SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
Download to read offline
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปี การศึกษา 2557
ชื่อโครงงาน กาเนิดเอกภพ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1 นาย ศิวกร ดวงแก้วสุข เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง 6
2 นาย ธนภัทร วังแกล้ว เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2557
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1 นาย ศิวกร ดวงแก้วสุข เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง 6
2 นาย ธนภัทร วังแกล้ว เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 6
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
กาเนิดเอกภพ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
The Birth of Universe
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1 นาย ศิวกร ดวงแก้วสุข เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง 6
2 นาย ธนภัทร วังแกล้ว เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 6ชื่อที่ปรึกษา
ชื่อที่ปรึกษาร่วม ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 3 วัน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
(อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เอกภพ เป็นที่ว่างที่มีอาณาเขตกว้างใหญ่ไพศาลจนไม่
สามารถกาหนดขอบเขตได้ ในเอกภพประกอบไปด้วยหลายๆ กลุ่มดาว หรือเรียกว่า กาแลคซี่ (Galaxy) ภายในกา
แลคซี่ประกอบไปด้วยดวงดาวมากมายหลายร้อยล้านดวง ทั้งดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ฝุ่นและกลุ่มเนบิวลา
เช่นเดียวกับกลุ่มดาวที่โลกเราอยู่คือ กาแลคซี่ทางช้างเผือก(Milky Way) สาเหตุที่เราเรียกว่ากาแลคซี่ทางช้างเผือก
เนื่องจากเมื่อเรามองจากโลกไปยังกาแลคซี่ดังกล่าวเราจะมองเห็นท้องฟ้ าเป็นทางขาวคล้ายเมฆพาดยาวบนท้องฟ้ าใน
เวลากลางคืน นักวิทยาศาสตร์คาดว่าทางช้างเผือกนี้มีดวงดาวอยู่ประมาณแสนล้านดวง สาหรับระบบสุริยะจักรวาล
เป็นส่วนหนึ่งของทางช้างเผือก มีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง มีดวงดาวต่าง ๆ หรือเทห์ฟากฟ้ า ดวงดาวทุกดวงจะมี
ความเกี่ยวพันกันอยู่กับดวงดาวดวงหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น ดวงจันทร์กับโลก โลกกับดวงอาทิตย์ เทห์ฟากฟ้ าที่ประกอบ
กันอยู่ในระบบสุริยะจักรวาล ได้แก่ ดาวเคราะห์ ดาวบริวาร ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง ดาวตก อุกกาบาต เป็ นต้น บิ
กแบง (อังกฤษ: Big Bang หมายถึง การระเบิดครั้งใหญ่) คือแบบจาลองของการกาเนิดและการวิวัฒนาการของเอก
ภพในวิชาจักรวาลวิทยาซึ่งได้รับการสนับสนุนจากหลักฐานทางวิทยาศาสตร์และจากการสังเกตการณ์ที่แตกต่างกัน
จานวนมาก นักวิทยาศาสตร์โดยทั่วไปใช้คานี้สาหรับกล่าวถึงแนวคิดการขยายตัวของเอกภพหลังจากสภาวะแรกเริ่ม
ที่ทั้งร้อนและหนาแน่นอย่างมากในช่วงเวลาจากัดระยะหนึ่ง
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ยังคงดาเนินการขยายตัวอยู่จนถึงในปัจจุบัน ดาราจักร หรือ กาแล็กซี เป็นกลุ่มของดาวฤกษ์นับล้านดวง กับสสาร
ระหว่างดาวอันประกอบด้วยแก๊ส ฝุ่น และสสารมืด รวมอยู่ด้วยกันด้วยแรงโน้มถ่วง คานี้มีที่มาจากภาษากรีกว่า galaxias
หมายถึง "น้านม" ซึ่งสื่อโดยตรงถึงดาราจักรทางช้างเผือก (Milky Way) ดาราจักรโดยทั่วไปมีขนาดน้อยใหญ่ต่างกัน
นับแต่ดาราจักรแคระที่มีดาวฤกษ์ประมาณสิบล้านดวงไปจนถึงดาราจักรขนาดยักษ์ที่มีดาวฤกษ์นับถึงล้านล้านดวง โคจร
รอบศูนย์กลางมวลจุดเดียวกัน ในดาราจักรหนึ่ง ๆ ยังประกอบไปด้วยระบบดาวหลายดวง กระจุกดาวจานวนมาก และเมฆ
ระหว่างดาวหลายประเภท ดวงอาทิตย์ของเราเป็นหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์ในดาราจักรทางช้างเผือก เป็นศูนย์กลางของระบบ
สุริยะซึ่งมีโลกและวัตถุอื่น ๆ โคจรโดยรอบ
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาการกาเนิดเอกภพ
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ศึกษาการกาเนิดเอกภพ
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
1. ทฤษฎีฮับเบิ้ล
2. ทฤษฎีสัมพัทภาพ และ ทฤษฎีสัมพัทภาพ พิเศษ
3. ทฤษฎี บิ๊กแบง
4. ทฤษฎี Singularity
5. แบบจาลองเอกภพ
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.ศึกษาทฤษฎี แนวความคิดต่าง บทความ จาก Internet และนาทฤษฎีนั้นๆมาเทียบกันและเลือกบทความ หรือ
ทฤษฎีที่มีความน่าเชื่อถือมากกว่า
2.นาข้อมูลที่ได้มานาเสนอในรูปแบบของ power point
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
11 12
1
3
1
4
15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน * *
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล * * *
3 จัดทาโครงร่างงาน * *
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน * * *
5 ปรับปรุงทดสอบ * *
6 การทาเอกสารรายงาน * *
7 ประเมินผลงาน *
8 นาเสนอโครงงาน *
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ทุกคนในชั้นสามารถรับรู้ และ สามารถเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีการกาเนิดเอกภพ และ แบบจาลองเอกภพ
สถานที่ดาเนินการ
1. ที่พักอาศัยส่วนตัว
2. ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราช
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.วิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง
http://pantip.com/topic/30097366
http://www.vcharkarn.com/varticle/43457
https://manthana2013.wordpress.com/%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B
8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%A0%E0%B8%9E/
http://www.meekhao.com/news/secret-place-in-german/
ปัจจุบันนักดาราศาสตร์เชื่อว่าเอกภพประกอบด้วยกาแล็กซี่ถึง หนึ่งแสนล้านกาแล็กซี่ โดยกาแล็กซี่แมกเจน
แลนใหญ่อยู่ใกล้กาแล็กซี่ทางช้างเผือกของเรามากที่สุด ด้วยระยะทางที่แสงใช้ระยะทางในการเดินทางถึง 170,000
ปี
เอกภพทั้งหมดถือกาเนิดขึ้นมาได้อย่างไรเป็นปริศนาที่นักดาราศาสตร์พยายามค้นหาคาตอบมาเนิ่นนานแล้ว
ปัจจุบันคาอธิบายที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดคือทฤษฎีบิ๊กแบง
ทฤษฎีบิ๊กแบงระบุว่าการระเบิดครั้งยิ่งใหญ่เมื่อประมาณ 15,000 ล้านปีก่อนเป็นต้นกาเนิดของเอกภพและสรรพ
สิ่งทั้งหมด หลังการระเบิดเอกภพขยายตัวออกทุกทิศทางพร้อมกับอุณหภูมิที่ค่อยๆ ลดลง เมื่อเวลาผ่านไปนับล้านปี
กลุ่มอนุภาคเล่นอิเล็กตรอนและโปรตรอนเริ่มรวมตัวกันเป็นกาแล็กซี่ต่อมาฝุ่นภายในกาแล็กซี่จึงรวมตัวกับแก๊ส
ไฮโดรเจนและฮีเลียมเกิดเป็นดาวฤกษ์ซึ่งเปล่งแสงได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดขึ้นภายใน
วาระสุดท้ายของดาวฤกษ์ทุกดวงจะมาถึงเมื่อไฮโดรเจนซึ่งเป็นเชื้อเพลิงหลักเริ่มหมดลง ดาวฤกษ์จะสว่างวาบขึ้น
พร้อมกับขยายตัวกระทั่งรัศมีเพิ่มขึ้นกว่าร้อยเท่าเรียกว่าดาวยักษ์แดง ปรากฏการณ์เช่นนี้จะเกิดขึ้นกับดวงอาทิตย์
ในอีก 5,000 ล้านปีข้างหน้าซึ่งเมื่อเวลานั้นมาถึงโลกจะถูกเผาไหม้เป็นเถ้าถ่านอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยง หลังจาก
ขยายตัวเป็นดาวยักษ์แดง ดาวฤกษ์จะเข้าสู่วาระสุดท้ายโดยการหดตัวอย่างรุนแรง หากเป็นดาวฤกษ์ที่มีมวลสาร
น้อย เช่นดวงอาทิตย์ พื้นผิวส่วนนอกจะกลายสภาพเป็นก๊าซแผ่ออกสู่ห้วงอวกาศส่วนแกนกลางจะเย็นลงพร้อมกับ
หดตัวอย่างรุนแรงกลายสภาพเป็นดาวแคระขาว ซึ่งมวลสารของดวงดาว 1 ช้อนโต๊ะจะมีน้าหนักประมาณ 1,000
ตัน แต่หากดวงดาวมีมวลมากพออาจระเบิดเป็น Supernova แกนกลางที่เหลือจะกลายเป็นดาวนิวตรอนซึ่งมีความ
หนาแน่นสูงมากจนมวลสาร 1 ช้อนโต๊ะหนักนับพันล้านตันและหากดาวดวงนั้นมีมวลมากกว่า 3 เท่าของดวงอาทิตย์
อาจเกิดการหดตัวอย่างแรงที่สุดจนกลายสภาพเป็นหลุมดาหรือ Black Hole ที่มีแรงดึงดูดมหาศาลจนแม้แต่แสงก็ไม่
อาจหลบหนีการดูดกลืนเข้าสู่หลุมดาได้
การก่อเกิด เปลี่ยนแปลง และเสื่อมสลายของดาวฤกษ์เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตลอดเวลา มวลสารและ
พลังงานของดวงดาวที่แตกดับกลับกลายเป็นองค์ประกอบของดาวดวงใหม่หมุนเวียต่อไปไม่สิ้นสุด สิ่งใดดารงอยู่
ก่อนการก่อเกิดเอกภพวาระสุดท้ายของเอกภพเป็นเช่นไรรวมทั้งมีชีวิตอยู่บนดาวดวงอื่นหรือไม่ทั้งหมดนี้คือปริศนา
ที่ยังรอคาตอบจากนักบุกเบิกห้วงอวกาศรุ่นต่อไป
เกร็ดดาราศาสตร์
หากเทียบอายุ 15,000 ล้านปีของเอกภพเป็นเวลา 24 ชั่วโมงมนุษย์ก็คือสิ่งมีชีวิตที่มีการเกิดและดับทุก
0.0005 วินาทีและหากเทียบรัศมี 100,000 ปีแสงของกาแล็กซี่ทางช้างเผือกเป็นระยะทาง 1 กิโลเมตรมนุษย์ก็
จะมีขนาดเพียง 1 ใน 5,000 ล้าน มม.เท่านั้นนี่คือความเล็กน้อยด้อยค่าของมนุษย์เมื่อเทียบกับเอกภพอัน
ยิ่งใหญ่
แบบจาลองเอกภพ ของ ชาวสุเมเรียน และชาวบาบิโลน
แบบจาลองเอกภพ กรีก ( Greek’s model )
แบบจาลองของ โคเปอร์นิคัส (Copernican’s model model )
แบบจาลองของเคพเลอร์ ( Kepler’s model )
แบบจาลองของ กาลิเลโอ ( Galileo’s model )
แบบจาลองเอกภพ ของ พโตเลมี (Ptoleme’s model )
ในยุคเริ่มต้นประวัติศาสตร์ของมนุษย์โลกในช่วงเวลาประมาณ 7,000 ปีก่อนคริตศักราช นักประวัติศาสตร์เชื่อว่า
ได้มีชนชาติที่มีอารยะธรรมอาศัยอยู่ในบริเวณตอนกลางของทวีปเอเชียกลางซึ่งในปัจจุบันนี้คือประเทศอิรัก ดินแดนนี้เป็น
ที่รู้จักกันดีของนักประวัติศาสตร์ว่าคือดินแดน “เมโสโปเตเมีย (Mesopotamia)” ชนที่อยู่ในยุคสมัยนั้นได้เรียกตนเองว่า
“ชาวสุเมอเรี่ยน (Sumerian)” ชาวสุเมอเรี่ยนได้ริเริ่มประดิษฐ์คิดค้นการเขียนอักษรที่มีชื่อเรียกว่า “cuneiform” เพื่อสื่อ
ความหมายต่างๆลงบนแผ่นดินเหนียว ต่อมาทาให้นักประวัติศาสตร์ได้รู้ว่าชาวสุเมอเรียนนั้นเป็นกลุ่มชนที่มีอารยะธรรม
สูง ในบันทึกนี้นักประวัติศาสตร์ได้มีการค้นพบการบันทึกตาแหน่งของดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ต่างๆในท้องฟ้ าพร้อมกับ
มีการตั้งชื่อให้กับกลุ่มดาวต่างๆในท้องฟ้ าอีกด้วย นอกจากนี้ชาวสุเมอเรี่ยนยังได้อธิบายการเคลื่อนที่ของดวงดาวต่างๆ
