส ครูศุภวรรณ
แจกันสวยด้วยขวดใส ครูศุภวรรณ
 

More from Tanade Sirinumas

Safe Internet : Digital Resilience Workshop for Teachers
Safe Internet : Digital Resilience Workshop for TeachersSafe Internet : Digital Resilience Workshop for Teachers
Safe Internet : Digital Resilience Workshop for TeachersTanade Sirinumas
 
Safe Internet for Kid : Digital Resilience Workshop for Students
Safe Internet for Kid : Digital Resilience Workshop for StudentsSafe Internet for Kid : Digital Resilience Workshop for Students
Safe Internet for Kid : Digital Resilience Workshop for StudentsTanade Sirinumas
 
Safe Internet : Digital Resilience Workshop for Teachers
Safe Internet : Digital Resilience Workshop for TeachersSafe Internet : Digital Resilience Workshop for Teachers
Safe Internet : Digital Resilience Workshop for TeachersTanade Sirinumas
 
Thai and Latin Glyph Template (Font Template)
Thai and Latin Glyph Template (Font Template)Thai and Latin Glyph Template (Font Template)
Thai and Latin Glyph Template (Font Template)Tanade Sirinumas
 
Business Model Canvas คืออะไร
Business Model Canvas คืออะไรBusiness Model Canvas คืออะไร
Business Model Canvas คืออะไรTanade Sirinumas
 
Plan the Future Voluntary Activity : การยกระดับขบวนการเยาวชนอาสาสมัคร
Plan the Future Voluntary Activity : การยกระดับขบวนการเยาวชนอาสาสมัครPlan the Future Voluntary Activity : การยกระดับขบวนการเยาวชนอาสาสมัคร
Plan the Future Voluntary Activity : การยกระดับขบวนการเยาวชนอาสาสมัครTanade Sirinumas
 
Volunteer Management : รูปแบบการบริหารจัดการอาสาสมัครเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งขององ...
Volunteer Management : รูปแบบการบริหารจัดการอาสาสมัครเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งขององ...Volunteer Management : รูปแบบการบริหารจัดการอาสาสมัครเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งขององ...
Volunteer Management : รูปแบบการบริหารจัดการอาสาสมัครเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งขององ...Tanade Sirinumas
 
กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่และแผนปฏิบัติงา...
กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่และแผนปฏิบัติงา...กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่และแผนปฏิบัติงา...
กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่และแผนปฏิบัติงา...Tanade Sirinumas
 
Singha Summer Camp 9 (English Camp) Workbook
Singha Summer Camp 9 (English Camp) WorkbookSingha Summer Camp 9 (English Camp) Workbook
Singha Summer Camp 9 (English Camp) WorkbookTanade Sirinumas
 
Wellness Tourism Destination Infographic
Wellness Tourism Destination InfographicWellness Tourism Destination Infographic
Wellness Tourism Destination InfographicTanade Sirinumas
 
Airports of Thailand: Aviation Industry in Thai State Enterprise
Airports of Thailand: Aviation Industry in Thai State EnterpriseAirports of Thailand: Aviation Industry in Thai State Enterprise
Airports of Thailand: Aviation Industry in Thai State EnterpriseTanade Sirinumas
 
Air Cargo Handling Teaching Material
Air Cargo Handling Teaching MaterialAir Cargo Handling Teaching Material
Air Cargo Handling Teaching MaterialTanade Sirinumas
 
The 15th Annual Logistics and Supply Chain Management Conference (VCML2015) F...
The 15th Annual Logistics and Supply Chain Management Conference (VCML2015) F...The 15th Annual Logistics and Supply Chain Management Conference (VCML2015) F...
The 15th Annual Logistics and Supply Chain Management Conference (VCML2015) F...Tanade Sirinumas
 
Germanage R2M 2015 Presentation
Germanage R2M 2015 PresentationGermanage R2M 2015 Presentation
Germanage R2M 2015 PresentationTanade Sirinumas
 
Thailand's Cut Orchid Export to India 2015
Thailand's Cut Orchid Export to India 2015Thailand's Cut Orchid Export to India 2015
Thailand's Cut Orchid Export to India 2015Tanade Sirinumas
 
Thai Aviation Industry 2014
Thai Aviation Industry 2014Thai Aviation Industry 2014
Thai Aviation Industry 2014Tanade Sirinumas
 
