SlideShare a Scribd company logo
1 of 71
Download to read offline
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
ได้รับการสนับสนุนจากสานักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.)
โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า ii
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของรายงานนี้เพื่อจัดทาข้อเสนอแบบจาลองที่เหมาะสมและเป็นไปได้ของการนาร้าน
ยาคุณภาพเข้าสู่ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยการวิเคราะห์ความเป็นได้ทั้งทางเทคนิค การเงิน
การคลัง การบริหารจัดการ การกากับติดตามระบบ รวมทั้งสอดคล้องกับนโยบายและทิศทางของการ
พัฒนาระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า วิธีการศึกษา ใช้การทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ
บริบทและสถานภาพปัจจุบัน รวมทั้งองค์ความรู้ของการจัดบริการในพื้นที่นาร่อง เก็บข้อมูลทุติยภูมิที่
เกี่ยวข้องกับการประเมินอุปสงค์และอุปทานของการบริการ วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของทางเลือก
แบบจาลอง และจัดประชุมนาเสนอและระดมสมองจากกลุ่มวิชาชีพเภสัชกรรม กลุ่มผู้เกี่ยวข้องและภาค
ส่วนอื่น
กิจกรรมบริการที่จะได้จากงานเภสัชกรรมที่มีความเป็นไป ตามประสบการณ์การทดลองในพื้นที่
ประกอบด้วย การจ่ายยาตามอาการทั่วไปที่พบบ่อยในร้านยา, การจ่ายยาและทบทวนใบสั่งแพทย์, การ
ให้บริการจ่ายยาต่อเนื่องตามใบสั่งแพทย์แก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง, การให้บริการคัดกรองโรค, การเพิ่ม
คุณภาพของการดูแลการใช้ยา และการมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ยาและการดูแล
สุขภาพ จะทาให้ค่ารักษาพยาบาลในอนาคตลดลง และการให้บริการส่งเสริมสุขภาพ ดังนั้น ประเด็น
สาคัญที่ควรสนับสนุนให้ร้านยาเข้ามามีบทบาทจัดกิจกรรมบริการ ได้แก่ การสนับสนุนให้ประชาชนได้รับ
บริการเภสัชกรรมที่มีคุณภาพ สนับสนุนงาน ‘NCD Disease Management’ สามารถลดค่าใช้จ่าย
รักษาพยาบาลในระยะยาว สนับสนุนหลักการ ‘Public Private Partnership’ โดยไม่ต้องลงทุนใหม่
ข้อเสนอสิทธิประโยชน์ทางเภสัชกรรม เน้นที่การดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโดยเฉพาะ
เบาหวานและความดันโลหิตสูง คือ การตรวจคัดกรองในกลุ่มเสี่ยง การเติมยาและติดตามผลสาหรับ
ผู้ป่วยที่สามารถควบคุมระดับน้าตาลและความดันได้ และการเพิ่มคุณภาพของการดูแลการใช้ยา และการ
มีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ยา ในผู้ป่วยที่มีปัญหาการกินยาและควบคุมโรคได้ไม่ดี
โดยประมาณการณ์รายจ่ายเพื่อผู้ป่วยเบาหวานรายละ 182-1,044 บาท หรือเฉลี่ยโรงพยาบาลละ
194,740 – 1,117,080 บาท ทานองเดียวกันจะสามารถประมาณการณ์รายจ่ายเพื่อผู้ป่วยความดันโลหิต
สูงรายละ 182-1,098 บาท หรือเฉลี่ยโรงพยาบาลละ 242,242 – 1,461,438 บาท ส่วนขั้นตอนและพื้นที่
ดาเนินการ อาจเริ่มในเขตเมืองที่มีร้านยาคุณภาพรองรับก่อน ประเมินผลแล้วค่อยขยายเต็มพื้นที่ ยังเป็น
ผู้ดูแลรับผิดชอบผู้ป่วย และ ประสานงาน สาหรับสิทธิประโยชน์นี้ กรณีการรับยาที่ร้านยา อาจพิจารณา
ให้ประชาชนร่วมจ่ายด้วย แต่ต้องไม่มากกว่าค่าใช้จ่ายการเดินทางและการเสียเวลางานที่ลดลง
ข้อเสนอเชิงนโยบายสาหรับสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)ได้แก่ การประกาศ
ให้ร้านยาที่มีการรับรองคุณภาพบริการให้เข้าเป็นสถานพยาบาลคู่สัญญากับ สปสช. เพื่อรองรับภารกิจ
ของการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สาคัญของประเทศ คือเบาหวานและความดันโลหิตสูง นอกจากนี้
สปสช. ควรจัดตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทางานด้านสิทธิประโยชน์เภสัชกรรม ทาหน้าที่เป็นศูนย์
โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า iii
ประสานงานและสนับสนุนวิชาการ รวมทั้งรับผิดชอบการจัดการ รูปแบบการดาเนินงาน ประเมินผลอย่าง
ต่อเนื่อง และการนาเสนอความเห็นของการพัฒนาระบบบริการและสิทธิประโยชน์เภสัชกรรมต่อ สปสช.
โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า iv
สารบัญเรื่อง
หน้า
บทที่ 1 บทนา.....................................................................................................................................1
1. หลักการและเหตุผล.....................................................................................................................1
2. คาถามสาคัญของการศึกษา.........................................................................................................4
3. วัตถุประสงค์................................................................................................................................4
4. วีธีการศึกษา ...............................................................................................................................5
5. ระยะเวลาดาเนินการ ...................................................................................................................8
6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ.....................................................................................................................8
บทที่ 2 ประสบการณ์ร้านยาในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า .......................................................9
1. รูปแบบการเข้าร่วมของร้านยาในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า..................................................10
2. บทบาทและกิจกรรมการให้บริการของร้านยาในระบบประกันสุขภาพ..........................................13
3. การจัดบริการของร้านยาในต่างประเทศ .....................................................................................22
4. การพัฒนาร้านยาและความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง........................................................26
5. ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมของร้านยาในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า..............................27
บทที่ 3 ต้นทุนของร้านยา................................................................................................................29
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง.................................................................................................29
ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม...........................................................................................................29
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ...................................................................................................................31
กรอบแนวคิด ............................................................................................................................32
กรอบแนวคิดการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม ....................................................................33
วิธีการศึกษาต้นทุน ...................................................................................................................34
ผลการศึกษาต้นทุนและอภิปราย....................................................................................................35
1. ต้นทุนต่อหน่วยบริการในมุมมองของร้านยาสมบุญเภสัชกร....................................................35
2. การวิเคราะห์ความไว.............................................................................................................39
บทที่ 4 การวิเคราะห์อุปสงค์และอุปทาน.......................................................................................42
พฤติกรรมสุขภาพในการรับบริการร้านยา ......................................................................................42
สถานการณ์ทางระบาดวิทยา .........................................................................................................43
จานวนและการกระจายตัวของร้านยา.............................................................................................47
ภาระงานปัจจุบันของร้านยา ..........................................................................................................48
โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า v
บทที่ 5 ข้อเสนอและความเห็นจากการประชุม.............................................................................49
1. การนาเสนอในที่ประชุมกรรมการสภาเภสัชกรรม วันที่8 พฤษภาคม พ.ศ. 2552.....................49
2. การจัดประชุมสนทนากลุ่มวิชาชีพ..........................................................................................50
3. การจัดประชุมสนทนากลุ่มผู้เกี่ยวข้อง ....................................................................................52
บทที่ 6 สรุปและข้อเสนอเชิงนโยบาย............................................................................................56
รายการอ้างอิง...............................................................................................................................62
โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า vi
สารบัญตาราง
หน้า
ตารางที่ 1.1 ความสัมพันธ์กิจกรรม ข้อมูล และวัตถุประสงค์.................................................................7
ตารางที่ 3.1 ต้นทุนค่าแรงของเภสัชกรสมบุญ ....................................................................................36