ในท้องฟ้ าโดยมีความเชื่อว่าเป็นเพราะเทพเจ้าต่างๆที่ปกครองโลก ท้องฟ้ า และแหล่งน้าต่างๆบันดาลให้เป็นไป
เช่นนั้น จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์นี้จะเห็นได้ว่าโครงสร้างที่ใหญ่ที่สุดที่ส่งผลกระทบต่อชาวสุเมอเรี่ยนก็คือท้องฟ้ า
และดวงดาวต่างๆ ดังนั้นแบบจาลองของเอกภพของชาวสุเมอเรี่ยนก็คือห้วงท้องฟ้ าทั้งหมดที่มีดาวฤกษ์และดาวเคราะห์
ต่างๆเคลื่อนที่ไปตามเวลาโดยมีโลกเป็นจุดศูนย์กลางของการเคลื่อนที่ทั้งหมด
ในช่วงระยะเวลาประมาณ 2,000 ปี ถึง 500 ปีก่อนคริตศักราช ชาวบาบิโลนได้ริเริ่มการสังเกตและจดบันทึกการ
เคลื่อนที่ของดวงดาวต่างๆอย่างเป็นระบบเป็นประจาโดยอาศัยพื้นฐานความรู้ทางดาราศาสตร์ของชาวสุเมอเรี่ยน นัก
ประวัติศาสตร์ได้พบว่าเมื่อเวลา 1,600 ปีก่อนคริตศักราชชาวบาบิโลนได้จัดทาบัญชีรายชื่อของดาวฤกษ์และดาวเคราะห์
ต่างในท้องฟ้ าพร้อมทั้งได้ระบุตาแหน่งของการเคลื่อนที่ของดาวฤกษ์และดาวเคราะห์เหล่านั้นอย่างระเอียดทุกๆวัน ซึ่ง
ต่อมาทาให้ต่อมาชาวบาบิโลนได้นาผลของการสังเกตการณ์นี้มาใช้ในการทานายการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ต่างๆใน
ท้องฟ้ าได้อย่างถูกต้อง และได้ช่วยให้ชาวบาบิโลนสามารถทานายถึงการเปลี่ยนของฤดูกาลได้อย่างถูกต้องและแม่นยา
มาก จึมีผลทาให้ระบบการเกษตรของชาวบาบิโลนมีประสิทธิภาพสูง นอกจากนี้ชาวบาบิโลนยังได้อาศัยตาแหน่งของดวง
อาทิตย์และดวงจันทร์ในวันต่างๆเพื่อทาปฏิทินแสดงวันที่และฤดูกาลได้อย่างถูกต้องแม่นยาด้วย แต่อย่างไรก็ตามพื้น
ฐานความรู้และความเชื่อในเรื่องเอกภพของชาวบาบิโลนกับชาวสุเมอเรียนก็ยังคงเหมือนกัน กล่าวคือพวกเขาทั้งสองชน
ชาติมีความเชื่อว่าเอกภพก็คือห้วงท้องฟ้ าทั้งหมดที่มีดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ต่างๆเคลื่อนที่ไปตามเวลาโดยมีโลกเป็นจุด
ศูนย์กลางของการเคลื่อนที่ และ ปรากฏการ์ต่างๆที่เกิดขึ้น เช่น การโคจรของดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ดวงอาทิตย์ และ
ดวงจันทร์นั้นเกิดขึ้นเพราะเทพเจ้าต่างๆได้ดลบันดาลให้เกิดขึ้นตามความประสงค์ของเทพเจ้า
การอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆในท้องฟ้ าของชนชาวกรีกโบราณนั้นได้พัฒนาโดยอาศัยข้อมูลและความรู้ทาง
ดาราศาสตร์ของชาวสุเมอเรียนและชาวบาบิโลน แต่ชาวกรีกได้มีการพัฒนาคาอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆในท้องฟ้ าโดย
อาศัยคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือ โดยชาวกรีกได้ประยุกต์ความรู้ทางคณิตศาตร์ในเรื่องของจานวนและเรขาคณิตในการ
พัฒนาแบบจาลองเอกภพของของชาวกรีก และได้เป็นผู้ประดิษฐ์คาว่า “cosmology” ซึ่งมีความหมายว่า “เอกภพวิทยา”
โดยที่คาว่า “cosmos” นั้นมาจากภาษากรีกคาว่า “kosmos” ชึ่งแปลว่าแนวความคิดของความสมมาตรและความกลมกลืน
(symmetry and harmony) ชาวกรีกได้พัฒนาความรู้ที่สาคัญมากของวิชาดาราศาสตร์ คือ พวกเขาได้ค้นพบว่าโลกมี
ลักษณะเป็นทรงกลมโดยนักคณิตศาสตร์และนักปราชญ์ ชื่อ อริสโตติ้ล (Aristotle, 384 – 325 ปีก่อนคริตศักราช)
อริสโตเติ้ลได้ทาการสังเกตการดาวฤกษ์ที่เคลื่อนที่รอบดาวเหนือและพบว่าดาวฤกษ์เหล่านั้นบางดวงสามารถสังเกตเห็น
ได้ที่อียิปต์แต่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ที่กรีก ดังนั้นจึงมีทางเดียวที่จะอธิบายปรากฏการณ์นี้คือโลกจะต้องมีลักษณะเป็น
ทรงกลมเท่านั้น และ อริสตาคัส จากซามอส (Aristarchus of Samos, 310 – 230 ปีก่อนคริตศักราช) ได้เป็นบุคคนแรก
ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติที่ระบุว่าโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ โดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลางและโลกจะโคจรครบ
หนึ่งรอบในเวลา 1 ปี ดังนั้นแบบจาลองเอกภพของกรีกจึงเป็นแบบจาลองแรกที่กล่าวว่าเอกภพมีลักษณะที่อธิบายได้ทาง
เรขาคณิต
Ptoleme’s model
ในอดีตได้มีนักดาราศาสตร์ชื่อ ฮิปปาราคัส (Hipparchus of Nicaea) ได้ทาการสังเกตดาวฤกษ์ต่างๆในท้องฟ้ าและ
จัดทาบัญชีรายชื่อของดาวฤกษ์ต่างๆในท้องฟ้ าและเขายังได้จาแนกความสว่างของดาวฤกษ์แต่ละดวงขึ้นเป็นครั้งแรก
ด้วย ต่อมาพโตเลมี (Ptolemy, A.D. 127 - 151) นักดาราศาสตร์ชาวกรีกก็ได้ใช้ข้อมูลนี้เพื่ออธิบายถึงความสัมพันธ์ทาง
รูปแบบเรขาคณิตทรงกลม ของวัตถุต่างๆในท้องฟ้ า พโตเลมีได้อธิบายว่าดาวฤกษ์ต่างๆที่อยู่ในท้องฟ้ านั้นจะมีตาแหน่ง
ประจาอยู่กับที่ (fixed star) แต่ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวเคราะห์ต่างๆจะมีการเคลื่อนที่ไปในท้องฟ้ า โดยพโตเลมีได้
อธิบายว่าโลกเป็นจุดศูนย์กลางดาวฤกษ์ต่างๆนั้นจะเคลื่อนที่ไปรอบๆโลก ส่วนดวงอ่ทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวเคราะห์
ต่างๆก็จะโคจรรอบโลก โดยมีลักษณะวงโคจรเป็นรูปวงกลมเล็กๆที่เรียกว่าวงโคจร “epicycle” ซึ่งเคลื่อนที่รอบจุด
ศูนย์กลางอันหนึ่งที่เรียกว่า “deferent” และจุด “deferent” นี้จะโคจรรอบโลกเป็นรูปวงกลม ดังนั้นแบบจาลองเอกภพ
ของพโตเลมีก็ตั้งอยู่บนความเชื่อที่ว่าโลกเป็นจุดศูนย์กลางของเอกภพโดยใช้หลักการทางเรขาคณิตมาอธิบายถึงผลของ
การสังเกตที่พบได้จริงในท้องฟ้ า
Ptoleme’s model
นิโคลัส โคเปอร์นิคัส (Nicolaus Copernicus, ค.ศ. 1473 – ค.ศ. 1543) นักดาราศาสตร์ชาวโปแลนด์เป็นบุคคล
หนึ่งที่สนใจในแบบจาลองเอกภพของพโตเลมี แต่สาหรับแบบจาลองเอกภพของเขานั้นเขาได้ทาการเปลี่ยนแปลง
แบบจาลองของพโตเลมีในส่วนที่มีความสาคัญที่มาก กล่าวคือ เขาพบว่าการอธิบายปรากฏการณ์ที่ฮิปาราคัสได้ทา
การบันทึกเอาไว้นั้นสามารถกระทาได้อีกวิธีหนึ่งโดยการให้ดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลางของระบบและดาวเคราะห์
ต่างๆเคลื่อนที่รอบๆดวงอาทิตย์ด้วยวงโคจร “epicycle” และมีจุดจุดที่เรียกว่า “deferent” นี้จะโคจรรอบดวงอาทิตย์
เป็นรูปวงกลมที่สมบูรณ์แบบ ส่วนดวงจันทร์นั้นจะเคลื่อนที่รอบโลก และดาวฤกษ์ต่างๆนั้นจะมีตาแหน่งประจาอยู่กับ
ที่เหมือนกับแบบจาลองของพโตเลมี แบบจาลองของโคเปอร์นิคัสนี้เป็นแบบจาลองที่กลับไปใช้ระบบดวงอาทิตย์เป็น
จุดศูนย์กลางดังเช่นความเชื่อของอริสตาคัสในยุคกรีก แต่แบบจาลองของเขาได้พยายามอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ
โดยใช้ความรู้ทางเรขาคณิตเข้ามาประกอบด้วย โคเปอร์นิคัสได้เผยแพร่ทฤษฎีนี้ในปี ค.ศ.1543 ในหนังสือที่มีชื่อว่า
“De Revolutionibus Orbium” ซึ่งมีความหมายว่า “ความเกี่ยวเนื่องกับการวิวัฒนของวัตถุท้องฟ้ าต่างๆ” โดยที่เขารู้ดี
ว่าทฤษฎีของเขานั้นขัดแย้งกับความเชื่อของคริตศาสนานิการโรมันคาทอลิกที่มีความเชื่อว่าโลกเป็นศูนย์กลางของทุก
สิ่งทุกอย่าง
ไทโค บราเฮ (Tycho Brahe, ค.ศ.1546 – ค.ศ.1601) นักดาราศาสตร์ชาวฮอลแลนด์ได้ทาการสังเกตการ
เคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ต่างๆและจดบันทึกตาแหน่งอย่างละเอียดทุกวันเป็นเวลานับสิบปี ผลจากการสังเกตของเขา
นี้ทาให้เขาไม่เชื่อในคาอธิบายการโคจรของดาวเคราะห์ต่างรอบดวงอาทิตย์ของโคเปร์นิคัสที่ว่าดาวเคราะห์ต่างๆ
เคลื่อนที่รอบๆดวงอาทิตย์เป็นรูปวงกลมสมบูรณ์แบบ แต่ผลงานการสังเกตการณ์และสรุปผลนี้ยังไม่เป็นผลสาเร็จ
เขาก็ได้มาเสียชีวิตไปเสียก่อน แต่อย่างไรก็ตามเขาได้มอบบันทึกของการสังเกตนี้ให้แก่ผู้ช่วยของเขาซึ่งเป็นชาว
เยอรมัน คือ โยฮัน เคปเลอร์ (Johannes Kepler, ค.ศ. – ค.ศ. )” ดังนั้นจึงทาให้เคปเลอร์ได้ทาการสังเกตการณ์
เพิ่มเติมแล้วจึงได้ตั้งแบบจาลองเอกภพที่ได้อธิบายการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ต่างๆเอาไว้ว่า ดวงอาทิตย์ยังคงเป็น
จุดศูนย์กลางการเคลื่อนที่ของระบบโดยที่ดาวฤกษ์ต่างๆจะอยู่ในตาแหน่งประจาที่ ส่วนดาวเคราะห์ต่างๆจะโคจรรอบ
ดวงอาทิตย์เป็นรูปวงรีไม่ใช่วงโคจรรูปวงกลมสมบูรณืแบบดังที่แสดงอยู่ในแบบจาลองของโคเปอร์นิคัส และดวง
อาทิตย์จะตั้งอยู่ที่จุดโฟกัสจุดหนึ่งของวงโคจรรูปวงรีนั้น นอกจากนั้นเคปเลอร์ยังพบว่าการอธิบายข้อมูลของไท
โคบราเฮด้วยแบบจาลองของเขาจะมีความถูกต้องแม่นยาต่อข้อมูลมากกว่าการอธิบายด้วยแบบจาลองของโคเปอร์
นิคัสด้วย
กาลิเลโอ กาลิเลอิ (Galileo Galilei, ค.ศ.1564 – ค.ศ.1642) เป็นผู้ที่เชื่อในแบบจาลองของเอกภพของโคเปอร์นิคัสที่กล่าวว่า
ดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลางของระบบสุริยะ เขาเป็นคนแรกที่ได้ใช้กล้องโทรทรรศน์ในการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ จากการ
สังเกตโดยใช้กล้องโทรรทรรศน์นี้เขาพบว่าผิวของดวงจันทร์มีภูเขาและหลุมอุกาบาตมากมาย เขาพบว่าการแลกซี่ทางช้างเผือกที่
สังเกตเห็นเป็นฝ้ าสีขาวขุ่นบนท้องฟ้ าในบางบริเวณนั้นคือดาวฤกษ์จานวนมากมายนับไม่ได้ เขาได้พบว่าดาวศุกร์สามารถเกิดเป็น
เฟสคล้ายกับเฟสของดวงจันทร์ได้ นอกจากนั้นเขายังได้ค้นพบว่าดาวพฤหัสบดีมีดาวบริวาร 4 ดวงและดาวบริวารนี้โคจรรอบๆ
ดาวพฤหัสบดี ซึ่งการค้นพบนี้เป็นการแสดงถึงการที่วัตถุท้องฟ้ าหนึ่งได้โคจรรอบวัตถุท้องฟ้ าอื่นที่ไม่ใช่โลกเป็นครั้งแรก และการ
ค้นพบนี้ขัดต่อความเชื่อของศาสนาคริสนิการโรมันคาทอลิกที่เชื่อว่าโลกเป็นศูนย์กลางของทุกสิ่งทุกอย่างเป็นอย่างมาก และการ
ค้นพบนี้เป็นการหักล้างความเชื่อเรื่องเอกภพตามแบบจาลองของพโตเลมี กาลิเลโอไม่ได้เก็บผลการค้นพบเหล่านี้เอาไว้เป็น
ความลับดังที่ คริตศาสนจักรที่กรุงโรมต้องการให้เป็น เขาได้เผยแพร่ผลงานต่างๆเหล่านี้ในหนังสือชื่อ “Dialogue on the Two
Chief World Systems” ในปี ค.ศ.1632 หนัฟงสือเล่มนี้ได้ทาการเปรียบเทียบแบบจาลองเอกภพตามความเชื่อของพโตเลมีและโค
เปอร์นิคัส และในหนังสือนี้เองที่ได้แสดงแบบจาลองของเอกภพตามความเชื่อของกาลิเลโอ เขามีความเชื่อว่าดวงอาทิตย์เป็นจุด
ศูนย์กลางของเอกภพ ดาวเคราะห์ต่างๆยังคงเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์เป็นรูปวงกลมแต่ ณ ที่ตาแหน่งวงโคจรของดาวเสาร์ซึ่งเป็น
ดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดในเอกภพของเขา กาลิเลโอได้เขียนสัญลักษณ์กรีกที่มีความหมายถึงจุดอนันต์นั่นแสดงว่าเอกภพของกาลิเล