Sustainability in Aviation
Sustainability in AviationSustainability in Aviation
Sustainability in AviationTanade Sirinumas
 

More from Tanade Sirinumas (20)

Safe Internet : Digital Resilience Workshop for Teachers
Safe Internet : Digital Resilience Workshop for TeachersSafe Internet : Digital Resilience Workshop for Teachers
Safe Internet : Digital Resilience Workshop for Teachers
 
Safe Internet for Kid : Digital Resilience Workshop for Students
Safe Internet for Kid : Digital Resilience Workshop for StudentsSafe Internet for Kid : Digital Resilience Workshop for Students
Safe Internet for Kid : Digital Resilience Workshop for Students
 
Safe Internet : Digital Resilience Workshop for Teachers
Safe Internet : Digital Resilience Workshop for TeachersSafe Internet : Digital Resilience Workshop for Teachers
Safe Internet : Digital Resilience Workshop for Teachers
 
Thai and Latin Glyph Template (Font Template)
Thai and Latin Glyph Template (Font Template)Thai and Latin Glyph Template (Font Template)
Thai and Latin Glyph Template (Font Template)
 
Business Model Canvas คืออะไร
Business Model Canvas คืออะไรBusiness Model Canvas คืออะไร
Business Model Canvas คืออะไร
 
เสพติด Quiz
เสพติด Quizเสพติด Quiz
เสพติด Quiz
 
Plan the Future Voluntary Activity : การยกระดับขบวนการเยาวชนอาสาสมัคร
Plan the Future Voluntary Activity : การยกระดับขบวนการเยาวชนอาสาสมัครPlan the Future Voluntary Activity : การยกระดับขบวนการเยาวชนอาสาสมัคร
Plan the Future Voluntary Activity : การยกระดับขบวนการเยาวชนอาสาสมัคร
 
Volunteer Management : รูปแบบการบริหารจัดการอาสาสมัครเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งขององ...
Volunteer Management : รูปแบบการบริหารจัดการอาสาสมัครเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งขององ...Volunteer Management : รูปแบบการบริหารจัดการอาสาสมัครเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งขององ...
Volunteer Management : รูปแบบการบริหารจัดการอาสาสมัครเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งขององ...
 
กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่และแผนปฏิบัติงา...
กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่และแผนปฏิบัติงา...กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่และแผนปฏิบัติงา...
กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่และแผนปฏิบัติงา...
 
Singha Summer Camp 9 (English Camp) Workbook
Singha Summer Camp 9 (English Camp) WorkbookSingha Summer Camp 9 (English Camp) Workbook
Singha Summer Camp 9 (English Camp) Workbook
 
Wellness Tourism Destination Infographic
Wellness Tourism Destination InfographicWellness Tourism Destination Infographic
Wellness Tourism Destination Infographic
 
Airports of Thailand: Aviation Industry in Thai State Enterprise
Airports of Thailand: Aviation Industry in Thai State EnterpriseAirports of Thailand: Aviation Industry in Thai State Enterprise
Airports of Thailand: Aviation Industry in Thai State Enterprise
 
Air Cargo Handling Teaching Material
Air Cargo Handling Teaching MaterialAir Cargo Handling Teaching Material
Air Cargo Handling Teaching Material
 
The 15th Annual Logistics and Supply Chain Management Conference (VCML2015) F...
The 15th Annual Logistics and Supply Chain Management Conference (VCML2015) F...The 15th Annual Logistics and Supply Chain Management Conference (VCML2015) F...
The 15th Annual Logistics and Supply Chain Management Conference (VCML2015) F...
 
Germanage R2M 2015 Report
Germanage R2M 2015 ReportGermanage R2M 2015 Report
Germanage R2M 2015 Report
 
Germanage R2M 2015 Presentation
Germanage R2M 2015 PresentationGermanage R2M 2015 Presentation
Germanage R2M 2015 Presentation
 
Thailand's Cut Orchid Export to India 2015
Thailand's Cut Orchid Export to India 2015Thailand's Cut Orchid Export to India 2015
Thailand's Cut Orchid Export to India 2015
 
Thai Aviation Industry 2014
Thai Aviation Industry 2014Thai Aviation Industry 2014
Thai Aviation Industry 2014
 
Sustainability in Aviation
Sustainability in AviationSustainability in Aviation
Sustainability in Aviation
 