ตารางที่ 3.2 ต้นทุนค่าตอบแทนของเภสัชกร กระจายเข้ากิจกรรม.......................................................36
ตารางที่ 3.3 ต้นทุนค่าไฟฟ้า..............................................................................................................36
ตารางที่ 3.4 ต้นทุนค่าลงทุน..............................................................................................................37
ตารางที่ 3.5 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม.................................................................................................39
ตารางที่ 3.6 ค่าแรงของเภสัชกรจบใหม่และเข้าปฏิบัติงานในโรงพยาบาลรัฐ........................................40
ตารางที่ 3.7 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม กรณีใช้ค่าแรงเภสัชกรจบใหม่และเข้าปฏิบัติงานในโรงพยาบาลรัฐ
......................................................................................................................................40
ตารางที่ 3.8 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม กรณีทางานนอกเวลาในสถานบริการเอกชน กาหนด 120 บาทต่อ
ชั่วโมง............................................................................................................................41
ตารางที่ 4.1 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพเมื่อเจ็บป่วยของคนไทย พ.ศ.2550.........................................42
ตารางที่ 4.2 จานวนและอัตราผู้ป่วยในต่อประชากรแสนคน ทั้งประเทศ ยกเว้นกรุงเทพมหานคร ด้วยโรค
ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน พ.ศ. 2540-2549.............................................................43
ตารางที่ 4.3 ความชุกของความดันโลหิตสูงและเบาหวานในคนไทย จาแนกตามเพศและกลุ่มอายุ .......44
ตารางที่ 4.4 จานวนผู้มารับบริการเฉลี่ยต่อวันในกลุ่มร้านยาตัวอย่าง ..................................................48
ตารางที่ 6.1 ค่าใช้จ่ายต่อผู้ป่วยและต่อโรงพยาบาล กรณีเบาหวาน หน่วย : บาท...............................60
ตารางที่ 6.2 ค่าใช้จ่ายต่อผู้ป่วยและต่อโรงพยาบาล กรณีความดันโลหิตสูง หน่วย : บาท...................61
สารบัญภาพ
หน้า
ภาพที่ 1.1 กรอบความคิดของการศึกษา..............................................................................................5
ภาพที่ 2.1 การร่วมให้บริการของร้านยาในการให้บริการจ่ายยาต่อเนื่องตามใบสั่งแพทย์ .....................17
ภาพที่ 4.1 ประสิทธิผลของระบบการควบคุมป้องกันโรคเบาหวาน พ.ศ. 2547 และ 2552* ..................45
ภาพที่ 4.2 ประสิทธิผลของระบบการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูง พ.ศ. 2547 และ 2552*.......46
ภาพที่ 4.3 การกระจายของจานวนร้านยาคุณภาพและร้านยาที่มีเภสัชกรเป็นเจ้าของ..........................47
ภาพที่ 5.1 ภาพอนาคตของร้านยาในระบบบริการปฐมภูมิ..................................................................55
ภาพที่ 6.1 กิจกรรมหรือสิทธิประโยชน์ที่ร้านยาควรมีบทบาท .............................................................58
โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 1
บทที่ 1 บทนา
1. หลักการและเหตุผล
ร้านยาเป็นสถานบริการสุขภาพที่สาคัญในระบบบริการสุขภาพ ทั้งนี้เนื่องจากร้านยาตั้งอยู่
ใกล้ชิดและกระจายตัวในพื้นที่ต่างๆ โดยเฉพาะในเขตพื้นที่ชนบทที่ประชาชนไม่สามารถเข้าถึง
สถานพยาบาลอื่นๆได้ นอกจากนี้ร้านยายังเป็นสถานที่ปฏิบัติการด้านวิชาชีพที่สาคัญของเภสัชกรหรือ
เภสัชกรชุมชน โดยร้านยาเป็นสถานบริการสุขภาพในระดับปฐมภูมิ ที่มีความสาคัญต่อประชาชนและเป็น
สถานพยาบาลอันดับแรกที่ประชาชนนึกถึงเมื่อมีอาการเจ็บป่วยเล็กน้อย ทั้งนี้เนื่องจากความสะดวกใน
การใช้บริการ ไม่ต้องเสียเวลาในการรอรับบริการ มีค่าใช้จ่ายจากการใช้บริการที่ต่ากว่าเมื่อเทียบกับ
สถานพยาบาลอื่นๆ สาหรับประเทศไทย จากข้อมูลผลการสารวจที่เกี่ยวกับอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ.
2549 พบว่าประชาชนจะนิยมซื้อยากินเองจากร้านยาร้อยละ 25
ประเทศไทยได้ดาเนินโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าครอบคลุมทั่วทั้งประเทศ ซึ่งเป็น
นโยบายสาคัญที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบการให้บริการสาธารณสุขของประเทศ เกิดการ
ปรับเปลี่ยนแนวคิดจากการมุ่งเน้นการซ่อมสุขภาพหรือการรักษาพยาบาลไปสู่การส่งเสริมสุขภาพและ
การป้องกันการเจ็บป่วย สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ซึ่งเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบ
บริหารโครงการ ดาเนินการจัดหาและซื้อบริการสาธารณสุขให้กับประชาชนที่มีสิทธิจากสถานพยาบาล
ของรัฐและของเอกชนบางแห่ง ในการนี้ สปสช.ได้จัดทาข้อบังคับสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ว่าด้วย หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ พ.ศ.
2548 ซึ่งได้เปิดโอกาสให้สถานบริการที่มีบริการไม่ครบเกณฑ์สามารถเข้าร่วมในการให้บริการใน
แบบจาลอง (รูปแบบโมเดล) ‚หน่วยบริการร่วมให้บริการ‛ ซึ่งหมายถึงหน่วยบริการที่จัดบริการ
สาธารณสุขไม่ครบเกณฑ์ระดับปฐมภูมิและได้ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการร่วมให้บริการสาธารณสุข
เฉพาะด้านใดด้านหนึ่ง โดยมีข้อตกลงเป็นหนังสือกับหน่วยบริการประจา ทาให้ภาคเอกชนที่ประกอบ
วิชาชีพต่างๆ สามารถเข้าร่วมโครงการโดยเป็นผู้ให้บริการได้
นอกจากนี้หน่วยบริการภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าได้มีการพัฒนาแบบจาลองบริการ
เพื่อลดความแออัดหรือจานวนผู้ป่วยที่มาใช้บริการที่สถานพยาบาลลง พยายามส่งเสริมการจัดหา
สถานพยาบาลหรือหน่วยบริการสุขภาพใกล้บ้านเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการที่สะดวกมายิ่งขึ้น
และใช้ระบบการส่งต่อผู้ป่วย ปรับเปลี่ยนการบริการผู้ป่วยนอกออกไปสู่ชุมชนด้วยการถ่ายโอนการบริการ
ไปสู่ภาคเอกชนโดยเฉพาะคลินิกเอกชน โรงพยาบาลหลายๆ แห่งในเขตกรุงเทพมหานครได้เพิ่มจานวน
ของคลินิกชุมชนอบอุ่นซึ่งเป็นเครือข่ายของตน เพื่อรับผิดชอบดูแลการรักษาพยาบาลเฉพาะกรณีผู้ป่วย
นอก สาหรับโรงพยาบาลในพื้นที่อื่นๆ ซึ่งการกระจายตัวของคลินิกเอกชนยังไม่มากพอก็มีการปรับ
รูปแบบการให้บริการของหน่วยบริการปฐมภูมิหรือศูนย์สุขภาพชุมชน (Primary Care Unit_PCU) ให้มี
ขีดความสามารถมากขึ้น สามารถดูแลผู้ป่วยได้ระดับหนึ่งก่อนการเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาล ด้วย
โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 2
การยกระดับหน่วยบริการปฐมภูมิเป็นศูนย์แพทย์ชุมชน (Community Medical Unit_CMU) ซึ่งจะมี
แพทย์ประจาคอยให้บริการผู้ป่วย นอกจากด้านการตรวจรักษาด้วยแล้วศูนย์แพทย์ชุมชนก็ยังเพิ่มความ
หลากหลายของรายการยาของศูนย์ให้มากขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับขีดความสามารถของหน่วยบริการที่
เพิ่มขึ้น ส่งผลให้การใช้ยาของผู้ป่วยซึ่งรับบริการจากศูนย์แพทย์ชุมชนที่มีความซับซ้อนมากขึ้น
ร้านยาเป็นสถานบริการสาหรับการดูแลสุขภาพในระบบสาธารณสุขที่มีความสาคัญต่อประชาชน
เพราะร้านยามีการจัดตั้ง กระจายครอบคลุมพื้นที่ต่างๆ มากกว่าหน่วยงานของรัฐและร้านยาเป็นสถาน
บริการทางสาธารณสุขอันดับแรกที่ประชาชนนึกถึงเมื่อมีอาการเจ็บป่วยเล็กน้อย ประกอบกับปัจจุบัน
เภสัชกรที่ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมประจาในร้านยามีจานวนมากขึ้น ทาให้การประกอบวิชาชีพในร้าน
ยามีการปรับเปลี่ยนและพัฒนาบทบาท รูปแบบไปจากเดิมที่มีเพียงการจ่ายยา (Dispensing) ไปสู่การนา
องค์ความรู้ทางด้านการบริบาลเภสัชกรรมมาใช้ในการปฏิบัติงานในร้านยา ช่วยให้เภสัชกรชุมชนขยาย
บทบาทในการดูแลผู้ป่วยได้มากยิ่งขึ้นโดยเฉพาะการใช้ยาของชุมชน ประกอบกับข้อกาหนดของสปสช.
เกี่ยวกับมาตรฐานการบริการ และด้วยข้อจากัดด้านงบประมาณโดยเฉพาะสถานพยาบาลภาครัฐทาให้
การเพิ่มจานวนบุคลากรทางการแพทย์ทาได้ยากขึ้น ดังนั้นการถ่ายโอนภารกิจไปสู่ร้านยาซึ่งเป็นสถาน
บริการสุขภาพภาคเอกชนซึ่งมีศักยภาพในการให้บริการด้านเภสัชกรรมแก่ประชาชนที่มีสิทธิในระบบ
ประกันสุขภาพถ้วนหน้าและเป็นทางเลือกหนึ่งในการแก้ไขปัญหาการเข้าถึงบริการสาธารณสุขของ
ประชาชนในบางพื้นที่ได้ ประกอบกับปัจจุบันมีระบบการรับรองเรื่องคุณภาพของร้านยา โดยสานักงาน
โครงการพัฒนาร้านยา สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข และสภาเภสัชกรรม
ได้ทาการตรวจประเมินและรับรองร้านยาที่มีคุณภาพการบริการที่ดี ‚ร้านยาคุณภาพ‛ ทาให้มีความมั่นใจ
ว่าร้านยาที่จะเข้าสู่ระบบริการสุขภาพถ้วนหน้านั้นๆ มีสถานภาพและคุณภาพการบริการมีมาตรฐาน
เหตุผลสาคัญหรือประโยชน์ที่จะเกิดขึ้น หากมีการจากการนาร้านยาคุณภาพเข้าสู่ระบบหลักประกัน
สุขภาพถ้วนหน้า ด้วยมุมมองของประชาชน ผู้จัดบริการ และภาพรวมของประเทศ ดังนี้
1. ประชาชนและผู้รับบริการ
 ประชาชนมีทางเลือกของการรับบริการสุขภาพหลากหลายทางมากขึ้น
 เพิ่มการเข้าถึงการบริบาลเภสัชกรรมในชุมชนเพื่อการใช้ยาที่เหมาะสม
 มีความสะดวก บริการรวดเร็ว ไม่เสียเวลา
 ไม่ต้องขาดงานหรือลางานเพื่อมารับบริการที่โรงพยาบาล
 ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปสถานพยาบาล
2. สถานพยาบาลและผู้ให้บริการ
 ลดจานวนบริการที่ไม่จาเป็นต้องมาใช้บริการระดับโรงพยาบาล
 บุคลากรสุขภาพมีเวลาสาหรับผู้รับบริการที่จาเป็นอย่างมีคุณภาพมากขึ้น
 สถานพยาบาลลดภาระและค่าบริหารคลังยา
โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 3
3. สปสช. และภาพรวมของประเทศ
 ในภาพรวมสัดส่วนประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพได้มากขึ้น
 พฤติกรรมการใช้ยาของประชาชนถูกต้องและเหมาะสมมากขึ้น
 สนับสนุนการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่แล้วจากภาคส่วนเอกชน