โอมีขนาดเป็นอนันต์ หมายความว่า เขายังเชื่อว่ายังมีวัตถุท้องฟ้ าอื่นๆที่อยู่กลออกไปกว่าดาวเสาร์
อย่างไรก็ตามเอกภพของโคเปอร์นิคัส เอกภพของเคปเลอร์ และเอกภพของกาลิเลโอไม่ได้แสดงถึงเหตุผลทางกายภาพที่ใช้อธิบาย
ว่าเพราะเหตุใดดาวเคราะห์ต่างๆจึงโคจรตามลักษณะการโคจรที่พบ ซึ่งต่อมาภายหลังจึงมีผู้ค้นพบว่าลักษณะการโคจรดังกล่าว
เกิดจากกฏของความโน้มถ่วงสากล (Laws of Universal Gravitation) ซึ่งค้นพบโดยเซอร์ไอแซค นิวตัน (Sir Isaac Newton ค.ศ. –
ค.ศ. ) โดยใช้ความรู้เรื่องแรงโน้มถ่วงนี้เองทาให้นักดาราศาสตร์สามารถอธิบายได้ว่าเพราะเหตุใดดาวเคราะห์จึงโคจรรอบดวง
อาทิตย์เป็นรูปวงรี และเพราะเหตุใดดวงอาทิตย์จึงอยู่ที่ตาแหน่งจุดโฟกัสจุดหนึ่งของรูปวงรีของการโคจรนั้น
ผลจากแนวความคิดเรื่องแรงโน้มถ่วงนี้เองทาให้นิวตันได้แสดงแบบจาลองของเอกภพของเขาว่าเอกภพจะต้องมี
ขนาดเป็นอนันต์ กล่าวคือไม่มีที่สิ้นสุด เนื่องจากว่าถ้าเอกภพมีจุดสิ้นสุดที่จุดใดจุดหนึ่งแล้วจะทาให้จานวนของ
ดวงดาวทั้งหมดในเอกภพมีค่าคงที่และจะทาให้ผลของแรงโน้มถ่วงระหว่างดวงดาวต่างๆจะทาให้ดวงดาวเคลื่อนที่เข้า
มาใกล้กันและในที่สุดแล้วดวงดาวทั้งหมดจะยุบตัวลงเหลือมวลขนาดใหญ่เพียงอันเดียว แต่ถ้าเอกภพมีขนาดเป็น
อนันต์คือไม่มีจุดสิ้นสุดแล้วจะทาให้ผลของแรงโน้มถ่วงของดวงดาวภายในเอกภพที่เรารู้จักทั้งหมดถูกต้านโดยแรง
โน้มถ่วงของดวงดาวภายในเอกภพในส่วนมี่เรายังไม่รู้จักและจะทาให้เอกภพทั้งหมดไม่ยุบตัวลง (แต่ในความเป็นจริง
แล้วเอกภพไม่มีความจาเป็นที่ต้องมีขนาดเป็นอนันต์จึงจะไม่ยุบตัวลง ขอแต่เพียงว่าเอกภพนั้นมีมวลหรือดวง
ดาวกระจายอยู่ทั่วไปอย่าสม่าเสมอในทุกทิศทุกทาง เมื่อมีมวลกระจายอยู่ย่างสม่าเสมอในทุกทิศทุกทางจะทาให้แรง
ดึงดูดของมวลจากทิศหนึ่งถูกหักล้างด้วยแรงดึงดูดของแรงในทิศตรงกันข้ามเสมอ ซึ่งจะทาเกิดความสมดุลของแรง
ดึงดูดและเอกภพก็จะไม่ยุบตัวลง)
ทฤษฎี “บิกแบง” (Big Bang Theory) เป็นทฤษฎีทางดาราศาสตร์ที่กล่าวถึงประวัติศาสตร์ความเป็นมาของจักรวาล
ปัจจุบันเป็นทฤษฎีที่เป็นที่เชื่อถือและยอมรับมากที่สุด ทฤษฎีบิกแบงเกิดขึ้นจากการสังเกตของนักดาราศาสตร์ที่ว่า
ขณะนี้จักรวาลกาลังขยายตัว ดวงดาวต่าง ๆ บนท้องฟ้ ากาลังวิ่งห่างออกจากกันทุกที เมื่อย้อนกลับไปสู่อดีต
ดวงดาวต่างๆ จะอยู่ใกล้กันมากกว่านี้ และเมื่อนักดาราศาสตร์คานวณอัตราความเร็วของการขยายตัวทาให้ทราบ
ถึงอายุของจักรวาลและการคลี่คลายตัวของจักรวาล รวมทั้งสร้างทฤษฎีการกาเนิดจักรวาลขึ้นอีกด้วย ตามทฤษฎีนี้
จักรวาลกาเนิดขึ้นเมื่อประมาณ ๑๕,๐๐๐ ล้านปีที่แล้ว ก่อนการเกิดของจักรวาล ไม่มีมวลสาร ช่องว่าง หรือกาลเวลา
จักรวาลเป็นเพียงจุดที่เล็กยิ่งกว่าอะตอมเท่านั้น และด้วยเหตุใดยังไม่ปรากฏแน่ชัด จักรวาลที่เล็กที่สุดนี้ได้ระเบิดออก
อย่างรุนแรงและรวดเร็วในเวลาเพียงเศษเสี้ยววินาที (Inflationary period) แรงระเบิดก่อให้เกิดหมอกธาตุซึ่งแสงไม่
สามารถทะลุผ่านได้ (Plasma period) ต่อมาจักรวาลที่กาลังขยายตัวเริ่มเย็นลง หมอกธาตุเริ่มรวมตัวกันเป็นอะตอม
จักรวาลเริ่มโปร่งแสง ในทางทฤษฎีแล้วพื้นที่บางแห่งจะมีมวลหนาแน่นกว่า ร้อนกว่า และเปล่งแสงออกมามากกว่า
ซึ่งต่อมาพื้นที่เหล่านี้ได้ก่อตัวเป็นกลุ่มหมอกควันอันใหญ่โตมโหฬาร และภายใต้กฎของแรงโน้มถ่วง กลุ่มหมอกควัน
อันมหึมานี้ได้ค่อยๆ แตกออก จนเป็นโครงสร้างของ “กาแลกซี” (Galaxy) ดวงดาวต่าง ๆ ได้ก่อตัวขึ้นในกาแลกซี
และจักรวาลขยายตัวออกอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน
ในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ ดาวเทียม “โคบี” (COBE) ขององค์การนาซ่าแห่งสหรัฐอเมริกา ซึ่งถูกส่งขึ้นไปเพื่อศึกษา
ประวัติศาสตร์ของจักรวาลโดยเฉพาะ ได้ค้นพบรังสีโบราณ ซึ่งบ่งบอกถึงโครงสร้างของจักรวาลขณะเมื่อจักรวาลมี
อายุเพียง ๓๐๐,๐๐๐ ปี นับเป็นการค้นพบครั้งสาคัญที่ยืนยันว่า จักรวาลกาเนิดขึ้นมาจากจุดเริ่มต้นของการระเบิด
และคลี่คลายตัวตามคาอธิบายในทฤษฎี “บิกแบง” จริง เมื่อได้ทฤษฎีการกาเนิดจักรวาลแล้ว นักดาราศาสตร์ก็สนใจ
ว่าจักรวาลจะสิ้นสุดลงอย่างไร มีทฤษฎีที่อธิบายเรื่องนี้อยู่ ๓ ทฤษฎี ทฤษฎีแรก กล่าวว่า
เมื่อแรงระเบิดสิ้นสุดลง มวลอันมหึมาของกาแลกซีต่างๆ จะดึงดูดซึ่งกันและกัน ทาให้จักรวาลหดตัวกลับ
จนกระทั่งถึงกาลอวสาน ทฤษฎีที่สอง อธิบายว่า จักรวาลจะขยายตัวในอัตราช้า ๆ จึงเชื่อว่าน่าจะมี “มวลดา”(dark
matter) ที่เรายังไม่รู้จักปริมาณมหึมาคอยยึดโยงจักรวาลไว้ จักรวาลจะขยายตัวไปเรื่อยๆ จนยากแก่การสืบค้น ส่วน
สตีเฟ่น ฮอว์กกิ้ง (Stephen Hawking) ได้เสนอทฤษฎีที่สามว่า จักรวาลจะขยายตัวในอัตราความเร็วที่เพิ่มขึ้นอย่างไม่มี
ที่สิ้นสุด ทฤษฎีบิกแบงนั้นได้รับการเชื่อมต่อด้วยทฤษฎีวิวัฒนาการ (Evolution Theory) ของชาร์ล ดาร์วิน (Charles
Darwin) เมื่อโลกเย็นตัวลงนั้น ปฏิกิริยาเคมีจากมวลสารในโลกในที่สุดแล้วก่อให้เกิดไอน้า และไอน้าก่อให้เกิดเมฆ และ
เมฆตกลงมาเป็นฝน ทาให้เกิดแม่น้า ลาธาร ทะเล และมหาสมุทร วิวัฒนาการนี้มีลักษณะแบบ “ก้าวกระโดด”
(Emergent Evolution) เมื่อมีสารอนินทรีย์และน้าปริมาณมหาศาลเป็นเวลาที่ยาวนาน ในที่สุดคุณภาพใหม่คือ “ชีวิต” ก็
เกิดขึ้น คาว่า บิกแบง ที่จริงเป็นคาล้อเลียนที่เกิดจาก นักดาราศาสตร์ ชื่อ เฟรดฮอยล์ ซึ่งเขาดูหมิ่นและตั้งใจจะ
ทาลายความน่าเชื่อถือของทฤษฎีที่เขาเห็นว่าไม่มีทางเป็นจริงอย่างไรก็ดี การค้นพบ ไมโครเวฟพื้นหลัง ในปี ค.ศ.
1964 ยิ่งทาให้ไม่สามารถปฏิเสธทฤษฎีบิกแบงได้ มีหลักฐานสาคัญพิสูจน์ความถูกต้องของทฤษฎีการเกิดของเอก
ภพตาม
ทฤษฎีการระเบิดครั้งใหญ่ประการหนึ่ง คือ ในปี ค.ศ. 1965 นักวิทยาศาสตร์ที่ บริษัท เบลล์ แลบอรอทอรี่ สหรัฐ
ได้ยินเสียบรบกวนของคลื่นวิทยุดังมากจาก รอบทิศบนท้องฟ้ า นักวิทยาศาสตร์ได้คานวณได้แล้วว่า ถ้าหากเอกภพ
มีจุดกาเนิด จากปฐมดวงไฟในจักรวาลเมื่อประมาณ 1.1 x 1010-1.8×1010 ปีมาแล้ว ตาม ทฤษฎีการระเบิดครั้ง
ใหญ่ของจักรวาลพลังงานที่ยังหลงเหลืออยู่ในการระเบิด ครั้งใหญ่จะต้องค้นหาพบได้ในปัจจุบัน และจะมีอุณหภูมิ
ประมาณ 3 องศาเหนือ ศูนย์องศาสมบูรณ์ เนื่องจากพลังงานจะแผ่ออกมาเป็นไมโครเวฟ มีความยาวคลื่น น้อยกว่า
1 ม.ม. ผลจากการได้ยินเสียงคลื่นไม่โครเวฟดังมากจากรอบทิศทางบน ท้องฟ้ าดังกล่าว เมื่อนักวิทยาศาสตร์ทาการ
วัดอย่างระมัดระวังทาให้นักวิทยาศาสตร์ แน่ใจว่า การแพร่ของคลื่นไมโครเวฟ บนท้องฟ้ าทั่วทิศทาง คือ ส่วนที่
หลงเหลือ จากการระเบิดครั้งใหญ่ของจักรวาล
ขณะที่เอกภพขยายตัวภายหลังเกิดบิกแบงสสารก็เคลื่อนที่ไปทุกทิศทาง แรงโน้มถ่วงเริ่มทางาน แรงโน้มถ่วง
คือ สิ่งที่ควบคุมเอกภพ เป็นแรงดึงวัตถุเข้าหากัน เราเรียกแรงดึงดูด เช่นนี้ว่า แรงโน้มถ่วง วัตถุที่มีมวลสารมากจะมี
แรงโน้มถ่วงสูง แรงโน้มถ่วงทาให้วัตถุอย่างอยู่ด้วยกัน ดังนั้นเมื่อเอกภพมีอายุเพียง 1 ล้านปี สสารในรูปของ
ไฮโดรเจนและฮีเลียมก็เริ่มยึดเหนี่ยวกันเป็นก้อน เรียกว่า กาแล็กซีที่ยังไม่คลอด(protogalaxy) นี่คือจุดเริ่มต้นของการ
เกิดกาแล็กซีต่อไป ก้อนก๊าซขนาดเล็กที่อยู่ภายในกลายเป็นดาวฤกษ์ กาแล็กซีที่ยังไม่คลอดก็เหมือนกระจุดดาวฤกษ์
ขนาดมหิมาหรือกาแล็กซีแคระ อยู่กันเป็นกลุ่มและเป็นโครงสร้างหลักของกาแล็กซี กาแล็กซีที่ยังไม่คลอดทั้งหลายถูก
ยึดเหนี่ยวเข้าด้วยกัน ด้วยแรงโน้มถ่วงจึงเกิดการรวมกันเป็นกาแล็กซีในช่วงแรกจะมีขนาดเล็กและมีรูปร่างแปลก ใน
ที่สุดกาแล็กซีที่ยังไม่คลอดหลายแห่งก็รวมกันกลายเป็นกาแล็กซีแบบสไปรัสหรือรูปไข่อย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน แต่
มันยังไม่สิ้นสุดแค่นี้ ภายในกาแล็กซีต่าง ๆ ยังมีดาวฤกษ์เกิดขึ้นอยู่เรื่อย ๆ ตัวกาแล็กซีเองก็อาจชนกันหรือรวมกัน
ทุกวันนี้ภายในกาแล็กซีทางช้างแผือกยังมีดาวฤกษ์จานวนมากกาลังเกิดใหม่และกาลังดึงกาแล็กซีเล็กๆข้างเคียงเข้า
มา
มีความเห็นแตกต่างกันมากมายเกี่ยวกับกาเนิดเอกภพจนถึงปัจจุบันก็ยังมีข้อสรุปและไม่มีทฤษฎีที่แน่ชัด เลแมตร์
(G.Lemaitre) ได้กล่าวไว้ว่า ในอดีตเอกภพมีลักษณะเป็นรูปทรงกลมเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ
6,400 กิโลเมตร (4,000ไมล์) เรียกว่า “อะตอมดึกดาบรรพ์” (Primeval Atom) เป็นอะตอมขนาดยักษ์ นาหนัก
ประมาณ 2 พันล้านตันต่อลูกบาศก์นิ้ว
กาโมว์ (G.Gamow) เป็นคนหนึ่งที่สนับสนุนทฤษฎีของเลอเมตร์ จากผลการคานวณของกาโมว์ ในขณะที่อะตอม
ดึกดาบรรพ์ระเบิดขึ้น จะมีอุณภูมิสูงถึง (3,000,000,000 เคลวิน) หลังจากเกิดการระเบิดประมาณ 5 วินาที อุณภู
มิได้ลดลงเป็น (1,000,000,000 เคลวิน) และเมื่อเวลาผ่านไป (300,000,000 ปี) อุณภูมิของเอกภพลดลงเป็น
200 เคลวิน ในที่สุดเอกภพก็ตกอยู่ในความมืดและเย็นไปนานมากจนกระทั่งมีดาราจักรเกิดขึ้น จึงเริ่มมีแสงสว่างและ
อุณภูมิเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
จากแนวความคิดของ ฮับเบิล ที่ว่าเอกภพมีการขยายตัวเรื่อยๆ ดังนั้น จึงเกิดแนวคิดขึ้นว่า เอกภพจึงน่าจะเคยรวมกันอยู่
ณ จุดๆหนึ่ง ซึ่งมีขนาดเล็กเท่ารูเข็ม ในสภาวะนั้น ความหนาแน่น มวลสารเฉลี่ย อุณหภูมิ จะมีค่าเป็น อนันต์ ไม่สามารถใช้
กฎฟิสิกส์ใดได้ และยังไม่มีกาลเวลา ตามหลักทฤษฎีสัมพัทภาพ จากนั้นจึงเกิด บิ๊กแบงขึ้น จากนั้นเอกภพจึงเคลื่อนตัวออก
ห่างอย่างรวดเร็วตามแรงระเบิด และกลายเป็นเอกภพในปัจจุบันใจที่สุด ซึ่งช่วงที่เอกภพรวมตัวกันเราเรียกว่า สภาวะ
“ Singulality “
ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า เมื่อในอดีต เอกภพมีการหดตัวขนาดเท่ารูเข็ม มีมวลสาร อุณหภูมิ ทุกอย่างเป็นอนันต์
ไม่สามารถใช้กฎทางฟิสิกส์ได้ และยังไม่มีกาลเวลา และเอกภพก็ค่อยๆขยายตัวออก หลังจากนั้น จึงเกิด
BigBang ขึ้นโดย
http://pantip.com/topic/30097366
http://www.vcharkarn.com/varticle/43457
https://manthana2013.wordpress.com/%E0%B8%81%E0%B8%B3%E
0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%
80%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%A0%E0%B8%9E/
http://www.meekhao.com/news/secret-place-in-german/