India infographic
India infographicIndia infographic
India infographic
 

เมกเกอร์ (Maker)

  • 2. ∙ 2 ∙ ความรู้ที่เผยแพร่นี้ได้จากเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง "Maker/Maker Space : กิจกรรมเสริมศึกษาแนวใหม่สาหรับเยาวชน" ในวันอังคารที่ 22 สิงหาคม 2560 ภายในงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ประจาปี 2560 ณ ห้องแอมเบอร์ 3 ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี วิทยากร : David Wells Director of Maker Programming Maker Space at New York Hall of Science เรียบเรียงโดย ธเนศ ศิรินุมาศ (เอ) เจ้าหน้าที่พัฒนานวัตกรรมและประเมินผลการเรียนรู้ โครงการพัฒนาเยาวชนในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์ : โรงเรียนระดับประถมศึกษา ในจังหวัดปทุมธานี (Young Influencer Pathumthani)
  • 3. ∙ 3 ∙ เมกเกอร์ (Maker) คืออะไร ? หากคุณครูรู้จัก “ดีไอวาย (DIY ย่อมาจาก Do It Yourself)” การประดิษฐ์ของง่าย ๆ ด้วยตนเอง เมกเกอร์ก็คือขั้นกว่าของดีไอวายนั่นเอง ซึ่ง วัฒนธรรมดีไอวาย การประดิษฐ์ของง่าย ๆ พัฒนามาเป็น วัฒนธรรมเมกเกอร์ การสร้างสรรค์ สิ่งต่าง ๆ ที่อาจนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ เมกเกอร์ คือ ผู้สร้างสรรค์ที่แสวงหาทางแก้ “ปัญหา” โดยอาศัย “วัสดุอุปกรณ์” และ “กระบวนการ” Maker is who uses Materials/Tools + Process to solve a Problem วัสดุอุปกรณ์ที่เมกเกอร์ใช้ เป็นสิ่งใดก็ได้ ตั้งแต่ กระดาษ ปากกา เทปกาว ไม้ โลหะ แผงวงจร ไป จนถึงเครื่องพิมพ์สามมิติ ฯลฯ กระบวนการที่เมกเกอร์ใช้ จะเป็นการประดิษฐ์ ดัดแปลง ปรับปรุง แฮก ฯลฯ ก็ได้
  • 4. ∙ 4 ∙ ปัญหาที่เมกเกอร์ต้องการแก้ ก็เป็นปัญหาใด ๆ ก็ได้ ไม่จาเป็นต้องใหญ่จนเปลี่ยนโลก เช่น ปัญหา : เบื่อ ประดิษฐ์ : ทากระดาษหมากฮอส (โดยใช้ปากกาเคมีเขียนลงบนกระดาษลัง และใช้ฝาจีบเป็น หมาก) ปัญหา : ควันไฟจากการย่างไก่พัดเข้าหน้า ประดิษฐ์ : พัดลมดูดควัน (จากอะไหล่รถยนต์) หัวใจของการเป็นเมกเกอร์ Maker Mindset 1 สนุก 2 อยากทา 3 อยากแบ่งปัน * 4 อยากทา ร่วมกับผู้อื่น 1. สนุก เมกเกอร์ต้องสนุก มีความสุขที่ได้ทา 2. อยากทา เมกเกอร์ต้องมีความอยากทา อยากประดิษฐ์ อยากแก้ปัญหา