จากการทบทวนวรรณกรรมเบื้องต้น ร่วมกับประสบการณ์จากการศึกษาในพื้นที่นาร่องในจังหวัด
สกลนคร มหาสารคาม นครราชสีมา และสมุทรปราการ พอสรุปได้ว่าปัจจัยสาคัญสู่ความสาเร็จที่
สนับสนุนให้ร้านยาเข้าสู่ระบบ ประกอบด้วย
1. มีแรงผลักหรือความต้องการจากโรงพยาบาล ด้วยข้อจากัดกาลังคน ต้องการลดต้นทุนบริหาร
จัดการ และต้นทุนของผู้มารับบริการ
2. การบริหารจัดการของสานักงานสาธารณสุขจังหวัด ที่ให้ความสาคัญกับการใช้ทรัพยากรจากร้าน
ยาในพื้นที่
3. มีระบบรับรองมาตรฐานร้านยาคุณภาพ
4. มีจานวนและการกระจายของร้านยาคุณภาพที่เหมาะสมกับแบบจาลองในพื้นที่อย่างเพียงพอ
5. ความเป็นไปได้ทางเทคนิคที่จะจัดบริการสุขภาพบางอย่างในร้านยาได้
6. ต้องมีข้อกาหนดหรือตกลงในการดาเนินการคู่สัญญารอง รวมทั้งการกาหนดจานวนผู้ลงทะเบียน
ในพื้นที่
7. มีระบบกลไกการเงิน และการจ่ายที่มีมาตรฐานและเป็นที่ยอมรับ
ร้านยาคุณภาพมีทางเลือกของการสนับสนุนบริการระบบบริการสุขภาพได้หลากหลายตั้งแต่ การ
เป็นที่ปรึกษาแก่ประชาชนในการใช้ยาที่ถูกต้อง การจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ การเติมยาในกลุ่มผู้ป่วย
เฉพาะ การตรวจคัดกรองโรคอย่างง่าย รวมทั้งงานส่งเสริมสุขภาพระดับบุคคลและชุมชนได้ ร้านยาสามา
รถผนวกเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายบริการสุขภาพหรือหน่วยคู่สัญญารองของโรงพยาบาล/หน่วยคู่สัญญา
หลัก/ศูนย์สุขภาพชุมชน ภายใต้การสนับสนุนเหมาจ่ายรายหัวจาก สปสช. ความเป็นได้ของการ
กาหนดให้ร้านยาให้เป็นส่วนหนึ่งของระบบบริการนั้น ต้องวิเคราะห์ส่วนความจาเป็น/อุปสงค์/พฤติกรรม
สุขภาพจากส่วนประชาชน ซึ่งกลุ่มเป้าหมายมีความเป็นไปได้ทั้งทางเลือกผู้ลงทะเบียนทั้งหมด หรือ
เฉพาะกลุ่ม เช่น ผู้ป่วยเรื้อรัง ก็ได้เช่นกัน นอกจากนี้จาเป็นต้องศึกษาบริบทและความเป็นไปได้ของ
ระบบ ทั้งกฎหมายการประกอบวิชาชีพ ระเบียบและหลักการของระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 4
2. คาถามสาคัญของการศึกษา
2.1.บทบาท ทิศทางที่พึงประสงค์ หรือเป้าหมาย สาหรับร้านยาในระบบหลักประกันสุขภาพของประเทศ
ควรเป็นอย่างไร?
2.2.แบบจาลองใดบ้างที่เป็นไปได้ของร้านยาในหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ข้อดีและจุดอ่อนของ
ทางเลือก?
2.3.ข้อเสนอทางเลือกใดที่เหมาะสมที่สุดกับสถานการณ์ปัจจุบัน รวมทั้งเงื่อนไขการดาเนินงานสู่
ความสาเร็จ รวมทั้งการเงินการคลัง การติดตามประเมินผล?
3. วัตถุประสงค์
เพื่อจัดทาข้อเสนอแบบจาลองที่เหมาะสมและเป็นไปได้ของการนาร้านยาคุณภาพเข้าสู่ระบบ
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะ ดังนี้
3.1 เพื่อศึกษากรอบแนวคิดและแบบจาลอง (Model) การจัดบริการร้านยาคุณภาพกับระบบบริการ
สุขภาพ โดยศึกษาจากประสบการณ์ในประเทศและต่างประเทศ
3.2 เพื่อศึกษาข้อมูลจากส่วนผู้รับบริการ ในการประมาณความจาเป็นและอุปสงค์ของการรับบริการร้าน
ยา การเข้าถึงบริการยา รวมทั้งต้นทุนการไปรับบริการ
3.3 เพื่อศึกษาข้อมูลความเป็นไปได้จากผู้จัดบริการ ทั้งจานวนและการกระจายของร้านยา การควบคุม
คุณภาพ และต้นทุนการจัดบริการ
3.4 เพื่อศึกษาความเห็นของวิชาชีพ และผู้เกี่ยวข้องเชิงนโยบาย ประเด็นความเป็นไปได้และความ
สอดคล้องกับเป้าหมายในระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
3.5 เพื่อจัดทาข้อเสนอแบบจาลองที่เหมาะสม ที่ผ่านการวิเคราะห์ความเป็นได้ทั้งทางเทคนิค การเงินการ
คลัง การบริหารจัดการ การกากับติดตามระบบ รวมทั้งสอดคล้องกับนโยบายและทิศทางของการ
พัฒนาระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 5
ภาพที่ 1.1 กรอบความคิดของการศึกษา
4. วีธีการศึกษา
4.1.ทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับบริบทและสถานภาพปัจจุบัน รวมทั้งองค์ความรู้ของการ
จัดบริการ
4.1.1 วิเคราะห์แบบจาลองจากบทเรียนการดาเนินการร้านยาในพื้นที่จังหวัดสกลนคร
มหาสารคาม นครราชสีมา และ สมุทรปราการ
4.1.2 ทบทวนเอกสาร ในบทบาทของเภสัชกรและร้านยาในระบบสุขภาพ ภายใต้กฎหมายที่
เกี่ยวข้อง เช่น พรบ.ยา พรบ.วิชาชีพ พรบ.หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
4.1.3 ศึกษาบทเรียนประสบการณ์การจัดบริการของร้านยาจากกรณีศึกษาต่างประเทศ
4.1.4 ทบทวนเอกสารประเด็นนโยบายของสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ที่เกี่ยวข้องใน
ข้อกาหนดของเภสัชกรและร้านยา ใน CUP, PCU, CMU หรือคลินิกอบอุ่น
4.1.5 ทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่นาเสนอแบบจาลองของการเข้าร่วมบริการสุขภาพถ้วนหน้า
ของคลินิกแพทย์ คลินิกทันตกรรม ห้องตรวจปฏิบัติการเอกชน เป็นต้น
4.2 เก็บข้อมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวข้องกับการประเมินอุปสงค์และอุปทานของการบริการ ประกอบด้วย
บทเรียนจากพื้นที่นาร่อง
 ประเภทหรือบริการจากร้านยา
 การเงินการคลัง
 จุดเด่น ข้อจากัด
 กฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
กิจกรรมบริการเภสัชกรรม
ความจาเป็นและอุป
สงค์ของผู้รับบริการ
ต้นทุนการ
จัดบริการ
 ทบทวนวรรณกรรม
 ประสบการณ์ต่างประเทศ
 ประสบการณ์บริหารจัดการคู่สัญญา
รอง
 บริบทและทิศทางนโยบายหลักประกัน
สุขภาพถ้วนหน้า
อุปทานและการ
กระจายร้านยาคุณภาพ
ทางเลือกแบบจาลอง
ที่มีความเป็นไปได้
แบบจาลองที่เหมาะสมจาก
ความเห็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
Guideline
Management
Financing
Monitoring
IT
โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 6
4.2.1 ความจาเป็น อุปสงค์ และพฤติกรรมการรับบริการร้านยา จากฐานข้อมูลสารวจสวัสดิการ
และอนามัย รวมทั้งการสารวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจ
ร่างกาย
4.2.2 ต้นทุนของการจัดบริการยาและเภสัชกรรมจากรายงานการประเมินผลดาเนินการพื้นที่นา
ร่อง
4.2.3 การกระจายของร้านยาและร้านยาคุณภาพ จากสมาคมเภสัชกรชุมชน และ สานักงาน
คณะกรรมการอาหารและยา
4.3 สัมภาษณ์เชิงลึกเจ้าของร้านยาคุณภาพหรือผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่ กับประสบการณ์การทดลอง
จัดรูปแบบจาลองในร้านยาคุณภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ในประเด็นความเป็นไปได้
ในทางการบริหารจัดการ รูปแบบการจ่าย และประเด็นอื่นๆ ในการนาร้านยาเข้าสู่ระบบหลักประกัน
สุขภาพ
4.4 วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของทางเลือกแบบจาลอง จากข้อมูลทุติยภูมิและองค์ความรู้การศึกษาใน
พื้นที่นาร่องด้วยมุมมอง
4.4.1 เทคนิควิธีการ Technical Feasibility
4.4.2 กลไกการเงินการคลัง Financial Feasibility
4.4.3 ความสอดคล้องกับระบบที่มี System Compatibility
4.4.4 ระเบียบและกฎหมายที่สนับสนุน Legitimate Feasibility
4.4.5 ทางออกหรือทางเลือกอื่นเพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติ เช่น เลือกทา Counseling, Re-Fill
ในกลุ่มโรคเรื้อรัง, การจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ Prescription and Dispense, ดาเนินการใน
บางพื้นที่นาร่อง, กาหนดเป็นนโยบายตามความพร้อมและสมัครใจสาหรับคู่สัญญาหลัก,
ให้เป็นข้อกาหนดมาตรฐานขั้นต่าของ PCU/คลินิกอบอุ่น
4.5 สังเคราะห์และจัดทาข้อเสนอที่เป็นไปได้ (เบื้องต้น) ประมาณ 2-3 ทางเลือก โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิ
ครอบคลุมประเด็น
4.5.1 ประเภทหรือบริการจากร้านยา
4.5.2 การเงินการคลัง
4.5.3 กฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
4.5.4 จุดเด่น ข้อจากัดและผลกระทบที่ไม่พึงประสงค์
4.6 จัดประชุมนาเสนอและระดมสมองจากกลุ่มวิชาชีพเภสัชกรรม (10-15 คน) เพื่อดูความเป็นได้
แบบจาลองต่างๆ ในข้อ 4.5
4.7 จัดประชุมนาเสนอและระดมสมองจากกลุ่มผู้เกี่ยวข้องและภาคส่วนอื่น ครั้งที่ 1 (10-15 คน) เพื่อ
เลือกแบบจาลองที่เหมาะสมจากทางเลือกใน 4.6
โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 7
4.8 เก็บข้อมูลปฐมภูมิเชิงปริมาณ วิเคราะห์ต้นทุนการจัดบริการบริบาลเภสัชกรรม โดยเลือกศึกษาใน
พื้นที่แบบจาลองนาร่องในพื้นที่ที่มีกิจกรรมสอดคล้องกับแบบจาลองที่เลือกไว้ในข้อ 4.7
4.9 จัดประชุมนาเสนอและระดมสมองจากกลุ่มวิชาชีพเภสัชกรรมครั้งที่ 2 (10-15 คน) และกลุ่ม
ผู้เกี่ยวข้องและภาคส่วนอื่นครั้งที่ 2 (10-15 คน) เพื่อสังเคราะห์ข้อเสนอแบบจาลองที่เลือกไว้ในข้อ
4.7 ที่ระบุรายละเอียดของแนวปฏิบัติ (Guideline) การเงินการคลังและการจ่าย (จากข้อ 4.8) การ
บริหารจัดการระบบ และกลไกการติดตามและประเมินผลระบบ ได้แก่ บุคคล/หน่วยงาน/องค์กร/
เครือข่าย ผู้รับผิดชอบ, การจัดทา Patient Profile, ระบบข้อมูลข่าวสาร IT Structure, Information
Flow เป็นต้น
ตารางที่ 1.1 ความสัมพันธ์กิจกรรม ข้อมูล และวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ ข้อ ทบทวน
วรรณกรรม/
เอกสาร
ข้อมูลปฐมภูมิเชิง
คุณภาพ
ข้อมูลปฐมภูมิ
เชิงปริมาณ
ข้อมูลทุติยภูมิ
1. เพื่อศึกษาแนวคิดและ
แบบจาลองการจัดบริการร้าน
ยาคุณภาพ
ทบทวน
วรรณกรรม
 วิเคราะห์แบบจาลองจากพื้นที่
นาร่อง
2. เพื่อศึกษาข้อมูลจากส่วน
ผู้รับบริการ
 อุปสงค์และพฤติกรรมสุขภาพ
จากการสารวจต่างๆ
 วิเคราะห์แบบจาลองจากพื้นที่
นาร่อง
3. เพื่อศึกษาข้อมูลความเป็นไปได้
จากผู้จัดบริการ
ทบทวน
เอกสาร
สัมภาษณ์
เจ้าของร้านยา
คุณภาพพื้นที่นา
ร่อง
ต้นทุนบริการ  วิเคราะห์แบบจาลองจากพื้นที่
นาร่อง
 ข้อมูลจานวนและการกระจาย
ร้านยาคุณภาพ
4. เพื่อศึกษาความเห็นของวิชาชีพ
และผู้เกี่ยวข้องเชิงนโยบาย
จัดประชุมกลุ่ม
วิชาชีพและกลุ่มผู้
มีส่วนได้ส่วนเสีย
5. เพื่อจัดทาข้อเสนอแบบจาลองที่
เหมาะสม
ทบทวน
เอกสาร
จัดประชุมกลุ่มผู้
มีส่วนได้ส่วน
เสีย
 วิเคราะห์แบบจาลองจากพื้นที่
นาร่อง
โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 8
5. ระยะเวลาดาเนินการ 9 เดือน (มกราคม – กันยายน 2552)
6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
มีข้อเสนอการนาร้านยาคุณภาพเข้าสู่ระบบบริการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า มีความเป็นได้ทั้งทาง