More Related Content

What's hot

แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนmadechada
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเลโครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเลThipwaree Tobangpa
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้มmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาMontree Dangreung
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหารความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหารrisa021040
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 

What's hot (20)

แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเลโครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหารความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 

Viewers also liked

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sup's Tueng
 
2557 โครงงานดาราศาสตร์
2557 โครงงานดาราศาสตร์2557 โครงงานดาราศาสตร์
2557 โครงงานดาราศาสตร์ployprapim
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001suttidakamsing
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลMeanz Mean
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมปยล วชย.
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 

Viewers also liked (11)

Project 1
Project 1Project 1
Project 1
 
Project 1
Project 1Project 1
Project 1
 
Project 1
Project 1Project 1
Project 1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2557 โครงงานดาราศาสตร์
2557 โครงงานดาราศาสตร์2557 โครงงานดาราศาสตร์
2557 โครงงานดาราศาสตร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
 
กิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศกิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศ
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

Similar to โครงงาน 2

แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Lynnie1177
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้มแบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้มMoomy Momay
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Moomy Momay
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Natsima Chaisuttipat
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงานSeew' Pobpon
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่างptrnan
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมptrnan
 
วงจรชีวิตพยาธิใบไม้ในตับ
วงจรชีวิตพยาธิใบไม้ในตับวงจรชีวิตพยาธิใบไม้ในตับ
วงจรชีวิตพยาธิใบไม้ในตับnay220
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์_2557
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์_2557แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์_2557
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์_2557Apple Siripassorn
 
Projectm6
Projectm6Projectm6
Projectm6Nat Ty
 
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate022557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate02Pimpaka Khampin
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1Moo Mild
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1Moo Mild
 
แบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Comแบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง ComPattaraporn Khantha
 
โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2Fayefa Kawinthida
 
เค้าโครงร่างอีฟ
เค้าโครงร่างอีฟเค้าโครงร่างอีฟ
เค้าโครงร่างอีฟJah Jadeite
 

Similar to โครงงาน 2 (20)

แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้มแบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
วงจรชีวิตพยาธิใบไม้ในตับ
วงจรชีวิตพยาธิใบไม้ในตับวงจรชีวิตพยาธิใบไม้ในตับ
วงจรชีวิตพยาธิใบไม้ในตับ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์_2557
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์_2557แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์_2557
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์_2557
 
Projectm6
Projectm6Projectm6
Projectm6
 
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate022557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
แบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Comแบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Com
 
2561 project 608-08
2561 project  608-082561 project  608-08
2561 project 608-08
 
Piano
PianoPiano
Piano
 
โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2
 
h6ju
h6juh6ju
h6ju
 
เค้าโครงร่างอีฟ
เค้าโครงร่างอีฟเค้าโครงร่างอีฟ
เค้าโครงร่างอีฟ
 

More from Siwakorn Daungkrawsuk (8)

Math152
Math152Math152
Math152
 
ฟิสิกส์
ฟิสิกส์ฟิสิกส์
ฟิสิกส์
 
Book2013 oct 08-bio_part_i
Book2013 oct 08-bio_part_iBook2013 oct 08-bio_part_i
Book2013 oct 08-bio_part_i
 
Book2013 oct 04-social (o-net)
Book2013 oct 04-social (o-net)Book2013 oct 04-social (o-net)
Book2013 oct 04-social (o-net)
 
Book2013 oct 05-math
Book2013 oct 05-mathBook2013 oct 05-math
Book2013 oct 05-math
 
ภาษาไทย 2013
ภาษาไทย 2013ภาษาไทย 2013
ภาษาไทย 2013
 
Book2013 oct 03-eng (o-net&gat)
Book2013 oct 03-eng (o-net&gat)Book2013 oct 03-eng (o-net&gat)
Book2013 oct 03-eng (o-net&gat)
 