  • 5. ∙ 5 ∙ 3. อยากแบ่งปัน * <<<< เป็นสิ่งที่สาคัญที่สุด ! แบ่งปัน วัสดุอุปกรณ์ เครื่องไม้เครื่องมือ หรือไอเดีย ความรู้ ก็ได้ การแบ่งปัน เป็นการขยายไอเดีย ขยายความรู้ เปิดโอกาสให้ผู้อื่น ซึ่งสามารถทาได้โดยผ่านช่องทางต่าง ๆ เช่น  อินเทอร์เน็ต / สังคมออนไลน์ เช่น ถ่ายวิดีโอเผยแพร่ใน YouTube, ถ่ายรูปเผยแพร่ใน Facebook, Instagram, Pinterest หรือเว็บไซต์อื่น ๆ เพื่อให้คนอื่นดูเป็นต้นแบบและนาไปต่อยอด  เมกเกอร์สเปซ (Maker Space) พื้นที่ที่เหล่าเมกเกอร์มารวมตัวกัน เพื่อแบ่งปันเครื่องไม้เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ ตั้งแต่ เครื่องมือช่างไปจนถึงบางอย่างที่ราคาสูง เช่น เครื่องพิมพ์สามมิติ อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ หรือเป็นพื้นที่ที่มาแบ่งปันไอเดียความรู้กัน ซึ่งปัจจุบันในประเทศไทยมีเมกเกอร์สเปซเปิดให้บริการด้วย  เมกเกอร์แฟร์ งานที่เมกเกอร์มารวมตัวกันเพื่อแสดงผลงาน แลกเปลี่ยนและกระจายไอเดีย เช่น World Maker Faire, Bangkok Maker Faire ดูข้อมูลได้ที่ www.bangkokmakerfaire.com หรือ www.facebook.com/bangkokmakerfaire
  • 6. ∙ 6 ∙ บางอย่างไม่จาเป็นต้องประดิษฐ์เสร็จเป็นชิ้นเป็นอัน ก็สามารถแบ่งปันไอเดียได้เช่นกัน เช่น โอเพนซอร์ซ (Open Source) การแจกจ่ายความรู้ โดยเฉพาะซอฟต์แวร์ โปรแกรม คอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้อื่นนาไปออกแบบ พัฒนาต่อยอดได้ Open Source เปิดแหล่งข้อมูล Open-Minded เปิดใจ : ใจกว้างยอมแบ่งปัน Open Door เปิดประตู : เปิดประตูให้ผู้อื่นเข้ามาเห็นไอเดียของเรา และเปิดประตูให้ผู้อื่นไปต่อยอดได้ และหากมีไอเดีย แต่ไม่มีทุนในการสร้าง ก็สามารถเสนอไอเดียเพื่อระดมทุนได้ ซึ่งปัจจุบันมีการ ระดมทุนผ่านอินเทอร์เน็ตที่เรียกว่า คราวด์ฟันดิง (Crowdfunding) เพื่อนาทุนมาเปลี่ยนฝันให้ เป็นจริง ตัวอย่างคราวด์ฟันดิง  GoFundMe : www.gofundme.com  Kickstarter : www.kickstarter.com  Indiegogo : www.indiegogo.com
  • 7. ∙ 7 ∙ 4. อยากทาร่วมกับผู้อื่น การทาร่วมกัน การแบ่งปันไอเดียระหว่างกัน จะทาให้เกิดการพัฒนาไวขึ้น เพราะทุกคนมา ช่วยกัน และหากเป็นการทาร่วมกับผู้อื่นที่มีความรู้ต่างสาขากัน ก็จะทาให้เกิดการแลกเปลี่ยน ข้อมูล ความรู้ และทาให้เกิดไอเดียใหม่ ๆ ได้ ตัวอย่างเช่น ปัญหา : เมื่อนักแข่งจักรยานจะดื่มน้าจากขวดที่พกไป พวกเขาจะต้อง 1. หยิบขวด 2. หมุนเปิดฝา 3. กระดก - ดื่ม 4. หมุนปิดฝา 5. เก็บขวด ซึ่งเสียเวลาเพราะความยุ่งยากของการเปิดฝา หนึ่งในทีมงานเมกเกอร์ที่มาร่วมกันออกแบบขวดน้าแบบใหม่เคยทางานในสายสุขภาพ จึงนึกถึง ลิ้นหัวใจ ที่เมื่อหัวใจบีบ ลิ้นหัวใจจะเปิด และจะปิดเมื่อหัวใจหยุดบีบ จึงนาเอาหลักการนี้มา ประดิษฐ์ “ขวดน้าที่มีฝาแบบลิ้นหัวใจ” ทาให้เวลานักปั่นจะดื่มน้า เพียงแค่ 1. หยิบขวด 2. บีบ 3. ดื่ม 4. เก็บขวด เป็นการแก้ปัญหา ลดความยุ่งยากและลดเวลาให้นักแข่งจักรยานเป็นอย่างมาก