วิชาการและสามารถปฏิบัติได้จริง รวมทั้งผ่านกระบวนรับฟังความเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 9
บทที่ 2
ประสบการณ์ร้านยาในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
วัตถุประสงค์และขอบเขตการศึกษา เพื่อประมวลและสังเคราะห์องค์ความรู้เกี่ยวกับการร่วม
ให้บริการของร้านยาในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า รวมถึงบทบาทของร้านยาในระบบสาธารณสุขของ
ต่างประเทศ โดยเน้นการสังเคราะห์เพื่อสรุปบทเรียนจากประสบการณ์การร่วมจัดบริการของร้านยาใน
พื้นที่ต่างๆซึ่งได้แก่
1.ร้านยามหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม 1,2
2.ร้านยาเภสัชกรรมชุมชนโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร3
3.ร้านยาเภสัชสมบุญ จังหวัดนครราชสีมา4
4.ร้านยาเลิศโอสถคลังยา จังหวัดสมุทรปราการ5
แหล่งข้อมูลหลักที่ใช้ในงานสังเคราะห์นี้มาจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ ซึ่งได้แก่รายงานการวิจัยการ
ร่วมให้บริการของร้านยาในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศไทยในพื้นที่ต่างๆ รวมทั้งเอกสาร
ทางวิชาการอื่นๆ เช่น บทความทางวิชาการเกี่ยวกับบทบาทการให้บริการของร้านยาในประเทศต่างๆที่
ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ
ข้อมูลเกี่ยวกับการร่วมให้บริการของร้านยาในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า สามารถถอด
บทเรียนและวิเคราะห์แบบจาลองแยกเป็นประเด็นต่างๆ ได้แก่ 1) รูปแบบการเชื่อมโยงระหว่างร้านยา
และหน่วยบริการภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า และ 2) บทบาทหรือกิจกรรมการให้บริการของ
ร้านยา โดยการวิเคราะห์และสังเคราะห์ จะใช้กรอบแนวคิดสาหรับด้านต่างๆดังนี้
ลักษณะการเชื่อมโยงหรือบทบาทการให้บริการ
การวิเคราะห์เชิงเทคนิค
 เทคนิควิธีการ (Technical feasibility)
 กลไกการเงินการคลัง (Financial feasibility)
 ความสอดคล้องกับระบบ (System compatibility)
 ระเบียบและกฎหมายที่สนับสนุน (Legitimate feasibility)
 ทางออกหรือทางเลือกเพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติ
โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 10
1. รูปแบบการเข้าร่วมของร้านยาในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
รูปแบบการเข้าร่วมให้บริการของร้านยาในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าสามารถเป็นไปได้
หลากหลายรูปแบบ ขึ้นกับปัจจัยและองค์ประกอบต่างๆ เช่น ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ การ
กระจายตัวของร้านยา ความพร้อมและทรัพยากรของหน่วยบริการ รวมถึงความสอดรับระหว่างความ
ต้องการของหน่วยบริการและบทบาทการให้บริการของร้านยา ซึ่งแต่ละรูปแบบของการเข้าร่วมให้บริการ
หรือการเชื่อมโยงของร้านยาในระบบประกันสุขภาพจะมีจุดอ่อนที่แตกต่างกันไป โดยรูปแบบของร้านยา
ในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่เป็นไปได้มีดังนี้
1.1 ร้านยาเอกชนร่วมบริการกับหน่วยบริการ
การเข้าร่วมบริการของร้านยาเอกชนในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยเป็นหน่วยบริการร่วม
ให้บริการของหน่วยบริการประจา ซึ่งร้านยาเอกชนสามารถร่วมให้บริการกับหน่วยบริการในระดับต่างๆ
ดังต่อไปนี้
ร่วมให้บริการกับหน่วยบริการประจาโดยตรง
- ร้านยาเลิศโอสถคลังยาและโรงพยาบาลพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ
- ร้านยามหาวิทยาลัยมหาสารคามและโรงพยาบาลมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม
ร่วมให้บริการในลักษณะของเครือข่ายบริการ
- คลินิกชุมชนอบอุ่น
ร้านยาสมบุญเภสัชกรกับคลินิกชุมชนอบอุ่นมหาชัย จังหวัดนครราชสีมา
- ศูนย์แพทย์ชุมชน (Community medical unit; CMU)
ร้านยาและศูนย์แพทย์ชุมชน ในจังหวัดนครราชสีมาและขอนแก่น
โดยร้านยาจะให้บริการด้านเภสัชกรรมตามข้อตกลงระหว่างหน่วยบริการกับร้านยาเอกชน และ
รับค่าตอบแทนจากหน่วยบริการนั้น ๆ
จุดเด่น
 งบประมาณลงทุนน้อยหรืออาจไม่ต้องลงทุน เนื่องจากเป็นการร่วมให้บริการของร้านยา
เอกชนซึ่งเปิดให้บริการอยู่แล้ว
 เป็นการส่งเสริมการใช้ทรัพยากรด้านสาธารณสุขที่มีอยู่แล้วให้เกิดประโยชน์สูงสุด
จุดอ่อน
 รูปแบบดังกล่าวอาจไม่สามารถเกิดขึ้นได้ หากพื้นที่นั้นไม่มีร้านยาคุณภาพ
 ต้องอาศัยการประสานความร่วมมือระหว่างร้านยาและหน่วยบริการ
โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 11
1.2 ร้านยาของหน่วยบริการ
- ร้านยาเภสัชกรรมชุมชน โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
กรณีที่หน่วยบริการมีความพร้อมทั้งทางด้านงบประมาณและบุคลากร (เภสัชกร) หน่วยบริการ
อาจจัดตั้งร้านยาของหน่วยบริการเอง เพื่อให้บริการกับประชาชนในพื้นที่ให้บริการ ซึ่งรูปแบบดังกล่าวจะ
ช่วยลดปัญหาการกระจายตัวของร้านยากรณีพื้นที่ไม่มีร้านยาคุณภาพหรือมีศักยภาพเพียงพอ
จุดเด่น
 การบริหารจัดการคลังยาสะดวกโดยอาจใช้บริการร่วมกับหน่วยบริการ
 การบริหารจัดการมีความคล่องตัว เช่น การรับ – ส่งต่อผู้ป่วย รวมถึงข้อมูลการรักษา
 ความน่าเชื่อถือของผู้ให้บริการในมุมมองของผู้รับบริการ
 ยาที่ผู้ป่วยได้รับจะเป็นยาเช่นเดียวกับหน่วยบริการ
จุดอ่อน
 ด้านงบประมาณ หน่วยบริการจะต้องจัดหางบประมาณสาหรับการลงทุนเพื่อเปิดดาเนินการ
ร้านยา เช่น ด้านอาคารสถานที่ ค่าวัสดุ อุปกรณ์สาหรับร้านยา
 ด้านบุคลากร หน่วยบริการจะต้องจัดหาเภสัชกรผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการประจาที่ร้านยา ซึ่งอาจ
เป็นเภสัชกรของหน่วยงานบริการเองหรือจัดหาจากภายนอก (จ้างเภสัชกรเพิ่ม) ซึ่งหากเป็น
บุคลากรจากหน่วยบริการเอง อาจส่งผลต่อการปฏิบัติงานประจา ณ หน่วยบริการ แต่หาก
จัดหาจากภายนอกสิ่งที่ต้องคานึงถึง คือ ค่าตอบแทน
ปัจจัยความสาเร็จของการร่วมให้บริการของร้านยาในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
1. แรงผลักดันหรือความต้องการของหน่วยบริการ เช่น ความต้องการพัฒนาคุณภาพบริการ
แต่ประสบปัญหาด้านข้อจากัดของบุคลากร
2. การกาหนดบทบาท หน้าที่ ของร้านที่เข้าร่วมให้บริการอย่างชัดเจนโดยเป็นส่วนหนึ่งของ
ระบบบริการ (การขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการร่วมให้บริการ) ผ่านการจัดทาข้อตกลง
ระหว่างหน่วยบริการและร้านยา
3. การสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สานักงานสาธารณสุขจังหวัด สานักงาน
หลักประกันสุขภาพสาขาในพื้นที่ที่เกี่ยวข้อง
4. ระบบการจ่ายค่าตอบแทนการให้บริการซึ่งเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย
5. การบังคับข้อกาหนดด้านมาตรฐานการให้บริการอย่างเข้มงวด
โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 12
การวิเคราะห์เชิงเทคนิค
ความสอดคล้องกับระบบ (System compatibility)
 สอดคล้องกับระบบบริการ เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่จะใช้บริการที่ร้านยาก่อนการเข้าสู่
ระบบบริการ
 ประชาชนคุ้นเคยกับบริการจุดเดียว ซึ่งเป็นรูปแบบการให้บริการในระบบปัจจุบัน
 ประชาชนอาจต้องเดินทางจากหน่วยบริการเพื่อไปรับบริการที่ร้านยา
เทคนิควิธีการ (Technical feasibility)
 มีระบบประเมินด้านคุณภาพของร้านยา ผ่านโครงการร้านยาคุณภาพหรือร้านยาที่มีเภสัชกร
ประจา ซึ่งรับรองโดยสภาเภสัชกรรม
 ข้อกาหนดของสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเกี่ยวกับองค์ประกอบของหน่วยบริการ
ที่ต้องมีการบริการเภสัชกรรม
 การกระจายตัวของร้านยาในพื้นที่ ซึ่งอาจยังไม่เพียงพอในบางพื้นที่
 สร้างการประสานการร่วมมือระหว่างร้านยาและหน่วยบริการ
กลไกการเงินการคลัง (Financial feasibility)
 ต้องมีการจัดทาข้อตกลงเกี่ยวกับค่าตอบแทนการให้บริการระหว่างร้านยาและหน่วยบริการ
 ขาดต้นแบบหรือการกาหนดค่าตอบแทนที่เหมาะสม
ระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (Legitimate feasibility)
 สอดคล้องกับประกาศของสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและสนับสนุนหลักการ
 การร่วมให้บริการระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน (Public-Private)
ทางออกหรือทางเลือกเพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติ
 กาหนดรูปแบบและแนวทางการจ่ายค่าตอบแทนที่ชัดเจน
 การกาหนดมาตรฐานบริการทางเภสัชกรรม โดยกาหนดเป็นเงื่อนไขการขึ้นทะเบียนร้านยาที่
จะเข้าร่วมให้บริการในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 13
2. บทบาทและกิจกรรมการให้บริการของร้านยาในระบบประกันสุขภาพ
บทบาทหรือหน้าที่ของร้านยาที่เข้าร่วมให้บริการในระบบประกันสุขภาพนั้นมีหลากหลายบทบาท
ที่แตกต่างกันไป โดยขึ้นกับความต้องการของชุมชนและความสอดคล้องของบริการที่ร้านยาสามารถเข้า
ไปร่วมแบ่งเบาภาระงานของหน่วยบริการ รวมทั้งการช่วยพัฒนาและยกระดับคุณภาพของบริการ ซึ่ง
บทบาทของร้านยาในระบบประกันสุขภาพ อาจมีได้ดังนี้
2.1 การจ่ายยาตามอาการทั่วไปที่พบบ่อยในร้านยา (Common ailments)6
บทบาทการให้บริการดูแลและการจ่ายยาตามอาการของผู้ป่วย เป็นบทบาทหลักที่ร้านยาทุกแห่ง
ให้บริการมาตั้งแต่อดีต จัดเป็นบทบาทหน้าที่สาคัญของร้านยาภายใต้การควบคุมดูแลโดยเภสัชกรที่มี
หน้าที่ปฏิบัติการ ร้านยาเป็นสถานบริการสุขภาพด่านหน้าในการให้บริการด้านยาที่ประชาชนสามารถ
เข้าถึงได้อย่างสะดวก เป็นสถานบริการที่สาคัญซึ่งรองรับการดูแลรักษาตนเอง (Self medication) ของ
ประชาชน บทบาทการดูแลและจ่ายยาตามอาการยังรวมถึงการเป็นแหล่งให้คาปรึกษาด้านสุขภาพ
เกี่ยวกับโรคและการใช้ยาแก่ประชาชนในเขตชุมชนที่รับผิดชอบ โดยการให้ข้อมูล คาแนะนาด้านยาที่
ถูกต้องเหมาะสมแก่ประชาชนและผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บป่วยทั่วไป (Common ailments) นอกจากนี้ยัง
รวมถึง การส่งต่อผู้ป่วย (Refer) ไปรับบริการที่โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลระดับที่สูงขึ้น ในกรณีที่
เภสัชกรประเมินอาการหรือสภาวะทางคลินิคของผู้ป่วยแล้วมีความเห็นว่าการรักษาโดยการใช้ยาและการ
แนะนาผู้ป่วยเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพยังไม่เพียงพอ ผู้ป่วยจาเป็นต้องได้รับการวินิจฉัย