Project 4
Project 4Project 4
Project 4
 

โครงงาน 2

  • 1.
  • 2. รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปี การศึกษา 2557 ชื่อโครงงาน กาเนิดเอกภพ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 นาย ศิวกร ดวงแก้วสุข เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง 6 2 นาย ธนภัทร วังแกล้ว เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2557 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 3. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1 นาย ศิวกร ดวงแก้วสุข เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง 6 2 นาย ธนภัทร วังแกล้ว เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 6 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) กาเนิดเอกภพ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) The Birth of Universe ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 นาย ศิวกร ดวงแก้วสุข เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง 6 2 นาย ธนภัทร วังแกล้ว เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 6ชื่อที่ปรึกษา ชื่อที่ปรึกษาร่วม ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 3 วัน
  • 4. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เอกภพ เป็นที่ว่างที่มีอาณาเขตกว้างใหญ่ไพศาลจนไม่ สามารถกาหนดขอบเขตได้ ในเอกภพประกอบไปด้วยหลายๆ กลุ่มดาว หรือเรียกว่า กาแลคซี่ (Galaxy) ภายในกา แลคซี่ประกอบไปด้วยดวงดาวมากมายหลายร้อยล้านดวง ทั้งดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ฝุ่นและกลุ่มเนบิวลา เช่นเดียวกับกลุ่มดาวที่โลกเราอยู่คือ กาแลคซี่ทางช้างเผือก(Milky Way) สาเหตุที่เราเรียกว่ากาแลคซี่ทางช้างเผือก เนื่องจากเมื่อเรามองจากโลกไปยังกาแลคซี่ดังกล่าวเราจะมองเห็นท้องฟ้ าเป็นทางขาวคล้ายเมฆพาดยาวบนท้องฟ้ าใน เวลากลางคืน นักวิทยาศาสตร์คาดว่าทางช้างเผือกนี้มีดวงดาวอยู่ประมาณแสนล้านดวง สาหรับระบบสุริยะจักรวาล เป็นส่วนหนึ่งของทางช้างเผือก มีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง มีดวงดาวต่าง ๆ หรือเทห์ฟากฟ้ า ดวงดาวทุกดวงจะมี ความเกี่ยวพันกันอยู่กับดวงดาวดวงหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น ดวงจันทร์กับโลก โลกกับดวงอาทิตย์ เทห์ฟากฟ้ าที่ประกอบ กันอยู่ในระบบสุริยะจักรวาล ได้แก่ ดาวเคราะห์ ดาวบริวาร ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง ดาวตก อุกกาบาต เป็ นต้น บิ กแบง (อังกฤษ: Big Bang หมายถึง การระเบิดครั้งใหญ่) คือแบบจาลองของการกาเนิดและการวิวัฒนาการของเอก ภพในวิชาจักรวาลวิทยาซึ่งได้รับการสนับสนุนจากหลักฐานทางวิทยาศาสตร์และจากการสังเกตการณ์ที่แตกต่างกัน จานวนมาก นักวิทยาศาสตร์โดยทั่วไปใช้คานี้สาหรับกล่าวถึงแนวคิดการขยายตัวของเอกภพหลังจากสภาวะแรกเริ่ม ที่ทั้งร้อนและหนาแน่นอย่างมากในช่วงเวลาจากัดระยะหนึ่ง
  • 5. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ยังคงดาเนินการขยายตัวอยู่จนถึงในปัจจุบัน ดาราจักร หรือ กาแล็กซี เป็นกลุ่มของดาวฤกษ์นับล้านดวง กับสสาร ระหว่างดาวอันประกอบด้วยแก๊ส ฝุ่น และสสารมืด รวมอยู่ด้วยกันด้วยแรงโน้มถ่วง คานี้มีที่มาจากภาษากรีกว่า galaxias หมายถึง "น้านม" ซึ่งสื่อโดยตรงถึงดาราจักรทางช้างเผือก (Milky Way) ดาราจักรโดยทั่วไปมีขนาดน้อยใหญ่ต่างกัน นับแต่ดาราจักรแคระที่มีดาวฤกษ์ประมาณสิบล้านดวงไปจนถึงดาราจักรขนาดยักษ์ที่มีดาวฤกษ์นับถึงล้านล้านดวง โคจร รอบศูนย์กลางมวลจุดเดียวกัน ในดาราจักรหนึ่ง ๆ ยังประกอบไปด้วยระบบดาวหลายดวง กระจุกดาวจานวนมาก และเมฆ ระหว่างดาวหลายประเภท ดวงอาทิตย์ของเราเป็นหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์ในดาราจักรทางช้างเผือก เป็นศูนย์กลางของระบบ สุริยะซึ่งมีโลกและวัตถุอื่น ๆ โคจรโดยรอบ
  • 6. วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาการกาเนิดเอกภพ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษาการกาเนิดเอกภพ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) 1. ทฤษฎีฮับเบิ้ล 2. ทฤษฎีสัมพัทภาพ และ ทฤษฎีสัมพัทภาพ พิเศษ 3. ทฤษฎี บิ๊กแบง 4. ทฤษฎี Singularity 5. แบบจาลองเอกภพ
  • 7. วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.ศึกษาทฤษฎี แนวความคิดต่าง บทความ จาก Internet และนาทฤษฎีนั้นๆมาเทียบกันและเลือกบทความ หรือ ทฤษฎีที่มีความน่าเชื่อถือมากกว่า 2.นาข้อมูลที่ได้มานาเสนอในรูปแบบของ power point เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ งบประมาณ -
  • 8. ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 11 12 1 3 1 4 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน * * 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล * * * 3 จัดทาโครงร่างงาน * * 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน * * * 5 ปรับปรุงทดสอบ * * 6 การทาเอกสารรายงาน * * 7 ประเมินผลงาน * 8 นาเสนอโครงงาน *
  • 9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทุกคนในชั้นสามารถรับรู้ และ สามารถเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีการกาเนิดเอกภพ และ แบบจาลองเอกภพ สถานที่ดาเนินการ 1. ที่พักอาศัยส่วนตัว 2. ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราช กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.วิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง http://pantip.com/topic/30097366 http://www.vcharkarn.com/varticle/43457 https://manthana2013.wordpress.com/%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B 8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%A0%E0%B8%9E/ http://www.meekhao.com/news/secret-place-in-german/
  • 10. ปัจจุบันนักดาราศาสตร์เชื่อว่าเอกภพประกอบด้วยกาแล็กซี่ถึง หนึ่งแสนล้านกาแล็กซี่ โดยกาแล็กซี่แมกเจน แลนใหญ่อยู่ใกล้กาแล็กซี่ทางช้างเผือกของเรามากที่สุด ด้วยระยะทางที่แสงใช้ระยะทางในการเดินทางถึง 170,000 ปี เอกภพทั้งหมดถือกาเนิดขึ้นมาได้อย่างไรเป็นปริศนาที่นักดาราศาสตร์พยายามค้นหาคาตอบมาเนิ่นนานแล้ว ปัจจุบันคาอธิบายที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดคือทฤษฎีบิ๊กแบง
  • 11. ทฤษฎีบิ๊กแบงระบุว่าการระเบิดครั้งยิ่งใหญ่เมื่อประมาณ 15,000 ล้านปีก่อนเป็นต้นกาเนิดของเอกภพและสรรพ สิ่งทั้งหมด หลังการระเบิดเอกภพขยายตัวออกทุกทิศทางพร้อมกับอุณหภูมิที่ค่อยๆ ลดลง เมื่อเวลาผ่านไปนับล้านปี กลุ่มอนุภาคเล่นอิเล็กตรอนและโปรตรอนเริ่มรวมตัวกันเป็นกาแล็กซี่ต่อมาฝุ่นภายในกาแล็กซี่จึงรวมตัวกับแก๊ส ไฮโดรเจนและฮีเลียมเกิดเป็นดาวฤกษ์ซึ่งเปล่งแสงได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดขึ้นภายใน
  • 12. วาระสุดท้ายของดาวฤกษ์ทุกดวงจะมาถึงเมื่อไฮโดรเจนซึ่งเป็นเชื้อเพลิงหลักเริ่มหมดลง ดาวฤกษ์จะสว่างวาบขึ้น พร้อมกับขยายตัวกระทั่งรัศมีเพิ่มขึ้นกว่าร้อยเท่าเรียกว่าดาวยักษ์แดง ปรากฏการณ์เช่นนี้จะเกิดขึ้นกับดวงอาทิตย์ ในอีก 5,000 ล้านปีข้างหน้าซึ่งเมื่อเวลานั้นมาถึงโลกจะถูกเผาไหม้เป็นเถ้าถ่านอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยง หลังจาก ขยายตัวเป็นดาวยักษ์แดง ดาวฤกษ์จะเข้าสู่วาระสุดท้ายโดยการหดตัวอย่างรุนแรง หากเป็นดาวฤกษ์ที่มีมวลสาร น้อย เช่นดวงอาทิตย์ พื้นผิวส่วนนอกจะกลายสภาพเป็นก๊าซแผ่ออกสู่ห้วงอวกาศส่วนแกนกลางจะเย็นลงพร้อมกับ หดตัวอย่างรุนแรงกลายสภาพเป็นดาวแคระขาว ซึ่งมวลสารของดวงดาว 1 ช้อนโต๊ะจะมีน้าหนักประมาณ 1,000 ตัน แต่หากดวงดาวมีมวลมากพออาจระเบิดเป็น Supernova แกนกลางที่เหลือจะกลายเป็นดาวนิวตรอนซึ่งมีความ หนาแน่นสูงมากจนมวลสาร 1 ช้อนโต๊ะหนักนับพันล้านตันและหากดาวดวงนั้นมีมวลมากกว่า 3 เท่าของดวงอาทิตย์ อาจเกิดการหดตัวอย่างแรงที่สุดจนกลายสภาพเป็นหลุมดาหรือ Black Hole ที่มีแรงดึงดูดมหาศาลจนแม้แต่แสงก็ไม่ อาจหลบหนีการดูดกลืนเข้าสู่หลุมดาได้
  • 13. การก่อเกิด เปลี่ยนแปลง และเสื่อมสลายของดาวฤกษ์เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตลอดเวลา มวลสารและ พลังงานของดวงดาวที่แตกดับกลับกลายเป็นองค์ประกอบของดาวดวงใหม่หมุนเวียต่อไปไม่สิ้นสุด สิ่งใดดารงอยู่ ก่อนการก่อเกิดเอกภพวาระสุดท้ายของเอกภพเป็นเช่นไรรวมทั้งมีชีวิตอยู่บนดาวดวงอื่นหรือไม่ทั้งหมดนี้คือปริศนา ที่ยังรอคาตอบจากนักบุกเบิกห้วงอวกาศรุ่นต่อไป เกร็ดดาราศาสตร์ หากเทียบอายุ 15,000 ล้านปีของเอกภพเป็นเวลา 24 ชั่วโมงมนุษย์ก็คือสิ่งมีชีวิตที่มีการเกิดและดับทุก 0.0005 วินาทีและหากเทียบรัศมี 100,000 ปีแสงของกาแล็กซี่ทางช้างเผือกเป็นระยะทาง 1 กิโลเมตรมนุษย์ก็ จะมีขนาดเพียง 1 ใน 5,000 ล้าน มม.เท่านั้นนี่คือความเล็กน้อยด้อยค่าของมนุษย์เมื่อเทียบกับเอกภพอัน ยิ่งใหญ่
  • 14.
  • 15. แบบจาลองเอกภพ ของ ชาวสุเมเรียน และชาวบาบิโลน แบบจาลองเอกภพ กรีก ( Greek’s model ) แบบจาลองของ โคเปอร์นิคัส (Copernican’s model model ) แบบจาลองของเคพเลอร์ ( Kepler’s model ) แบบจาลองของ กาลิเลโอ ( Galileo’s model ) แบบจาลองเอกภพ ของ พโตเลมี (Ptoleme’s model )
  • 16. ในยุคเริ่มต้นประวัติศาสตร์ของมนุษย์โลกในช่วงเวลาประมาณ 7,000 ปีก่อนคริตศักราช นักประวัติศาสตร์เชื่อว่า ได้มีชนชาติที่มีอารยะธรรมอาศัยอยู่ในบริเวณตอนกลางของทวีปเอเชียกลางซึ่งในปัจจุบันนี้คือประเทศอิรัก ดินแดนนี้เป็น ที่รู้จักกันดีของนักประวัติศาสตร์ว่าคือดินแดน “เมโสโปเตเมีย (Mesopotamia)” ชนที่อยู่ในยุคสมัยนั้นได้เรียกตนเองว่า “ชาวสุเมอเรี่ยน (Sumerian)” ชาวสุเมอเรี่ยนได้ริเริ่มประดิษฐ์คิดค้นการเขียนอักษรที่มีชื่อเรียกว่า “cuneiform” เพื่อสื่อ ความหมายต่างๆลงบนแผ่นดินเหนียว ต่อมาทาให้นักประวัติศาสตร์ได้รู้ว่าชาวสุเมอเรียนนั้นเป็นกลุ่มชนที่มีอารยะธรรม สูง ในบันทึกนี้นักประวัติศาสตร์ได้มีการค้นพบการบันทึกตาแหน่งของดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ต่างๆในท้องฟ้ าพร้อมกับ มีการตั้งชื่อให้กับกลุ่มดาวต่างๆในท้องฟ้ าอีกด้วย นอกจากนี้ชาวสุเมอเรี่ยนยังได้อธิบายการเคลื่อนที่ของดวงดาวต่างๆ ในท้องฟ้ าโดยมีความเชื่อว่าเป็นเพราะเทพเจ้าต่างๆที่ปกครองโลก ท้องฟ้ า และแหล่งน้าต่างๆบันดาลให้เป็นไป เช่นนั้น จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์นี้จะเห็นได้ว่าโครงสร้างที่ใหญ่ที่สุดที่ส่งผลกระทบต่อชาวสุเมอเรี่ยนก็คือท้องฟ้ า และดวงดาวต่างๆ ดังนั้นแบบจาลองของเอกภพของชาวสุเมอเรี่ยนก็คือห้วงท้องฟ้ าทั้งหมดที่มีดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ ต่างๆเคลื่อนที่ไปตามเวลาโดยมีโลกเป็นจุดศูนย์กลางของการเคลื่อนที่ทั้งหมด