  • 8. ∙ 8 ∙ เมกเกอร์จึงเป็นมากกว่า DIY : Do It Yourself เพราะเมกเกอร์เป็น DIT : Do It Together ณ เมกเกอร์สเปซ เมกเกอร์สเปซสาหรับนักเรียนจะเป็น แอคทีฟเลินนิ่งสเปซ (Avtive Learning Space) พื้นที่ เรียนรู้แบบเน้นกระบวนการ ในเมกเกอร์สเปซ นักเรียนจะนั่งบนพื้น นั่งบนเก้าอี้ จะยืน จะเดิน หรือไปยืนดูคนอื่นก็ได้ ให้นักเรียนเป็นผู้กาหนดเองว่าอยากทาอะไร อยากเรียนรู้อะไร ส่วนคุณครูจะเป็นผู้อานวย (Facilitator) ร่วมหาคาตอบ ร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน
  • 9. ∙ 9 ∙ รูปแบบกิจกรรม กิจกรรมที่จะจัดให้นักเรียนอาจเป็นกิจกรรมเดี่ยวหรือกลุ่มก็ได้ รูปแบบกิจกรรมส่งเสริมความเป็นเมกเกอร์ ที่น่าสนใจ และเหมาะสาหรับส่งเสริมการเรียนรู้ใน โรงเรียนมี 2 รูปแบบ ดังนี้ 1. ปลายเปิด (Open Ended) 2. สารวจและเรียนรู้ (Exploration Learning) 1. ปลายเปิด เป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนใช้จิตนาการอย่างอิสระ สร้างสรรค์ผลงานจากวัสดุที่มีให้ หลักการคือ “กาหนดโจทย์ให้น้อยที่สุด” ให้นักเรียนตีโจทย์เองว่าของเหล่านี้จะนาไปทาอะไรได้บ้าง เขาจะออกแบบสิ่งที่เขาต้องการเอง กระบวนการเรียนรู้ของนักเรียนจะเป็น ออกแบบ (Design) - สร้างสรรค์ (Make) - เล่น (Play) เขาจะได้ใช้จินตนาการอย่างสนุกบนข้อจากัดที่คุณครูมีให้ เช่น วัสดุที่มีอยู่อย่างจากัด
  • 10. ∙ 10 ∙ ตัวอย่างกิจกรรม  กล่องลัง + เทปกาว ซึ่งนักเรียนอาจประดิษฐ์เป็น หุ่นยนต์ ตู้ กรอบรูป ฯลฯ  วัสดุหลาย ๆ อย่างกองรวมกัน (อาจเรียกว่า “กองขยะ” แล้วให้โจทย์ว่า “เปลี่ยนขยะให้เป็นประโยชน์” ก็ได้) 2. สารวจและเรียนรู้ รูปแบบนี้จะเป็นโจทย์ปลายปิด แต่เปิดโอกาสให้นักเรียนเรียนรู้และใช้จิตนการของตนสร้างสรรค์ ผลงานออกมา ซึ่งมีหลักการเรียนรู้ 4 ข้อ หรือ 4 D(s) 1) Deconstruction : ถอดแบบ ให้นักเรียนถอดแบบ ถอดรื้อโครงสร้างสิ่งของต้นแบบว่า 1. สิ่งนั้นคืออะไร ? 2. มันทาอะไรได้ ? 3. มันทาจากอะไรบ้าง ? 4. วัสดุแต่ละอันมีคุณสมบัติอย่างไร ? 5. วัสดุแต่ละอันมีหน้าที่อะไร ? การถอดแบบ คุณครูอาจอนุญาตให้นักเรียนงัด แงะ แกะ ทาลายต้นแบบเพื่อการเรียนรู้ได้เลยว่า ด้านในมีอะไรบ้าง แต่จะจุดมีกลไกอะไรบ้าง