จากแพทย์หรือต้องใช้การตรวจร่างกายและทางห้องปฏิบัติการเพิ่มเติมร่วมด้วย
โดยกิจกรรมที่ร้านยาให้บริการสาหรับบทบาทการให้บริการจ่ายยาตามอาการทั่วไปที่พบบ่อยใน
ร้านยา (Common ailments) ประกอบด้วย
1. การจัดทาแฟ้มบันทึกข้อมูลผู้ป่วย (Patient profile)ที่มารับบริการ และระบบข้อมูลการบริการ
2. การให้บริการรักษาอาการเจ็บป่วยกรณีโรคทั่วไปที่พบบ่อยในร้านยา
3. การส่งต่อผู้ป่วย (Refer) กรณีที่เกินจากความสามารถของร้านยา
4. บริการคัดกรองด้านสุขภาพ การค้นหาปัญหาและปัจจัยที่เป็นสาเหตุของโรคที่มีอัตราการ
เสียชีวิตสูง เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิต ทั้งนี้เพื่อช่วยลดโอกาสในการเกิดโรคและช่วย
ส่งต่อผู้ป่วยเพื่อรับการรักษาได้ทันท่วงที
5. การให้ความรู้เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนสร้างสุขภาพที่ดี (Health promotion) และสามารถ
ดูแลรักษาตนเองเบื้องต้นได้ (Self-care and self-medication)
6. การออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเพื่อติดตามการใช้ยาและปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยา เช่น
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (Adverse Drugs Reaction : ADR)
โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 14
การวิเคราะห์เชิงเทคนิค
ความสอดคล้องกับระบบ (System compatibility)
 สอดคล้องกับระบบบริการ ประชาชนส่วนใหญ่จะใช้บริการที่ร้านยาก่อนการเข้าสู่ระบบ
บริการอื่นๆ อยู่แล้ว แต่ประชาชนอาจต้องมีการเดินทางเพื่อรับบริการ ขึ้นอยู่กับที่ตั้งและ
จานวนร้านยาที่เข้ารวมโครงการ
 ผู้ใช้บริการ อาจไม่ใช่ผู้ป่วยที่แท้จริงหรือมีสิทธิระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า ซึ่งต้องมีการ
พิสูจน์ทราบ
 ประชาชนอาจมาใช้บริการมากเกินความจาเป็น (Over utilization)
ระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (Legitimate feasibility)
 กฎหมายอนุญาตให้เภสัชกรสามารถจ่ายยาอันตรายแก่ผู้ป่วยเฉพาะรายได้
ทางออกหรือทางเลือกเพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติ
 การกาหนดรายการยาที่เภสัชกรสามารถจ่ายในร้านยาภายใต้สิทธิประโยชน์ของระบบ
ประกันสุขภาพถ้วนหน้า
 กาหนดกลุ่มโรคทั่วไปที่เภสัชกรสามารถดูแลได้ในร้านยาภายใต้สิทธิประโยชน์ของระบบ
ประกันสุขภาพถ้วนหน้า
 การกาหนดจานวนครั้งของการรับบริการที่ร้านยา หรือ การกาหนดส่วนร่วมจ่าย กรณีการใช้
บริการที่ร้านยา
 การพิสูจน์ทราบว่าเป็นผู้ป่วยจริง เช่น ทาประวัติ ตรวจบัตรประชาชน
2.2 การจ่ายยาและทบทวนใบสั่งแพทย์ (Dispensing and review prescription)7
การจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ในประเทศไทยนั้นส่วนใหญ่เป็นบทบาทของเภสัชกรโรงพยาบาล ซึ่ง
นอกจากการจ่ายยาให้ผู้ป่วยอย่างถูกต้องตรงตามที่แพทย์สั่งจ่ายแล้ว เภสัชกรยังช่วยลดความ
คลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) ที่อาจเกิดขึ้นระหว่างกระบวนการจัดและจ่ายยา รวมถึงการให้
คาแนะนาการใช้ยาที่ถูกต้องให้กับผู้ป่วย การจ่ายยาตามใบสั่งยาของแพทย์ยังรวมถึงการให้บริบาลทาง
เภสัชกรรม (Pharmaceutical care) ได้แก่ การเก็บประวัติการใช้ยา ประเมินใบสั่งยา (Review
prescription) การค้นหาปัญหาที่เกิดเนื่องจากการใช้ยาของผู้ป่วย (Drugs related problem) การ
ตรวจสอบการเกิดปฏิกิริยาระหว่างยา (Drugs interaction) การให้คาแนะนา เกี่ยวกับการใช้ยา
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ยาเทคนิคพิเศษต่างๆ และการติดตามผลการรักษาและการใช้ยาของผู้ป่วย
บทบาทการจ่ายยาและทบทวนใบสั่งยาแพทย์ถือเป็นบทบาทหลักของเภสัชกรชุมชนใน
ต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศแถบตะวันตกและอเมริกาเหนือ สาหรับประเทศไทย เภสัชกรในร้านยา
ทั่วไปมีบทบาทในการจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์เพียงร้อยละ 0-1.8 ของการปฏิบัติหน้าที่ในร้านยา แม้ว่า
ร้านยานั้นจะมีทาเลที่ตั้งอยู่ใกล้กับโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลเพียงใดก็ตาม อย่างไรก็ตามในสภาวะ
โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 15
ที่ผู้มารับบริการจากโรงพยาบาลมีจานวนมาก ประกอบกับภาวะด้านงบประมาณที่ไม่เอื้อต่อการเพิ่ม
อัตรากาลังด้านบุคลากรของโรงพยาบาล หากร้านยาสามารถโอนกิจกรรมบางอย่างมาให้บริการผู้ป่วย
แทนสถานพยาบาล อาทิเช่น การทาหน้าที่บริหารคลังยา (Inventory management) การจ่ายยาตาม
ใบสั่งแพทย์ ทั้งการบริการแก่ผู้ป่วยทั่วไปและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง อาจเป็นแนวทางลดต้นทุนในการให้บริการ
รวมทั้งเพิ่มคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ
โดยกิจกรรมที่ร้านยาให้บริการสาหรับบทบาทการให้บริการจ่ายยาและทบทวนใบสั่งยาของ
แพทย์ (Dispensing and review prescription) มีดังนี้
1. การจัดทาแฟ้มบันทึกข้อมูลผู้ป่วย (Patient profile) ที่มารับบริการและระบบข้อมูลการบริการ
2. การทาหน้าที่บริหารคลังยา (Inventory management) ซึ่งได้แก่ การคัดเลือก จัดซื้อ และ
การจัดการคลังยา
3. การทบทวนใบสั่งแพทย์ (Review prescription) เพื่อลดปัญหาเนื่องจากยา เช่น กรณีการแพ้
ยาซ้าซ้อน
4. การบริการจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ (Dispensing) พร้อมคาแนะนา
5. การให้คาปรึกษา (Counseling) แก่ผู้ป่วยเฉพาะรายเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รวมทั้งการ
เพิ่มความร่วมมือในการใช้ยา (Compliance)
6. การออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเพิ่มติดตามการใช้ยาและค้นหาปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยา
เช่น อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (Adverse Drug Reaction : ADR)
การวิเคราะห์เชิงเทคนิค
ความสอดคล้องกับระบบ (System compatibility)
 แตกต่างจากระบบเดิมที่ผู้ป่วยสามารถรับบริการตรวจและรับยาที่หน่วยบริการโดยตรง
 ประชาชนต้องเดินทางเพื่อรับยาที่ร้านยา ซึ่งอาจไม่ลดต้นทุนและระยะเวลาการรับบริการ
ของผู้ป่วย
 รายการยาบางรายการตามใบสั่งแพทย์อาจไม่มีในร้านยา
 อาจเกิดปัญหาการปลอมแปลงใบสั่งยา
ระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (Legitimate feasibility)
 กฎหมายกาหนดให้เภสัชกรเป็นผู้จ่ายยาตามใบสั่งแพทย์
ทางออกหรือทางเลือกเพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติ
 การมีจานวนร้านยาที่เข้าร่วมให้บริการอย่างพอเพียง
 กาหนดรายการยาเพื่อรับบริการจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ที่ร้านยา หรือมีระบบการตรวจสอบ
ก่อนการอนุญาตให้ผู้ป่วยนาใบสั่งแพทย์ไปรับยาที่ร้านยา
 จัดทาใบสั่งยาที่มีลักษณะเฉพาะสามารถตรวจสอบได้
โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 16
2.3 การจ่ายยาต่อเนื่องตามใบสั่งแพทย์แก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (Refills prescription in chronic
disease)
ผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรังหลายๆ โรค เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะไขมันในเลือดสูงซึ่งต้อง
มีการรักษาด้วยยาอย่างต่อเนื่องและต้องมาพบแพทย์เป็นระยะอย่างสม่าเสมอ ทั้งนี้เพื่อประเมินผลของ
การรักษาว่า ต้องการปรับเปลี่ยนแนวทางการรักษาหรือไม่อย่างไร โดยความถี่ของการมาพบแพทย์นั้น
ขึ้นกับผลการรักษาด้วยยาว่าสามารถควบคุมอาการของโรค หากอาการของโรคนั้นถูกควบคุมได้อย่าง
คงที่ ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะได้รับยารับประทานดังเดิมที่เคยได้รับไปใช่ต่อเนื่องในช่วงระยะเวลาหนึ่ง เช่น 2 –
3 เดือน ซึ่งในช่วงระยะเวลาดังกล่าว ผู้ป่วยจะต้องดูแลตนเองที่บ้านและนัดผู้ป่วยกลับมาประเมิน
ผลการรักษาอีกครั้งเมื่อครบระยะเวลานัด
การรับบริการที่โรงพยาบาลเป็นที่ทราบกันดีว่าในการใช้บริการแต่ละครั้ง ผู้ป่วยต้องเสียเวลา
ค่อนข้างมากในการรอรับบริการ นอกจานี้หลังจากการตรวจจากแพทย์ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังส่วนใหญ่จะ
ได้รับยาชนิดเดิมมารับประทานต่อเนื่อง ทาให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังบางส่วนรู้สึกเบื่อหน่ายต่อการมารับบริการ
ตรวจรักษาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้การควบคุมอาการของโรคของผู้ป่วยกลุ่มนี้ให้ผลไม่เป็นไปตาม
แผนการรักษา ดังนั้นหากมีการจัดระบบบริการเพื่ออานวยความสะดวกและรวดเร็วให้แก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ที่สามารถควบคุมสภาวะทางคลินิกได้ ด้วยการไปรับบริการเติมยา (เดิม) ต่อเนื่องที่ร้านยา ซึ่งมีเภสัชกร
ให้การดูแลเรื่องการใช้ยาและมีการติดตามอาการของโรค จะเป็นระบบที่เอื้อให้การดูแลผู้ป่วยมีความ
ต่อเนื่อง ส่งผลให้ผู้ป่วยมีความร่วมมือในการใช้ยาเพิ่มขึ้น และบรรเทาความแออัดในการรอรับบริการที่
โรงพยาบาลได้มาก รวมถึงช่วยให้ระบบบริการของโรงพยาบาลมีคุณภาพและประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น โดย
ผู้ป่วยจะนาใบสั่งแพทย์เพื่อไปรับบริการเติมยา (Refill) ที่ร้านยาทุกเดือน ติดต่อกันเป็นเวลา 3 – 6 เดือน
ซึ่งในช่วงเวลาดังกล่าวนั้น เภสัชกรร้านยาจะเป็นผู้ดูแลให้คาปรึกษาแนะนาเกี่ยวกับการใช้ยาและการดูแล
สุขภาพอย่างต่อเนื่อง มีการติดตามผลทางคลินิกที่สาคัญของผู้ป่วย อาทิเช่น ค่าระดับน้าตาลในเลือด ค่า
ความดันโลหิต ทุกครั้งที่ผู้ป่วยมารับบริการที่ร้านยา เพื่อประกอบการตัดสินใจในการให้บริการและการส่ง
ผู้ป่วยรับบริการต่อที่โรงพยาบาลในกรณีที่ค่าทางคลินิกที่ติดตามนั้นสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ตามเกณฑ์
การส่งต่อผู้ป่วยซึ่งได้มีการจัดทาไว้ล่วงหน้า ในกรณีนี้เภสัชกรจะเขียนใบส่งต่อผู้ป่วย เพื่อสื่อสารกับ
แพทย์ที่ทาการรักษาด้วยและเมื่อครบกาหนดเวลานัดเภสัชกรร้านยาจะทาการสรุปผลการติดตามดูแล
ผู้ป่วยเพื่อส่งต่อให้กับแพทย์ที่ดูแลผู้ป่วยนั้น
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า