  • 17. ในช่วงระยะเวลาประมาณ 2,000 ปี ถึง 500 ปีก่อนคริตศักราช ชาวบาบิโลนได้ริเริ่มการสังเกตและจดบันทึกการ เคลื่อนที่ของดวงดาวต่างๆอย่างเป็นระบบเป็นประจาโดยอาศัยพื้นฐานความรู้ทางดาราศาสตร์ของชาวสุเมอเรี่ยน นัก ประวัติศาสตร์ได้พบว่าเมื่อเวลา 1,600 ปีก่อนคริตศักราชชาวบาบิโลนได้จัดทาบัญชีรายชื่อของดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ ต่างในท้องฟ้ าพร้อมทั้งได้ระบุตาแหน่งของการเคลื่อนที่ของดาวฤกษ์และดาวเคราะห์เหล่านั้นอย่างระเอียดทุกๆวัน ซึ่ง ต่อมาทาให้ต่อมาชาวบาบิโลนได้นาผลของการสังเกตการณ์นี้มาใช้ในการทานายการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ต่างๆใน ท้องฟ้ าได้อย่างถูกต้อง และได้ช่วยให้ชาวบาบิโลนสามารถทานายถึงการเปลี่ยนของฤดูกาลได้อย่างถูกต้องและแม่นยา มาก จึมีผลทาให้ระบบการเกษตรของชาวบาบิโลนมีประสิทธิภาพสูง นอกจากนี้ชาวบาบิโลนยังได้อาศัยตาแหน่งของดวง อาทิตย์และดวงจันทร์ในวันต่างๆเพื่อทาปฏิทินแสดงวันที่และฤดูกาลได้อย่างถูกต้องแม่นยาด้วย แต่อย่างไรก็ตามพื้น ฐานความรู้และความเชื่อในเรื่องเอกภพของชาวบาบิโลนกับชาวสุเมอเรียนก็ยังคงเหมือนกัน กล่าวคือพวกเขาทั้งสองชน ชาติมีความเชื่อว่าเอกภพก็คือห้วงท้องฟ้ าทั้งหมดที่มีดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ต่างๆเคลื่อนที่ไปตามเวลาโดยมีโลกเป็นจุด ศูนย์กลางของการเคลื่อนที่ และ ปรากฏการ์ต่างๆที่เกิดขึ้น เช่น การโคจรของดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ดวงอาทิตย์ และ ดวงจันทร์นั้นเกิดขึ้นเพราะเทพเจ้าต่างๆได้ดลบันดาลให้เกิดขึ้นตามความประสงค์ของเทพเจ้า
  • 18.
  • 19. การอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆในท้องฟ้ าของชนชาวกรีกโบราณนั้นได้พัฒนาโดยอาศัยข้อมูลและความรู้ทาง ดาราศาสตร์ของชาวสุเมอเรียนและชาวบาบิโลน แต่ชาวกรีกได้มีการพัฒนาคาอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆในท้องฟ้ าโดย อาศัยคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือ โดยชาวกรีกได้ประยุกต์ความรู้ทางคณิตศาตร์ในเรื่องของจานวนและเรขาคณิตในการ พัฒนาแบบจาลองเอกภพของของชาวกรีก และได้เป็นผู้ประดิษฐ์คาว่า “cosmology” ซึ่งมีความหมายว่า “เอกภพวิทยา” โดยที่คาว่า “cosmos” นั้นมาจากภาษากรีกคาว่า “kosmos” ชึ่งแปลว่าแนวความคิดของความสมมาตรและความกลมกลืน (symmetry and harmony) ชาวกรีกได้พัฒนาความรู้ที่สาคัญมากของวิชาดาราศาสตร์ คือ พวกเขาได้ค้นพบว่าโลกมี ลักษณะเป็นทรงกลมโดยนักคณิตศาสตร์และนักปราชญ์ ชื่อ อริสโตติ้ล (Aristotle, 384 – 325 ปีก่อนคริตศักราช) อริสโตเติ้ลได้ทาการสังเกตการดาวฤกษ์ที่เคลื่อนที่รอบดาวเหนือและพบว่าดาวฤกษ์เหล่านั้นบางดวงสามารถสังเกตเห็น ได้ที่อียิปต์แต่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ที่กรีก ดังนั้นจึงมีทางเดียวที่จะอธิบายปรากฏการณ์นี้คือโลกจะต้องมีลักษณะเป็น ทรงกลมเท่านั้น และ อริสตาคัส จากซามอส (Aristarchus of Samos, 310 – 230 ปีก่อนคริตศักราช) ได้เป็นบุคคนแรก ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติที่ระบุว่าโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ โดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลางและโลกจะโคจรครบ หนึ่งรอบในเวลา 1 ปี ดังนั้นแบบจาลองเอกภพของกรีกจึงเป็นแบบจาลองแรกที่กล่าวว่าเอกภพมีลักษณะที่อธิบายได้ทาง เรขาคณิต
  • 20.
  • 21. Ptoleme’s model ในอดีตได้มีนักดาราศาสตร์ชื่อ ฮิปปาราคัส (Hipparchus of Nicaea) ได้ทาการสังเกตดาวฤกษ์ต่างๆในท้องฟ้ าและ จัดทาบัญชีรายชื่อของดาวฤกษ์ต่างๆในท้องฟ้ าและเขายังได้จาแนกความสว่างของดาวฤกษ์แต่ละดวงขึ้นเป็นครั้งแรก ด้วย ต่อมาพโตเลมี (Ptolemy, A.D. 127 - 151) นักดาราศาสตร์ชาวกรีกก็ได้ใช้ข้อมูลนี้เพื่ออธิบายถึงความสัมพันธ์ทาง รูปแบบเรขาคณิตทรงกลม ของวัตถุต่างๆในท้องฟ้ า พโตเลมีได้อธิบายว่าดาวฤกษ์ต่างๆที่อยู่ในท้องฟ้ านั้นจะมีตาแหน่ง ประจาอยู่กับที่ (fixed star) แต่ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวเคราะห์ต่างๆจะมีการเคลื่อนที่ไปในท้องฟ้ า โดยพโตเลมีได้ อธิบายว่าโลกเป็นจุดศูนย์กลางดาวฤกษ์ต่างๆนั้นจะเคลื่อนที่ไปรอบๆโลก ส่วนดวงอ่ทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวเคราะห์ ต่างๆก็จะโคจรรอบโลก โดยมีลักษณะวงโคจรเป็นรูปวงกลมเล็กๆที่เรียกว่าวงโคจร “epicycle” ซึ่งเคลื่อนที่รอบจุด ศูนย์กลางอันหนึ่งที่เรียกว่า “deferent” และจุด “deferent” นี้จะโคจรรอบโลกเป็นรูปวงกลม ดังนั้นแบบจาลองเอกภพ ของพโตเลมีก็ตั้งอยู่บนความเชื่อที่ว่าโลกเป็นจุดศูนย์กลางของเอกภพโดยใช้หลักการทางเรขาคณิตมาอธิบายถึงผลของ การสังเกตที่พบได้จริงในท้องฟ้ า
  • 23. นิโคลัส โคเปอร์นิคัส (Nicolaus Copernicus, ค.ศ. 1473 – ค.ศ. 1543) นักดาราศาสตร์ชาวโปแลนด์เป็นบุคคล หนึ่งที่สนใจในแบบจาลองเอกภพของพโตเลมี แต่สาหรับแบบจาลองเอกภพของเขานั้นเขาได้ทาการเปลี่ยนแปลง แบบจาลองของพโตเลมีในส่วนที่มีความสาคัญที่มาก กล่าวคือ เขาพบว่าการอธิบายปรากฏการณ์ที่ฮิปาราคัสได้ทา การบันทึกเอาไว้นั้นสามารถกระทาได้อีกวิธีหนึ่งโดยการให้ดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลางของระบบและดาวเคราะห์ ต่างๆเคลื่อนที่รอบๆดวงอาทิตย์ด้วยวงโคจร “epicycle” และมีจุดจุดที่เรียกว่า “deferent” นี้จะโคจรรอบดวงอาทิตย์ เป็นรูปวงกลมที่สมบูรณ์แบบ ส่วนดวงจันทร์นั้นจะเคลื่อนที่รอบโลก และดาวฤกษ์ต่างๆนั้นจะมีตาแหน่งประจาอยู่กับ ที่เหมือนกับแบบจาลองของพโตเลมี แบบจาลองของโคเปอร์นิคัสนี้เป็นแบบจาลองที่กลับไปใช้ระบบดวงอาทิตย์เป็น จุดศูนย์กลางดังเช่นความเชื่อของอริสตาคัสในยุคกรีก แต่แบบจาลองของเขาได้พยายามอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ โดยใช้ความรู้ทางเรขาคณิตเข้ามาประกอบด้วย โคเปอร์นิคัสได้เผยแพร่ทฤษฎีนี้ในปี ค.ศ.1543 ในหนังสือที่มีชื่อว่า “De Revolutionibus Orbium” ซึ่งมีความหมายว่า “ความเกี่ยวเนื่องกับการวิวัฒนของวัตถุท้องฟ้ าต่างๆ” โดยที่เขารู้ดี ว่าทฤษฎีของเขานั้นขัดแย้งกับความเชื่อของคริตศาสนานิการโรมันคาทอลิกที่มีความเชื่อว่าโลกเป็นศูนย์กลางของทุก สิ่งทุกอย่าง
  • 24.
  • 25. ไทโค บราเฮ (Tycho Brahe, ค.ศ.1546 – ค.ศ.1601) นักดาราศาสตร์ชาวฮอลแลนด์ได้ทาการสังเกตการ เคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ต่างๆและจดบันทึกตาแหน่งอย่างละเอียดทุกวันเป็นเวลานับสิบปี ผลจากการสังเกตของเขา นี้ทาให้เขาไม่เชื่อในคาอธิบายการโคจรของดาวเคราะห์ต่างรอบดวงอาทิตย์ของโคเปร์นิคัสที่ว่าดาวเคราะห์ต่างๆ เคลื่อนที่รอบๆดวงอาทิตย์เป็นรูปวงกลมสมบูรณ์แบบ แต่ผลงานการสังเกตการณ์และสรุปผลนี้ยังไม่เป็นผลสาเร็จ เขาก็ได้มาเสียชีวิตไปเสียก่อน แต่อย่างไรก็ตามเขาได้มอบบันทึกของการสังเกตนี้ให้แก่ผู้ช่วยของเขาซึ่งเป็นชาว เยอรมัน คือ โยฮัน เคปเลอร์ (Johannes Kepler, ค.ศ. – ค.ศ. )” ดังนั้นจึงทาให้เคปเลอร์ได้ทาการสังเกตการณ์ เพิ่มเติมแล้วจึงได้ตั้งแบบจาลองเอกภพที่ได้อธิบายการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ต่างๆเอาไว้ว่า ดวงอาทิตย์ยังคงเป็น จุดศูนย์กลางการเคลื่อนที่ของระบบโดยที่ดาวฤกษ์ต่างๆจะอยู่ในตาแหน่งประจาที่ ส่วนดาวเคราะห์ต่างๆจะโคจรรอบ ดวงอาทิตย์เป็นรูปวงรีไม่ใช่วงโคจรรูปวงกลมสมบูรณืแบบดังที่แสดงอยู่ในแบบจาลองของโคเปอร์นิคัส และดวง อาทิตย์จะตั้งอยู่ที่จุดโฟกัสจุดหนึ่งของวงโคจรรูปวงรีนั้น นอกจากนั้นเคปเลอร์ยังพบว่าการอธิบายข้อมูลของไท โคบราเฮด้วยแบบจาลองของเขาจะมีความถูกต้องแม่นยาต่อข้อมูลมากกว่าการอธิบายด้วยแบบจาลองของโคเปอร์ นิคัสด้วย
  • 26.
  • 27. กาลิเลโอ กาลิเลอิ (Galileo Galilei, ค.ศ.1564 – ค.ศ.1642) เป็นผู้ที่เชื่อในแบบจาลองของเอกภพของโคเปอร์นิคัสที่กล่าวว่า ดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลางของระบบสุริยะ เขาเป็นคนแรกที่ได้ใช้กล้องโทรทรรศน์ในการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ จากการ สังเกตโดยใช้กล้องโทรรทรรศน์นี้เขาพบว่าผิวของดวงจันทร์มีภูเขาและหลุมอุกาบาตมากมาย เขาพบว่าการแลกซี่ทางช้างเผือกที่ สังเกตเห็นเป็นฝ้ าสีขาวขุ่นบนท้องฟ้ าในบางบริเวณนั้นคือดาวฤกษ์จานวนมากมายนับไม่ได้ เขาได้พบว่าดาวศุกร์สามารถเกิดเป็น เฟสคล้ายกับเฟสของดวงจันทร์ได้ นอกจากนั้นเขายังได้ค้นพบว่าดาวพฤหัสบดีมีดาวบริวาร 4 ดวงและดาวบริวารนี้โคจรรอบๆ ดาวพฤหัสบดี ซึ่งการค้นพบนี้เป็นการแสดงถึงการที่วัตถุท้องฟ้ าหนึ่งได้โคจรรอบวัตถุท้องฟ้ าอื่นที่ไม่ใช่โลกเป็นครั้งแรก และการ ค้นพบนี้ขัดต่อความเชื่อของศาสนาคริสนิการโรมันคาทอลิกที่เชื่อว่าโลกเป็นศูนย์กลางของทุกสิ่งทุกอย่างเป็นอย่างมาก และการ ค้นพบนี้เป็นการหักล้างความเชื่อเรื่องเอกภพตามแบบจาลองของพโตเลมี กาลิเลโอไม่ได้เก็บผลการค้นพบเหล่านี้เอาไว้เป็น ความลับดังที่ คริตศาสนจักรที่กรุงโรมต้องการให้เป็น เขาได้เผยแพร่ผลงานต่างๆเหล่านี้ในหนังสือชื่อ “Dialogue on the Two Chief World Systems” ในปี ค.ศ.1632 หนัฟงสือเล่มนี้ได้ทาการเปรียบเทียบแบบจาลองเอกภพตามความเชื่อของพโตเลมีและโค เปอร์นิคัส และในหนังสือนี้เองที่ได้แสดงแบบจาลองของเอกภพตามความเชื่อของกาลิเลโอ เขามีความเชื่อว่าดวงอาทิตย์เป็นจุด ศูนย์กลางของเอกภพ ดาวเคราะห์ต่างๆยังคงเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์เป็นรูปวงกลมแต่ ณ ที่ตาแหน่งวงโคจรของดาวเสาร์ซึ่งเป็น ดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดในเอกภพของเขา กาลิเลโอได้เขียนสัญลักษณ์กรีกที่มีความหมายถึงจุดอนันต์นั่นแสดงว่าเอกภพของกาลิเล โอมีขนาดเป็นอนันต์ หมายความว่า เขายังเชื่อว่ายังมีวัตถุท้องฟ้ าอื่นๆที่อยู่กลออกไปกว่าดาวเสาร์