  • 11. ∙ 11 ∙ 2) Discovery : ค้นพบ ให้นักเรียนเรียนรู้ เข้าใจ และค้นพบว่า วัสดุนั้นทาอะไรได้บ้าง ? แล้วมีวัสดุอื่นไหมที่ทาแบบนั้นได้เหมือนกันหรือคล้าย ๆ กัน มีคุณสมบัติใกล้เคียงกัน ? ให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตัวเอง ไม่ใช่คุณครูบอก 3) Design : ออกแบบ ให้นักเรียนเอาความรู้ที่ได้มายืดหยุ่น ใช้จินตนาการสร้างสรรค์ ออกแบบสิ่งใหม่ขึ้นมา โดยขั้นตอนออกแบบอาจแบ่งเป็น 1. สร้างแนวคิด 2. สร้างแบบจาลอง 3. สร้างชิ้นงานจริง 4) Display : ออกแสดง ให้นักเรียนนาเสนอผลงาน แบ่นปันไอเดีย เล่าให้ฟังว่าตัวเองสร้างสรรค์อะไรมา และฉลองกับ ความสาเร็จว่าเขาทาได้
  • 12. ∙ 12 ∙ ตัวอย่างกิจกรรม 1 : สมุดทามือ ที่มา : Maker Space at NYSCI วัดสุอุปกรณ์ : - กระดาษ (หลายสี หลายแบบได้ เช่น กระดาษสาหรับทาปกอาจเป็นกระดาษแข็ง) - คลิปหนีบกระดาษ - ตะปู - ค้อน - แผ่นรองเจาะ - เข็ม - ด้ายหรือไหมพรม - กรรไกร - ไม้บรรทัด - ดินสอ - ของตกแต่ง เช่น กาว ดอกไม้ประดิษฐ์ ลูกตา สติ๊กเกอร์ สี ฯลฯ
  • 13. ∙ 13 ∙ วิธีทา : https://tmblr.co/ZhSG4w1q29v_k จะเห็นว่าเป็นโจทย์ปลายปิด คือ ให้ประดิษฐ์สมุดทามือ ให้เขาดูต้นแบบ ถอดแบบ ค้นพบจากสมุดต้นแบบที่คุณครูทา แต่ยังเปิดโอกาสให้นักเรียนได้สร้างสรรค์จินตนาการ ออกแบบเองว่า สมุดของตนจะมีรูปร่าง หน้าตาอย่างไร นักเรียนจะมี “ความสุข” และ “ความสนุก” เมื่อพวกเขาได้เลือกเอง เลือกว่าจะทากี่หน้า เลือกว่าจะใช้กระดาษสีอะไร เลือกว่าจะใช้อะไรตกแต่งปกสมุด การเลือกเอง ทาให้นักเรียนได้ฟังเสียงของตนเอง ได้แสดงออก ได้สะท้อนความเป็นตัวตน กิจกรรมนี้นอกจากจะฝึกเรื่องความคิดสร้างสรรค์แล้ว ยังฝึกเรื่องสังคมเนื่องจากสมุดแต่ละเล่มจะมีหน้าตาไม่เหมือนกัน มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง แสดงออกถึงตัวตนของผู้ประดิษฐ์ อาจทาให้เกิดความอยากรู้จักผู้ที่มีแนวเหมือนหรือคล้ายตัวเอง และอยากแลกเปลี่ยนความต่างกับผู้อื่น
  • 14. ∙ 14 ∙ นอกจากนี้ยังสร้างความภูมิใจในตัวเอง เด็กและผู้ใหญ่จะชอบจดลงสมุดที่ตัวเองทาเพราะภูมิใจ คุณครูอาจจัดกิจกรรมนี้ในช่วงเปิดเทอม หรือตอนเริ่มต้นค่าย ถ้านักเรียนใช้เต็มเล่มแล้ว ต่อไปนักเรียนจะสามารถประดิษฐ์สมุดเองได้ บางคนอาจคิดว่าสมุดทายาก แต่เมื่อลองทาก็พบว่ามันง่าย แต่การทาสมุดก็ไม่ง่ายซะทีเดียว เพราะมีรายละเอียดเรื่องระยะห่างการเจาะ การเย็บ สรุปสิ่งที่ได้จากกิจกรรม “สมุดทามือ” : - ความคิดสร้างสรรค์ (วิชาศิลปะ) - การแสดงออกทางสังคม - ความภูมิใจ - ประสบการณ์ (วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี)