More Related Content

What's hot

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพanira143 anira143
 
การพับกระดาษ
การพับกระดาษการพับกระดาษ
การพับกระดาษnochaya
 
ความปลอดภัยในสถานศึกษา
ความปลอดภัยในสถานศึกษาความปลอดภัยในสถานศึกษา
ความปลอดภัยในสถานศึกษาPornthip Tanamai
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...TupPee Zhouyongfang
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่Apirak Potpipit
 
PowerPoint อบรมสภานักเรียนโรงเรียนสมุทรปราการ
PowerPoint อบรมสภานักเรียนโรงเรียนสมุทรปราการPowerPoint อบรมสภานักเรียนโรงเรียนสมุทรปราการ
PowerPoint อบรมสภานักเรียนโรงเรียนสมุทรปราการwaranyuati
 
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (1)
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (1)เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (1)
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (1)Washirasak Poosit
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์khuwawa2513
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001Thidarat Termphon
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำRung Kru
 
สื่อประเภทเครื่องเสียง
สื่อประเภทเครื่องเสียงสื่อประเภทเครื่องเสียง
สื่อประเภทเครื่องเสียงWorapon Masee
 
แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน
แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน
แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน Jariya Jaiyot
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
 
การพับกระดาษ
การพับกระดาษการพับกระดาษ
การพับกระดาษ
 
ความปลอดภัยในสถานศึกษา
ความปลอดภัยในสถานศึกษาความปลอดภัยในสถานศึกษา
ความปลอดภัยในสถานศึกษา
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
ไวนิลโครงงาน
ไวนิลโครงงานไวนิลโครงงาน
ไวนิลโครงงาน
 
PowerPoint อบรมสภานักเรียนโรงเรียนสมุทรปราการ
PowerPoint อบรมสภานักเรียนโรงเรียนสมุทรปราการPowerPoint อบรมสภานักเรียนโรงเรียนสมุทรปราการ
PowerPoint อบรมสภานักเรียนโรงเรียนสมุทรปราการ
 
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (1)
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (1)เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (1)
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (1)
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
 
สื่อประเภทเครื่องเสียง
สื่อประเภทเครื่องเสียงสื่อประเภทเครื่องเสียง
สื่อประเภทเครื่องเสียง
 
นวัตกรรมคำราชาศัพท์
นวัตกรรมคำราชาศัพท์นวัตกรรมคำราชาศัพท์
นวัตกรรมคำราชาศัพท์
 
แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน
แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน
แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖
 

Viewers also liked

คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างSuradet Sriangkoon
 
โครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยา
โครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยาโครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยา
โครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยาZiwapohn Peecharoensap
 
โครงงานร้านขายยา (System analysis and design)
โครงงานร้านขายยา (System analysis and design)โครงงานร้านขายยา (System analysis and design)
โครงงานร้านขายยา (System analysis and design)Groove SpicyDisc
 
การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย
การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทยการนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย
การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทยUtai Sukviwatsirikul
 
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูลอนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูลUtai Sukviwatsirikul
 
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยาการเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยาZiwapohn Peecharoensap
 
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue 2016
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue  2016ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue  2016
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue 2016some163
 
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทยประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทยLeoBlack1017
 
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพการพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...Utai Sukviwatsirikul
 

Viewers also liked (10)

คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
 
โครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยา
โครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยาโครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยา
โครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยา
 
โครงงานร้านขายยา (System analysis and design)
โครงงานร้านขายยา (System analysis and design)โครงงานร้านขายยา (System analysis and design)
โครงงานร้านขายยา (System analysis and design)
 
การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย
การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทยการนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย
การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย
 
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูลอนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
 
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยาการเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
 
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue 2016
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue  2016ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue  2016
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue 2016
 
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทยประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
 
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพการพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
 
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
 

Similar to รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า

ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...Utai Sukviwatsirikul
 
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง. ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง.  ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง.  ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง. ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...Utai Sukviwatsirikul
 
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdfมาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdfOldcat4
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)สุริยา ชื่นวิเศษ
 
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case StudiesHealth Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case StudiesThira Woratanarat
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์nawaporn khamseanwong
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพThira Woratanarat
 
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพการบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพChuchai Sornchumni
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55sivapong klongpanich
 
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...Borwornsom Leerapan
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยTanawat Sudsuk
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557Utai Sukviwatsirikul
 
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555Utai Sukviwatsirikul
 
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงานเงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงานtepiemsak
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Tang Thowr
 

Similar to รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า (20)

ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
 
551212 moph policy
551212 moph policy551212 moph policy
551212 moph policy
 
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง. ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง.  ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง.  ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง. ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...
 
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdfมาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)
 
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case StudiesHealth Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
 
Thai2009 2
Thai2009 2Thai2009 2
Thai2009 2
 
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพการบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55
 
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
 
Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
 
NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
 
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
 
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงานเงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า