  • 28. อย่างไรก็ตามเอกภพของโคเปอร์นิคัส เอกภพของเคปเลอร์ และเอกภพของกาลิเลโอไม่ได้แสดงถึงเหตุผลทางกายภาพที่ใช้อธิบาย ว่าเพราะเหตุใดดาวเคราะห์ต่างๆจึงโคจรตามลักษณะการโคจรที่พบ ซึ่งต่อมาภายหลังจึงมีผู้ค้นพบว่าลักษณะการโคจรดังกล่าว เกิดจากกฏของความโน้มถ่วงสากล (Laws of Universal Gravitation) ซึ่งค้นพบโดยเซอร์ไอแซค นิวตัน (Sir Isaac Newton ค.ศ. – ค.ศ. ) โดยใช้ความรู้เรื่องแรงโน้มถ่วงนี้เองทาให้นักดาราศาสตร์สามารถอธิบายได้ว่าเพราะเหตุใดดาวเคราะห์จึงโคจรรอบดวง อาทิตย์เป็นรูปวงรี และเพราะเหตุใดดวงอาทิตย์จึงอยู่ที่ตาแหน่งจุดโฟกัสจุดหนึ่งของรูปวงรีของการโคจรนั้น
  • 29. ผลจากแนวความคิดเรื่องแรงโน้มถ่วงนี้เองทาให้นิวตันได้แสดงแบบจาลองของเอกภพของเขาว่าเอกภพจะต้องมี ขนาดเป็นอนันต์ กล่าวคือไม่มีที่สิ้นสุด เนื่องจากว่าถ้าเอกภพมีจุดสิ้นสุดที่จุดใดจุดหนึ่งแล้วจะทาให้จานวนของ ดวงดาวทั้งหมดในเอกภพมีค่าคงที่และจะทาให้ผลของแรงโน้มถ่วงระหว่างดวงดาวต่างๆจะทาให้ดวงดาวเคลื่อนที่เข้า มาใกล้กันและในที่สุดแล้วดวงดาวทั้งหมดจะยุบตัวลงเหลือมวลขนาดใหญ่เพียงอันเดียว แต่ถ้าเอกภพมีขนาดเป็น อนันต์คือไม่มีจุดสิ้นสุดแล้วจะทาให้ผลของแรงโน้มถ่วงของดวงดาวภายในเอกภพที่เรารู้จักทั้งหมดถูกต้านโดยแรง โน้มถ่วงของดวงดาวภายในเอกภพในส่วนมี่เรายังไม่รู้จักและจะทาให้เอกภพทั้งหมดไม่ยุบตัวลง (แต่ในความเป็นจริง แล้วเอกภพไม่มีความจาเป็นที่ต้องมีขนาดเป็นอนันต์จึงจะไม่ยุบตัวลง ขอแต่เพียงว่าเอกภพนั้นมีมวลหรือดวง ดาวกระจายอยู่ทั่วไปอย่าสม่าเสมอในทุกทิศทุกทาง เมื่อมีมวลกระจายอยู่ย่างสม่าเสมอในทุกทิศทุกทางจะทาให้แรง ดึงดูดของมวลจากทิศหนึ่งถูกหักล้างด้วยแรงดึงดูดของแรงในทิศตรงกันข้ามเสมอ ซึ่งจะทาเกิดความสมดุลของแรง ดึงดูดและเอกภพก็จะไม่ยุบตัวลง)
  • 30.
  • 31.
  • 32. ทฤษฎี “บิกแบง” (Big Bang Theory) เป็นทฤษฎีทางดาราศาสตร์ที่กล่าวถึงประวัติศาสตร์ความเป็นมาของจักรวาล ปัจจุบันเป็นทฤษฎีที่เป็นที่เชื่อถือและยอมรับมากที่สุด ทฤษฎีบิกแบงเกิดขึ้นจากการสังเกตของนักดาราศาสตร์ที่ว่า ขณะนี้จักรวาลกาลังขยายตัว ดวงดาวต่าง ๆ บนท้องฟ้ ากาลังวิ่งห่างออกจากกันทุกที เมื่อย้อนกลับไปสู่อดีต ดวงดาวต่างๆ จะอยู่ใกล้กันมากกว่านี้ และเมื่อนักดาราศาสตร์คานวณอัตราความเร็วของการขยายตัวทาให้ทราบ ถึงอายุของจักรวาลและการคลี่คลายตัวของจักรวาล รวมทั้งสร้างทฤษฎีการกาเนิดจักรวาลขึ้นอีกด้วย ตามทฤษฎีนี้ จักรวาลกาเนิดขึ้นเมื่อประมาณ ๑๕,๐๐๐ ล้านปีที่แล้ว ก่อนการเกิดของจักรวาล ไม่มีมวลสาร ช่องว่าง หรือกาลเวลา จักรวาลเป็นเพียงจุดที่เล็กยิ่งกว่าอะตอมเท่านั้น และด้วยเหตุใดยังไม่ปรากฏแน่ชัด จักรวาลที่เล็กที่สุดนี้ได้ระเบิดออก อย่างรุนแรงและรวดเร็วในเวลาเพียงเศษเสี้ยววินาที (Inflationary period) แรงระเบิดก่อให้เกิดหมอกธาตุซึ่งแสงไม่ สามารถทะลุผ่านได้ (Plasma period) ต่อมาจักรวาลที่กาลังขยายตัวเริ่มเย็นลง หมอกธาตุเริ่มรวมตัวกันเป็นอะตอม จักรวาลเริ่มโปร่งแสง ในทางทฤษฎีแล้วพื้นที่บางแห่งจะมีมวลหนาแน่นกว่า ร้อนกว่า และเปล่งแสงออกมามากกว่า ซึ่งต่อมาพื้นที่เหล่านี้ได้ก่อตัวเป็นกลุ่มหมอกควันอันใหญ่โตมโหฬาร และภายใต้กฎของแรงโน้มถ่วง กลุ่มหมอกควัน อันมหึมานี้ได้ค่อยๆ แตกออก จนเป็นโครงสร้างของ “กาแลกซี” (Galaxy) ดวงดาวต่าง ๆ ได้ก่อตัวขึ้นในกาแลกซี และจักรวาลขยายตัวออกอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน
  • 33. ในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ ดาวเทียม “โคบี” (COBE) ขององค์การนาซ่าแห่งสหรัฐอเมริกา ซึ่งถูกส่งขึ้นไปเพื่อศึกษา ประวัติศาสตร์ของจักรวาลโดยเฉพาะ ได้ค้นพบรังสีโบราณ ซึ่งบ่งบอกถึงโครงสร้างของจักรวาลขณะเมื่อจักรวาลมี อายุเพียง ๓๐๐,๐๐๐ ปี นับเป็นการค้นพบครั้งสาคัญที่ยืนยันว่า จักรวาลกาเนิดขึ้นมาจากจุดเริ่มต้นของการระเบิด และคลี่คลายตัวตามคาอธิบายในทฤษฎี “บิกแบง” จริง เมื่อได้ทฤษฎีการกาเนิดจักรวาลแล้ว นักดาราศาสตร์ก็สนใจ ว่าจักรวาลจะสิ้นสุดลงอย่างไร มีทฤษฎีที่อธิบายเรื่องนี้อยู่ ๓ ทฤษฎี ทฤษฎีแรก กล่าวว่า
  • 34. เมื่อแรงระเบิดสิ้นสุดลง มวลอันมหึมาของกาแลกซีต่างๆ จะดึงดูดซึ่งกันและกัน ทาให้จักรวาลหดตัวกลับ จนกระทั่งถึงกาลอวสาน ทฤษฎีที่สอง อธิบายว่า จักรวาลจะขยายตัวในอัตราช้า ๆ จึงเชื่อว่าน่าจะมี “มวลดา”(dark matter) ที่เรายังไม่รู้จักปริมาณมหึมาคอยยึดโยงจักรวาลไว้ จักรวาลจะขยายตัวไปเรื่อยๆ จนยากแก่การสืบค้น ส่วน สตีเฟ่น ฮอว์กกิ้ง (Stephen Hawking) ได้เสนอทฤษฎีที่สามว่า จักรวาลจะขยายตัวในอัตราความเร็วที่เพิ่มขึ้นอย่างไม่มี ที่สิ้นสุด ทฤษฎีบิกแบงนั้นได้รับการเชื่อมต่อด้วยทฤษฎีวิวัฒนาการ (Evolution Theory) ของชาร์ล ดาร์วิน (Charles Darwin) เมื่อโลกเย็นตัวลงนั้น ปฏิกิริยาเคมีจากมวลสารในโลกในที่สุดแล้วก่อให้เกิดไอน้า และไอน้าก่อให้เกิดเมฆ และ เมฆตกลงมาเป็นฝน ทาให้เกิดแม่น้า ลาธาร ทะเล และมหาสมุทร วิวัฒนาการนี้มีลักษณะแบบ “ก้าวกระโดด” (Emergent Evolution) เมื่อมีสารอนินทรีย์และน้าปริมาณมหาศาลเป็นเวลาที่ยาวนาน ในที่สุดคุณภาพใหม่คือ “ชีวิต” ก็ เกิดขึ้น คาว่า บิกแบง ที่จริงเป็นคาล้อเลียนที่เกิดจาก นักดาราศาสตร์ ชื่อ เฟรดฮอยล์ ซึ่งเขาดูหมิ่นและตั้งใจจะ ทาลายความน่าเชื่อถือของทฤษฎีที่เขาเห็นว่าไม่มีทางเป็นจริงอย่างไรก็ดี การค้นพบ ไมโครเวฟพื้นหลัง ในปี ค.ศ. 1964 ยิ่งทาให้ไม่สามารถปฏิเสธทฤษฎีบิกแบงได้ มีหลักฐานสาคัญพิสูจน์ความถูกต้องของทฤษฎีการเกิดของเอก ภพตาม
  • 35. ทฤษฎีการระเบิดครั้งใหญ่ประการหนึ่ง คือ ในปี ค.ศ. 1965 นักวิทยาศาสตร์ที่ บริษัท เบลล์ แลบอรอทอรี่ สหรัฐ ได้ยินเสียบรบกวนของคลื่นวิทยุดังมากจาก รอบทิศบนท้องฟ้ า นักวิทยาศาสตร์ได้คานวณได้แล้วว่า ถ้าหากเอกภพ มีจุดกาเนิด จากปฐมดวงไฟในจักรวาลเมื่อประมาณ 1.1 x 1010-1.8×1010 ปีมาแล้ว ตาม ทฤษฎีการระเบิดครั้ง ใหญ่ของจักรวาลพลังงานที่ยังหลงเหลืออยู่ในการระเบิด ครั้งใหญ่จะต้องค้นหาพบได้ในปัจจุบัน และจะมีอุณหภูมิ ประมาณ 3 องศาเหนือ ศูนย์องศาสมบูรณ์ เนื่องจากพลังงานจะแผ่ออกมาเป็นไมโครเวฟ มีความยาวคลื่น น้อยกว่า 1 ม.ม. ผลจากการได้ยินเสียงคลื่นไม่โครเวฟดังมากจากรอบทิศทางบน ท้องฟ้ าดังกล่าว เมื่อนักวิทยาศาสตร์ทาการ วัดอย่างระมัดระวังทาให้นักวิทยาศาสตร์ แน่ใจว่า การแพร่ของคลื่นไมโครเวฟ บนท้องฟ้ าทั่วทิศทาง คือ ส่วนที่ หลงเหลือ จากการระเบิดครั้งใหญ่ของจักรวาล
  • 36.
  • 37. ขณะที่เอกภพขยายตัวภายหลังเกิดบิกแบงสสารก็เคลื่อนที่ไปทุกทิศทาง แรงโน้มถ่วงเริ่มทางาน แรงโน้มถ่วง คือ สิ่งที่ควบคุมเอกภพ เป็นแรงดึงวัตถุเข้าหากัน เราเรียกแรงดึงดูด เช่นนี้ว่า แรงโน้มถ่วง วัตถุที่มีมวลสารมากจะมี แรงโน้มถ่วงสูง แรงโน้มถ่วงทาให้วัตถุอย่างอยู่ด้วยกัน ดังนั้นเมื่อเอกภพมีอายุเพียง 1 ล้านปี สสารในรูปของ ไฮโดรเจนและฮีเลียมก็เริ่มยึดเหนี่ยวกันเป็นก้อน เรียกว่า กาแล็กซีที่ยังไม่คลอด(protogalaxy) นี่คือจุดเริ่มต้นของการ เกิดกาแล็กซีต่อไป ก้อนก๊าซขนาดเล็กที่อยู่ภายในกลายเป็นดาวฤกษ์ กาแล็กซีที่ยังไม่คลอดก็เหมือนกระจุดดาวฤกษ์ ขนาดมหิมาหรือกาแล็กซีแคระ อยู่กันเป็นกลุ่มและเป็นโครงสร้างหลักของกาแล็กซี กาแล็กซีที่ยังไม่คลอดทั้งหลายถูก ยึดเหนี่ยวเข้าด้วยกัน ด้วยแรงโน้มถ่วงจึงเกิดการรวมกันเป็นกาแล็กซีในช่วงแรกจะมีขนาดเล็กและมีรูปร่างแปลก ใน ที่สุดกาแล็กซีที่ยังไม่คลอดหลายแห่งก็รวมกันกลายเป็นกาแล็กซีแบบสไปรัสหรือรูปไข่อย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน แต่ มันยังไม่สิ้นสุดแค่นี้ ภายในกาแล็กซีต่าง ๆ ยังมีดาวฤกษ์เกิดขึ้นอยู่เรื่อย ๆ ตัวกาแล็กซีเองก็อาจชนกันหรือรวมกัน ทุกวันนี้ภายในกาแล็กซีทางช้างแผือกยังมีดาวฤกษ์จานวนมากกาลังเกิดใหม่และกาลังดึงกาแล็กซีเล็กๆข้างเคียงเข้า มา
  • 38. มีความเห็นแตกต่างกันมากมายเกี่ยวกับกาเนิดเอกภพจนถึงปัจจุบันก็ยังมีข้อสรุปและไม่มีทฤษฎีที่แน่ชัด เลแมตร์ (G.Lemaitre) ได้กล่าวไว้ว่า ในอดีตเอกภพมีลักษณะเป็นรูปทรงกลมเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 6,400 กิโลเมตร (4,000ไมล์) เรียกว่า “อะตอมดึกดาบรรพ์” (Primeval Atom) เป็นอะตอมขนาดยักษ์ นาหนัก ประมาณ 2 พันล้านตันต่อลูกบาศก์นิ้ว กาโมว์ (G.Gamow) เป็นคนหนึ่งที่สนับสนุนทฤษฎีของเลอเมตร์ จากผลการคานวณของกาโมว์ ในขณะที่อะตอม ดึกดาบรรพ์ระเบิดขึ้น จะมีอุณภูมิสูงถึง (3,000,000,000 เคลวิน) หลังจากเกิดการระเบิดประมาณ 5 วินาที อุณภู มิได้ลดลงเป็น (1,000,000,000 เคลวิน) และเมื่อเวลาผ่านไป (300,000,000 ปี) อุณภูมิของเอกภพลดลงเป็น 200 เคลวิน ในที่สุดเอกภพก็ตกอยู่ในความมืดและเย็นไปนานมากจนกระทั่งมีดาราจักรเกิดขึ้น จึงเริ่มมีแสงสว่างและ อุณภูมิเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
  • 39.
  • 40. จากแนวความคิดของ ฮับเบิล ที่ว่าเอกภพมีการขยายตัวเรื่อยๆ ดังนั้น จึงเกิดแนวคิดขึ้นว่า เอกภพจึงน่าจะเคยรวมกันอยู่ ณ จุดๆหนึ่ง ซึ่งมีขนาดเล็กเท่ารูเข็ม ในสภาวะนั้น ความหนาแน่น มวลสารเฉลี่ย อุณหภูมิ จะมีค่าเป็น อนันต์ ไม่สามารถใช้ กฎฟิสิกส์ใดได้ และยังไม่มีกาลเวลา ตามหลักทฤษฎีสัมพัทภาพ จากนั้นจึงเกิด บิ๊กแบงขึ้น จากนั้นเอกภพจึงเคลื่อนตัวออก ห่างอย่างรวดเร็วตามแรงระเบิด และกลายเป็นเอกภพในปัจจุบันใจที่สุด ซึ่งช่วงที่เอกภพรวมตัวกันเราเรียกว่า สภาวะ “ Singulality “
  • 41.
  • 42. ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า เมื่อในอดีต เอกภพมีการหดตัวขนาดเท่ารูเข็ม มีมวลสาร อุณหภูมิ ทุกอย่างเป็นอนันต์ ไม่สามารถใช้กฎทางฟิสิกส์ได้ และยังไม่มีกาลเวลา และเอกภพก็ค่อยๆขยายตัวออก หลังจากนั้น จึงเกิด BigBang ขึ้นโดย
  • 43.
  • 44.