  • 15. ∙ 15 ∙ 2. ลิงค์เกจ - ชิ้นต่อโยง (Linkage) กิจกรรมให้นักเรียนสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ที่มีกลไกต่อโยง (คล้ายประตูเหล็กยืด) ที่มา : Maker Space at NYSCI วัสดุอุปกรณ์ : - กระดาษลัง - หมุดลิ้นแฟ้มโลหะ - ไม้บรรทัด - ดินสอ ปากกา - กรรไกร - มีดคัตเตอร์ - อุปกรณ์เจาะรู (อาจใช้ ปากกา ไขควง หรือตะปูก็ได้) - เทปกาว - ของตกแต่งอื่น ๆ เช่น กระดาษสี กาว สี ฯลฯ วิธีทา : https://tmblr.co/ZhSG4w1qmjpB6
  • 16. ∙ 16 ∙ กิจกรรมนี้นักเรียนต้องตัดกระดาษลัง เจาะรู และยึดข้อต่อด้วยหมุดลิ้นแฟ้มโลหะ หลังจากที่เขาดู แบบ ถอดแบบ ค้นพบ และมาออกแบบเอง ซึ่งนักเรียนอาจสร้างสรรค์ชิ้นต่อโยงเป็นหุ่นชัก ของ เล่นชกมวย ที่คีบ กรรไกร ฯลฯ เมื่อเสร็จแล้วก็ให้นักเรียนแต่ละคนมาแสดง แบ่งปัน เล่าถึงผลงานของตน กิจกรรมนี้ต้องใช้ทั้ง “เทคนิค” และ “ความคิดสร้างสรรค์” พร้อม ๆ กัน ขณะทา นักเรียนบางคนอาจเกิดปัญหาใช้เวลานาน คิดไม่ออก ฯลฯ ดังนั้น บางครั้งอาจต้องใช้ “เทคนิค” หรือ “ความคิดสร้างสรรค์” สิ่งใดสิ่งหนึ่งนา จินตนาการ คิดก่อนว่าจะทาอะไร หรือทาไปก่อนแล้วค่อยใช้จินตนาการว่าสิ่งนี้คืออะไร ขณะทาอาจรู้สึกหงุดหงิด ซึ่งเป็นเรื่องปกติ อย่าถอดใจ ต้องผลักดันตัวเอง ทาให้สาเร็จให้ได้ สรุปสิ่งที่ได้จากกิจกรรม “ลิงค์เกจ - ชิ้นต่อโยง” : - การคานวณ (วิชาคณิตศาสตร์) - การตัดสินใจ - ความคิดสร้างสรรค์ (วิชาศิลปะ) - ความไม่ยอมแพ้ - กลไกอย่างง่าย (วิชาวิทยาศาสตร์ งานช่างและวิศวกรรมเบื่องต้น) - การเล่าเรื่อง (ความคิดสร้างสรรค์, ประวัติศาสตร์, ภาษา)
  • 17. ∙ 17 ∙ 3. ผลิตเครื่องดนตรี วัสดุอุปกรณ์ : - เครื่องดนตรี จะเป็นของจริงหรือของเล่นก็ได้ แต่ทาให้เกิดเสียงดนตรีได้จริง หนึ่งกลุ่มอาจได้ เครื่องดนตรีมากกว่า 2 ชิ้น - วัสดุทาแบบจาลอง เช่น กระดาษลัง เชือก เทปกาว ฯลฯ กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมให้นักเรียนใช้หลักการ 4 D(s) โดยเริ่มจาก Deconstruction : ถอดแบบเครื่องดนตรีที่คุณครูนามาให้ ให้นักเรียนถอดแบบ ถอดรื้อโครงสร้างสิ่งของต้นแบบว่า 1) เครื่องดนตรีแต่ละชิ้นนั้นคืออะไร ? เช่น ฉิ่ง
  • 18. ∙ 18 ∙ 2) เครื่องนั้นเกิดเสียงได้ด้วยวิธีใด ? เช่น กระทบกันแล้วเกิดเสียง 3) มันทาจากอะไรบ้าง ? เช่น เชือกและทองเหลือง 4) วัสดุของแต่ละส่วนนั้นมีคุณสมบัติอย่างไรอย่างไรบ้าง ? เช่น เชือกเป็นเส้นเล็ก มีความคงทน ทองเหลืองเป็นโลหะ แข็ง 5) วัสดุแต่ละอันมีหน้าที่อะไร ? เช่น เชือกยึดให้มันอยู่ด้วยกัน ส่วนทองเหลืองใช้กระทบให้เกิดเสียง Discovery : ค้นพบว่า วัสดุนั้นทาอะไรได้บ้าง ? แล้วค้นหามีวัสดุอื่นไหมที่ทาแบบนั้นได้เหมือนกันหรือคล้าย ๆ กัน มีคุณสมบัติใกล้เคียงกัน ? Design : ออกแบบ เช่น 1) สร้างแนวคิด เช่น ออกแบบเป็นตาข่ายที่ยึดก้อนโลหะไว้ เมื่อเขย่าตาข่าย โลหะจะ กระทบกันแล้วเกิดเป็นเสียง 2) สร้างแบบจาลองจากไหมพรมและนากระดาษมาแทนก้อนโลหะ 3) สร้างชิ้นงานจริง อาจทาหรือไม่ทาก็ได้ขึ้นอยู่กับกระบวนการที่คุณครูกาหนด ขั้นนี้อาจเป็นการให้นักเรียนใช้เครื่องไม้เครื่องมือ วัสดุจริง เช่น เครื่องพิมพ์สามมิติ