  • 2. โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า ii บทคัดย่อ วัตถุประสงค์ของรายงานนี้เพื่อจัดทาข้อเสนอแบบจาลองที่เหมาะสมและเป็นไปได้ของการนาร้าน ยาคุณภาพเข้าสู่ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยการวิเคราะห์ความเป็นได้ทั้งทางเทคนิค การเงิน การคลัง การบริหารจัดการ การกากับติดตามระบบ รวมทั้งสอดคล้องกับนโยบายและทิศทางของการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า วิธีการศึกษา ใช้การทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ บริบทและสถานภาพปัจจุบัน รวมทั้งองค์ความรู้ของการจัดบริการในพื้นที่นาร่อง เก็บข้อมูลทุติยภูมิที่ เกี่ยวข้องกับการประเมินอุปสงค์และอุปทานของการบริการ วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของทางเลือก แบบจาลอง และจัดประชุมนาเสนอและระดมสมองจากกลุ่มวิชาชีพเภสัชกรรม กลุ่มผู้เกี่ยวข้องและภาค ส่วนอื่น กิจกรรมบริการที่จะได้จากงานเภสัชกรรมที่มีความเป็นไป ตามประสบการณ์การทดลองในพื้นที่ ประกอบด้วย การจ่ายยาตามอาการทั่วไปที่พบบ่อยในร้านยา, การจ่ายยาและทบทวนใบสั่งแพทย์, การ ให้บริการจ่ายยาต่อเนื่องตามใบสั่งแพทย์แก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง, การให้บริการคัดกรองโรค, การเพิ่ม คุณภาพของการดูแลการใช้ยา และการมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ยาและการดูแล สุขภาพ จะทาให้ค่ารักษาพยาบาลในอนาคตลดลง และการให้บริการส่งเสริมสุขภาพ ดังนั้น ประเด็น สาคัญที่ควรสนับสนุนให้ร้านยาเข้ามามีบทบาทจัดกิจกรรมบริการ ได้แก่ การสนับสนุนให้ประชาชนได้รับ บริการเภสัชกรรมที่มีคุณภาพ สนับสนุนงาน ‘NCD Disease Management’ สามารถลดค่าใช้จ่าย รักษาพยาบาลในระยะยาว สนับสนุนหลักการ ‘Public Private Partnership’ โดยไม่ต้องลงทุนใหม่ ข้อเสนอสิทธิประโยชน์ทางเภสัชกรรม เน้นที่การดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโดยเฉพาะ เบาหวานและความดันโลหิตสูง คือ การตรวจคัดกรองในกลุ่มเสี่ยง การเติมยาและติดตามผลสาหรับ ผู้ป่วยที่สามารถควบคุมระดับน้าตาลและความดันได้ และการเพิ่มคุณภาพของการดูแลการใช้ยา และการ มีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ยา ในผู้ป่วยที่มีปัญหาการกินยาและควบคุมโรคได้ไม่ดี โดยประมาณการณ์รายจ่ายเพื่อผู้ป่วยเบาหวานรายละ 182-1,044 บาท หรือเฉลี่ยโรงพยาบาลละ 194,740 – 1,117,080 บาท ทานองเดียวกันจะสามารถประมาณการณ์รายจ่ายเพื่อผู้ป่วยความดันโลหิต สูงรายละ 182-1,098 บาท หรือเฉลี่ยโรงพยาบาลละ 242,242 – 1,461,438 บาท ส่วนขั้นตอนและพื้นที่ ดาเนินการ อาจเริ่มในเขตเมืองที่มีร้านยาคุณภาพรองรับก่อน ประเมินผลแล้วค่อยขยายเต็มพื้นที่ ยังเป็น ผู้ดูแลรับผิดชอบผู้ป่วย และ ประสานงาน สาหรับสิทธิประโยชน์นี้ กรณีการรับยาที่ร้านยา อาจพิจารณา ให้ประชาชนร่วมจ่ายด้วย แต่ต้องไม่มากกว่าค่าใช้จ่ายการเดินทางและการเสียเวลางานที่ลดลง ข้อเสนอเชิงนโยบายสาหรับสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)ได้แก่ การประกาศ ให้ร้านยาที่มีการรับรองคุณภาพบริการให้เข้าเป็นสถานพยาบาลคู่สัญญากับ สปสช. เพื่อรองรับภารกิจ ของการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สาคัญของประเทศ คือเบาหวานและความดันโลหิตสูง นอกจากนี้ สปสช. ควรจัดตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทางานด้านสิทธิประโยชน์เภสัชกรรม ทาหน้าที่เป็นศูนย์
  • 3. โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า iii ประสานงานและสนับสนุนวิชาการ รวมทั้งรับผิดชอบการจัดการ รูปแบบการดาเนินงาน ประเมินผลอย่าง ต่อเนื่อง และการนาเสนอความเห็นของการพัฒนาระบบบริการและสิทธิประโยชน์เภสัชกรรมต่อ สปสช.
  • 4. โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า iv สารบัญเรื่อง หน้า บทที่ 1 บทนา.....................................................................................................................................1 1. หลักการและเหตุผล.....................................................................................................................1 2. คาถามสาคัญของการศึกษา.........................................................................................................4 3. วัตถุประสงค์................................................................................................................................4 4. วีธีการศึกษา ...............................................................................................................................5 5. ระยะเวลาดาเนินการ ...................................................................................................................8 6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ.....................................................................................................................8 บทที่ 2 ประสบการณ์ร้านยาในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า .......................................................9 1. รูปแบบการเข้าร่วมของร้านยาในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า..................................................10 2. บทบาทและกิจกรรมการให้บริการของร้านยาในระบบประกันสุขภาพ..........................................13 3. การจัดบริการของร้านยาในต่างประเทศ .....................................................................................22 4. การพัฒนาร้านยาและความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง........................................................26 5. ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมของร้านยาในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า..............................27 บทที่ 3 ต้นทุนของร้านยา................................................................................................................29 การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง.................................................................................................29 ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม...........................................................................................................29 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ...................................................................................................................31 กรอบแนวคิด ............................................................................................................................32 กรอบแนวคิดการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม ....................................................................33 วิธีการศึกษาต้นทุน ...................................................................................................................34 ผลการศึกษาต้นทุนและอภิปราย....................................................................................................35 1. ต้นทุนต่อหน่วยบริการในมุมมองของร้านยาสมบุญเภสัชกร....................................................35 2. การวิเคราะห์ความไว.............................................................................................................39 บทที่ 4 การวิเคราะห์อุปสงค์และอุปทาน.......................................................................................42 พฤติกรรมสุขภาพในการรับบริการร้านยา ......................................................................................42 สถานการณ์ทางระบาดวิทยา .........................................................................................................43 จานวนและการกระจายตัวของร้านยา.............................................................................................47 ภาระงานปัจจุบันของร้านยา ..........................................................................................................48
  • 5. โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า v บทที่ 5 ข้อเสนอและความเห็นจากการประชุม.............................................................................49 1. การนาเสนอในที่ประชุมกรรมการสภาเภสัชกรรม วันที่8 พฤษภาคม พ.ศ. 2552.....................49 2. การจัดประชุมสนทนากลุ่มวิชาชีพ..........................................................................................50 3. การจัดประชุมสนทนากลุ่มผู้เกี่ยวข้อง ....................................................................................52 บทที่ 6 สรุปและข้อเสนอเชิงนโยบาย............................................................................................56 รายการอ้างอิง...............................................................................................................................62
  • 6. โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า vi สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1.1 ความสัมพันธ์กิจกรรม ข้อมูล และวัตถุประสงค์.................................................................7 ตารางที่ 3.1 ต้นทุนค่าแรงของเภสัชกรสมบุญ ....................................................................................36 ตารางที่ 3.2 ต้นทุนค่าตอบแทนของเภสัชกร กระจายเข้ากิจกรรม.......................................................36 ตารางที่ 3.3 ต้นทุนค่าไฟฟ้า..............................................................................................................36 ตารางที่ 3.4 ต้นทุนค่าลงทุน..............................................................................................................37 ตารางที่ 3.5 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม.................................................................................................39 ตารางที่ 3.6 ค่าแรงของเภสัชกรจบใหม่และเข้าปฏิบัติงานในโรงพยาบาลรัฐ........................................40 ตารางที่ 3.7 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม กรณีใช้ค่าแรงเภสัชกรจบใหม่และเข้าปฏิบัติงานในโรงพยาบาลรัฐ ......................................................................................................................................40 ตารางที่ 3.8 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม กรณีทางานนอกเวลาในสถานบริการเอกชน กาหนด 120 บาทต่อ ชั่วโมง............................................................................................................................41 ตารางที่ 4.1 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพเมื่อเจ็บป่วยของคนไทย พ.ศ.2550.........................................42 ตารางที่ 4.2 จานวนและอัตราผู้ป่วยในต่อประชากรแสนคน ทั้งประเทศ ยกเว้นกรุงเทพมหานคร ด้วยโรค ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน พ.ศ. 2540-2549.............................................................43 ตารางที่ 4.3 ความชุกของความดันโลหิตสูงและเบาหวานในคนไทย จาแนกตามเพศและกลุ่มอายุ .......44 ตารางที่ 4.4 จานวนผู้มารับบริการเฉลี่ยต่อวันในกลุ่มร้านยาตัวอย่าง ..................................................48 ตารางที่ 6.1 ค่าใช้จ่ายต่อผู้ป่วยและต่อโรงพยาบาล กรณีเบาหวาน หน่วย : บาท...............................60 ตารางที่ 6.2 ค่าใช้จ่ายต่อผู้ป่วยและต่อโรงพยาบาล กรณีความดันโลหิตสูง หน่วย : บาท...................61 สารบัญภาพ หน้า ภาพที่ 1.1 กรอบความคิดของการศึกษา..............................................................................................5 ภาพที่ 2.1 การร่วมให้บริการของร้านยาในการให้บริการจ่ายยาต่อเนื่องตามใบสั่งแพทย์ .....................17 ภาพที่ 4.1 ประสิทธิผลของระบบการควบคุมป้องกันโรคเบาหวาน พ.ศ. 2547 และ 2552* ..................45 ภาพที่ 4.2 ประสิทธิผลของระบบการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูง พ.ศ. 2547 และ 2552*.......46 ภาพที่ 4.3 การกระจายของจานวนร้านยาคุณภาพและร้านยาที่มีเภสัชกรเป็นเจ้าของ..........................47 ภาพที่ 5.1 ภาพอนาคตของร้านยาในระบบบริการปฐมภูมิ..................................................................55 ภาพที่ 6.1 กิจกรรมหรือสิทธิประโยชน์ที่ร้านยาควรมีบทบาท .............................................................58