  • 19. ∙ 19 ∙ Display : ออกแสดง นาเสนอ การสร้างแบบจาลองจากกระดาษจะทาให้นักเรียนไม่ติดข้อจากัด จึงใช้จินตนาการได้เต็มที่ คิดว่า ทุกอย่างสามารถเป็นจริงได้ สรุปสิ่งที่ได้จากกิจกรรม “ผลิตเครื่องดนตรี” : - ความคิดสร้างสรรค์ (วิชาศิลปะ) - วิทยาศาสตร์ - การเล่าเรื่อง (ความคิดสร้างสรรค์, ภาษา) ข้อเสนอ  คุณครูอาจเพิ่มเรื่องราวของโจทย์ให้นักเรียนรู้สึกตื่นเต้น สนุก ท้าทาย เช่น “คุณครูเป็นเจ้าของโรงงานผลิตเครื่องดนตรี วันนี้คุณครูอยากให้พนักงานทุกคนช่วยกัน ออกแบบเครื่องดนตรีใหม่ที่เราจะส่งไปขายทั่วโลก”  และคุณครูอาจสร้างบรรยากาศระหว่างทาโดยการเปิดเพลงหรือดนตรีที่มีจังหวะสดใส ร่าเริง ไม่ง่วง และไม่รบกวนสมาธินักเรียนเกินไป
  • 20. ∙ 20 ∙ ข้อควรคานึง เครื่องมือ ถ้าเตือนนักเรียนในมุมมองความปลอดภัย เช่น “ระวังมีดบาด” อาจทาให้นักเรียนกลัว ไม่กล้าใช้ เครื่องมือ และไม่เกิดการเรียนรู้ จึงขอแนะนาให้คุณครูพูดแนะนานักเรียนว่า เครื่องมือแต่ละชนิดทาอะไรได้บ้าง เราใช้มันทาอะไร ได้บ้าง ใช้อย่างถูกต้องอย่างไร และมันจะช่วยให้เราทางานสาเร็จได้อย่างไรบ้าง เป็นการถอดแบบ (Deconstruction) ซึ่งจะทาให้นักเรียนรู้สึกสนุกและอยากใช้เครื่องมือ ถ้านักเรียนใช้ผิดวิธี คุณครูก็เข้าไปคุยกับนักเรียนว่านักเรียนกาลังใช้ผิดเงื่อนไขที่ตกลงกันไว้ วิธีที่ ถูกต้องควรทาอย่างไร
  • 21. ∙ 21 ∙ การให้กาลังใจ สิ่งที่เมกเกอร์ตัวน้อยหรือนักเรียนสร้างสรรค์ขึ้นมาอาจมีความต่างกัน ตั้งแต่ง่าย ๆ ไปจนถึง สวยงาม ยิ่งใหญ่ น่าประทับใจ แต่ทุกชิ้นล้วนเป็นผลงานที่นักเรียนคนนั้นตั้งใจทาขึ้นมา คุณครูจึงควรระวังเรื่องการเปรียบเทียบ การชม เพราะความสามารถของเด็กต่างกัน ความต้องการของเด็กต่างกัน แต่ความพยายามของ เขาเท่ากัน คุณครูจึงควรทาให้พวกเขารู้สึกภูมิใจในผลงานของตน กิจกรรม เมกเกอร์ เชื่อมโยงกับ วิชา : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ (STEM) และศิลปะ พหุปัญญา : ด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ และด้านศิลปะ ซึ่งคุณครูสามารถปลูกฝังความเป็นเมกเกอร์ให้นักเรียนด้วยกิจกรรมง่าย ๆ ใช้วัสดุอุปกรณ์ง่าย ๆ แต่ได้ความรู้หลายด้าน