  • 7. โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 1 บทที่ 1 บทนา 1. หลักการและเหตุผล ร้านยาเป็นสถานบริการสุขภาพที่สาคัญในระบบบริการสุขภาพ ทั้งนี้เนื่องจากร้านยาตั้งอยู่ ใกล้ชิดและกระจายตัวในพื้นที่ต่างๆ โดยเฉพาะในเขตพื้นที่ชนบทที่ประชาชนไม่สามารถเข้าถึง สถานพยาบาลอื่นๆได้ นอกจากนี้ร้านยายังเป็นสถานที่ปฏิบัติการด้านวิชาชีพที่สาคัญของเภสัชกรหรือ เภสัชกรชุมชน โดยร้านยาเป็นสถานบริการสุขภาพในระดับปฐมภูมิ ที่มีความสาคัญต่อประชาชนและเป็น สถานพยาบาลอันดับแรกที่ประชาชนนึกถึงเมื่อมีอาการเจ็บป่วยเล็กน้อย ทั้งนี้เนื่องจากความสะดวกใน การใช้บริการ ไม่ต้องเสียเวลาในการรอรับบริการ มีค่าใช้จ่ายจากการใช้บริการที่ต่ากว่าเมื่อเทียบกับ สถานพยาบาลอื่นๆ สาหรับประเทศไทย จากข้อมูลผลการสารวจที่เกี่ยวกับอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2549 พบว่าประชาชนจะนิยมซื้อยากินเองจากร้านยาร้อยละ 25 ประเทศไทยได้ดาเนินโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าครอบคลุมทั่วทั้งประเทศ ซึ่งเป็น นโยบายสาคัญที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบการให้บริการสาธารณสุขของประเทศ เกิดการ ปรับเปลี่ยนแนวคิดจากการมุ่งเน้นการซ่อมสุขภาพหรือการรักษาพยาบาลไปสู่การส่งเสริมสุขภาพและ การป้องกันการเจ็บป่วย สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ซึ่งเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบ บริหารโครงการ ดาเนินการจัดหาและซื้อบริการสาธารณสุขให้กับประชาชนที่มีสิทธิจากสถานพยาบาล ของรัฐและของเอกชนบางแห่ง ในการนี้ สปสช.ได้จัดทาข้อบังคับสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ว่าด้วย หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ พ.ศ. 2548 ซึ่งได้เปิดโอกาสให้สถานบริการที่มีบริการไม่ครบเกณฑ์สามารถเข้าร่วมในการให้บริการใน แบบจาลอง (รูปแบบโมเดล) ‚หน่วยบริการร่วมให้บริการ‛ ซึ่งหมายถึงหน่วยบริการที่จัดบริการ สาธารณสุขไม่ครบเกณฑ์ระดับปฐมภูมิและได้ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการร่วมให้บริการสาธารณสุข เฉพาะด้านใดด้านหนึ่ง โดยมีข้อตกลงเป็นหนังสือกับหน่วยบริการประจา ทาให้ภาคเอกชนที่ประกอบ วิชาชีพต่างๆ สามารถเข้าร่วมโครงการโดยเป็นผู้ให้บริการได้ นอกจากนี้หน่วยบริการภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าได้มีการพัฒนาแบบจาลองบริการ เพื่อลดความแออัดหรือจานวนผู้ป่วยที่มาใช้บริการที่สถานพยาบาลลง พยายามส่งเสริมการจัดหา สถานพยาบาลหรือหน่วยบริการสุขภาพใกล้บ้านเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการที่สะดวกมายิ่งขึ้น และใช้ระบบการส่งต่อผู้ป่วย ปรับเปลี่ยนการบริการผู้ป่วยนอกออกไปสู่ชุมชนด้วยการถ่ายโอนการบริการ ไปสู่ภาคเอกชนโดยเฉพาะคลินิกเอกชน โรงพยาบาลหลายๆ แห่งในเขตกรุงเทพมหานครได้เพิ่มจานวน ของคลินิกชุมชนอบอุ่นซึ่งเป็นเครือข่ายของตน เพื่อรับผิดชอบดูแลการรักษาพยาบาลเฉพาะกรณีผู้ป่วย นอก สาหรับโรงพยาบาลในพื้นที่อื่นๆ ซึ่งการกระจายตัวของคลินิกเอกชนยังไม่มากพอก็มีการปรับ รูปแบบการให้บริการของหน่วยบริการปฐมภูมิหรือศูนย์สุขภาพชุมชน (Primary Care Unit_PCU) ให้มี ขีดความสามารถมากขึ้น สามารถดูแลผู้ป่วยได้ระดับหนึ่งก่อนการเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาล ด้วย
  • 8. โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 2 การยกระดับหน่วยบริการปฐมภูมิเป็นศูนย์แพทย์ชุมชน (Community Medical Unit_CMU) ซึ่งจะมี แพทย์ประจาคอยให้บริการผู้ป่วย นอกจากด้านการตรวจรักษาด้วยแล้วศูนย์แพทย์ชุมชนก็ยังเพิ่มความ หลากหลายของรายการยาของศูนย์ให้มากขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับขีดความสามารถของหน่วยบริการที่ เพิ่มขึ้น ส่งผลให้การใช้ยาของผู้ป่วยซึ่งรับบริการจากศูนย์แพทย์ชุมชนที่มีความซับซ้อนมากขึ้น ร้านยาเป็นสถานบริการสาหรับการดูแลสุขภาพในระบบสาธารณสุขที่มีความสาคัญต่อประชาชน เพราะร้านยามีการจัดตั้ง กระจายครอบคลุมพื้นที่ต่างๆ มากกว่าหน่วยงานของรัฐและร้านยาเป็นสถาน บริการทางสาธารณสุขอันดับแรกที่ประชาชนนึกถึงเมื่อมีอาการเจ็บป่วยเล็กน้อย ประกอบกับปัจจุบัน เภสัชกรที่ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมประจาในร้านยามีจานวนมากขึ้น ทาให้การประกอบวิชาชีพในร้าน ยามีการปรับเปลี่ยนและพัฒนาบทบาท รูปแบบไปจากเดิมที่มีเพียงการจ่ายยา (Dispensing) ไปสู่การนา องค์ความรู้ทางด้านการบริบาลเภสัชกรรมมาใช้ในการปฏิบัติงานในร้านยา ช่วยให้เภสัชกรชุมชนขยาย บทบาทในการดูแลผู้ป่วยได้มากยิ่งขึ้นโดยเฉพาะการใช้ยาของชุมชน ประกอบกับข้อกาหนดของสปสช. เกี่ยวกับมาตรฐานการบริการ และด้วยข้อจากัดด้านงบประมาณโดยเฉพาะสถานพยาบาลภาครัฐทาให้ การเพิ่มจานวนบุคลากรทางการแพทย์ทาได้ยากขึ้น ดังนั้นการถ่ายโอนภารกิจไปสู่ร้านยาซึ่งเป็นสถาน บริการสุขภาพภาคเอกชนซึ่งมีศักยภาพในการให้บริการด้านเภสัชกรรมแก่ประชาชนที่มีสิทธิในระบบ ประกันสุขภาพถ้วนหน้าและเป็นทางเลือกหนึ่งในการแก้ไขปัญหาการเข้าถึงบริการสาธารณสุขของ ประชาชนในบางพื้นที่ได้ ประกอบกับปัจจุบันมีระบบการรับรองเรื่องคุณภาพของร้านยา โดยสานักงาน โครงการพัฒนาร้านยา สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข และสภาเภสัชกรรม ได้ทาการตรวจประเมินและรับรองร้านยาที่มีคุณภาพการบริการที่ดี ‚ร้านยาคุณภาพ‛ ทาให้มีความมั่นใจ ว่าร้านยาที่จะเข้าสู่ระบบริการสุขภาพถ้วนหน้านั้นๆ มีสถานภาพและคุณภาพการบริการมีมาตรฐาน เหตุผลสาคัญหรือประโยชน์ที่จะเกิดขึ้น หากมีการจากการนาร้านยาคุณภาพเข้าสู่ระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า ด้วยมุมมองของประชาชน ผู้จัดบริการ และภาพรวมของประเทศ ดังนี้ 1. ประชาชนและผู้รับบริการ  ประชาชนมีทางเลือกของการรับบริการสุขภาพหลากหลายทางมากขึ้น  เพิ่มการเข้าถึงการบริบาลเภสัชกรรมในชุมชนเพื่อการใช้ยาที่เหมาะสม  มีความสะดวก บริการรวดเร็ว ไม่เสียเวลา  ไม่ต้องขาดงานหรือลางานเพื่อมารับบริการที่โรงพยาบาล  ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปสถานพยาบาล 2. สถานพยาบาลและผู้ให้บริการ  ลดจานวนบริการที่ไม่จาเป็นต้องมาใช้บริการระดับโรงพยาบาล  บุคลากรสุขภาพมีเวลาสาหรับผู้รับบริการที่จาเป็นอย่างมีคุณภาพมากขึ้น  สถานพยาบาลลดภาระและค่าบริหารคลังยา
  • 9. โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 3 3. สปสช. และภาพรวมของประเทศ  ในภาพรวมสัดส่วนประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพได้มากขึ้น  พฤติกรรมการใช้ยาของประชาชนถูกต้องและเหมาะสมมากขึ้น  สนับสนุนการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่แล้วจากภาคส่วนเอกชน จากการทบทวนวรรณกรรมเบื้องต้น ร่วมกับประสบการณ์จากการศึกษาในพื้นที่นาร่องในจังหวัด สกลนคร มหาสารคาม นครราชสีมา และสมุทรปราการ พอสรุปได้ว่าปัจจัยสาคัญสู่ความสาเร็จที่ สนับสนุนให้ร้านยาเข้าสู่ระบบ ประกอบด้วย 1. มีแรงผลักหรือความต้องการจากโรงพยาบาล ด้วยข้อจากัดกาลังคน ต้องการลดต้นทุนบริหาร จัดการ และต้นทุนของผู้มารับบริการ 2. การบริหารจัดการของสานักงานสาธารณสุขจังหวัด ที่ให้ความสาคัญกับการใช้ทรัพยากรจากร้าน ยาในพื้นที่ 3. มีระบบรับรองมาตรฐานร้านยาคุณภาพ 4. มีจานวนและการกระจายของร้านยาคุณภาพที่เหมาะสมกับแบบจาลองในพื้นที่อย่างเพียงพอ 5. ความเป็นไปได้ทางเทคนิคที่จะจัดบริการสุขภาพบางอย่างในร้านยาได้ 6. ต้องมีข้อกาหนดหรือตกลงในการดาเนินการคู่สัญญารอง รวมทั้งการกาหนดจานวนผู้ลงทะเบียน ในพื้นที่ 7. มีระบบกลไกการเงิน และการจ่ายที่มีมาตรฐานและเป็นที่ยอมรับ ร้านยาคุณภาพมีทางเลือกของการสนับสนุนบริการระบบบริการสุขภาพได้หลากหลายตั้งแต่ การ เป็นที่ปรึกษาแก่ประชาชนในการใช้ยาที่ถูกต้อง การจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ การเติมยาในกลุ่มผู้ป่วย เฉพาะ การตรวจคัดกรองโรคอย่างง่าย รวมทั้งงานส่งเสริมสุขภาพระดับบุคคลและชุมชนได้ ร้านยาสามา รถผนวกเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายบริการสุขภาพหรือหน่วยคู่สัญญารองของโรงพยาบาล/หน่วยคู่สัญญา หลัก/ศูนย์สุขภาพชุมชน ภายใต้การสนับสนุนเหมาจ่ายรายหัวจาก สปสช. ความเป็นได้ของการ กาหนดให้ร้านยาให้เป็นส่วนหนึ่งของระบบบริการนั้น ต้องวิเคราะห์ส่วนความจาเป็น/อุปสงค์/พฤติกรรม สุขภาพจากส่วนประชาชน ซึ่งกลุ่มเป้าหมายมีความเป็นไปได้ทั้งทางเลือกผู้ลงทะเบียนทั้งหมด หรือ เฉพาะกลุ่ม เช่น ผู้ป่วยเรื้อรัง ก็ได้เช่นกัน นอกจากนี้จาเป็นต้องศึกษาบริบทและความเป็นไปได้ของ ระบบ ทั้งกฎหมายการประกอบวิชาชีพ ระเบียบและหลักการของระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
  • 10. โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 4 2. คาถามสาคัญของการศึกษา 2.1.บทบาท ทิศทางที่พึงประสงค์ หรือเป้าหมาย สาหรับร้านยาในระบบหลักประกันสุขภาพของประเทศ ควรเป็นอย่างไร? 2.2.แบบจาลองใดบ้างที่เป็นไปได้ของร้านยาในหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ข้อดีและจุดอ่อนของ ทางเลือก? 2.3.ข้อเสนอทางเลือกใดที่เหมาะสมที่สุดกับสถานการณ์ปัจจุบัน รวมทั้งเงื่อนไขการดาเนินงานสู่ ความสาเร็จ รวมทั้งการเงินการคลัง การติดตามประเมินผล? 3. วัตถุประสงค์ เพื่อจัดทาข้อเสนอแบบจาลองที่เหมาะสมและเป็นไปได้ของการนาร้านยาคุณภาพเข้าสู่ระบบ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะ ดังนี้ 3.1 เพื่อศึกษากรอบแนวคิดและแบบจาลอง (Model) การจัดบริการร้านยาคุณภาพกับระบบบริการ สุขภาพ โดยศึกษาจากประสบการณ์ในประเทศและต่างประเทศ 3.2 เพื่อศึกษาข้อมูลจากส่วนผู้รับบริการ ในการประมาณความจาเป็นและอุปสงค์ของการรับบริการร้าน ยา การเข้าถึงบริการยา รวมทั้งต้นทุนการไปรับบริการ 3.3 เพื่อศึกษาข้อมูลความเป็นไปได้จากผู้จัดบริการ ทั้งจานวนและการกระจายของร้านยา การควบคุม คุณภาพ และต้นทุนการจัดบริการ 3.4 เพื่อศึกษาความเห็นของวิชาชีพ และผู้เกี่ยวข้องเชิงนโยบาย ประเด็นความเป็นไปได้และความ สอดคล้องกับเป้าหมายในระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 3.5 เพื่อจัดทาข้อเสนอแบบจาลองที่เหมาะสม ที่ผ่านการวิเคราะห์ความเป็นได้ทั้งทางเทคนิค การเงินการ คลัง การบริหารจัดการ การกากับติดตามระบบ รวมทั้งสอดคล้องกับนโยบายและทิศทางของการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
  • 11. โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 5 ภาพที่ 1.1 กรอบความคิดของการศึกษา 4. วีธีการศึกษา 4.1.ทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับบริบทและสถานภาพปัจจุบัน รวมทั้งองค์ความรู้ของการ จัดบริการ 4.1.1 วิเคราะห์แบบจาลองจากบทเรียนการดาเนินการร้านยาในพื้นที่จังหวัดสกลนคร มหาสารคาม นครราชสีมา และ สมุทรปราการ 4.1.2 ทบทวนเอกสาร ในบทบาทของเภสัชกรและร้านยาในระบบสุขภาพ ภายใต้กฎหมายที่ เกี่ยวข้อง เช่น พรบ.ยา พรบ.วิชาชีพ พรบ.หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 4.1.3 ศึกษาบทเรียนประสบการณ์การจัดบริการของร้านยาจากกรณีศึกษาต่างประเทศ 4.1.4 ทบทวนเอกสารประเด็นนโยบายของสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ที่เกี่ยวข้องใน ข้อกาหนดของเภสัชกรและร้านยา ใน CUP, PCU, CMU หรือคลินิกอบอุ่น 4.1.5 ทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่นาเสนอแบบจาลองของการเข้าร่วมบริการสุขภาพถ้วนหน้า ของคลินิกแพทย์ คลินิกทันตกรรม ห้องตรวจปฏิบัติการเอกชน เป็นต้น 4.2 เก็บข้อมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวข้องกับการประเมินอุปสงค์และอุปทานของการบริการ ประกอบด้วย บทเรียนจากพื้นที่นาร่อง  ประเภทหรือบริการจากร้านยา  การเงินการคลัง  จุดเด่น ข้อจากัด  กฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวข้อง กิจกรรมบริการเภสัชกรรม ความจาเป็นและอุป สงค์ของผู้รับบริการ ต้นทุนการ จัดบริการ  ทบทวนวรรณกรรม  ประสบการณ์ต่างประเทศ  ประสบการณ์บริหารจัดการคู่สัญญา รอง  บริบทและทิศทางนโยบายหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า อุปทานและการ กระจายร้านยาคุณภาพ ทางเลือกแบบจาลอง ที่มีความเป็นไปได้ แบบจาลองที่เหมาะสมจาก ความเห็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Guideline Management Financing Monitoring IT
  • 12. โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 6 4.2.1 ความจาเป็น อุปสงค์ และพฤติกรรมการรับบริการร้านยา จากฐานข้อมูลสารวจสวัสดิการ และอนามัย รวมทั้งการสารวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจ ร่างกาย 4.2.2 ต้นทุนของการจัดบริการยาและเภสัชกรรมจากรายงานการประเมินผลดาเนินการพื้นที่นา ร่อง 4.2.3 การกระจายของร้านยาและร้านยาคุณภาพ จากสมาคมเภสัชกรชุมชน และ สานักงาน คณะกรรมการอาหารและยา 4.3 สัมภาษณ์เชิงลึกเจ้าของร้านยาคุณภาพหรือผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่ กับประสบการณ์การทดลอง จัดรูปแบบจาลองในร้านยาคุณภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ในประเด็นความเป็นไปได้ ในทางการบริหารจัดการ รูปแบบการจ่าย และประเด็นอื่นๆ ในการนาร้านยาเข้าสู่ระบบหลักประกัน สุขภาพ 4.4 วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของทางเลือกแบบจาลอง จากข้อมูลทุติยภูมิและองค์ความรู้การศึกษาใน พื้นที่นาร่องด้วยมุมมอง 4.4.1 เทคนิควิธีการ Technical Feasibility 4.4.2 กลไกการเงินการคลัง Financial Feasibility 4.4.3 ความสอดคล้องกับระบบที่มี System Compatibility 4.4.4 ระเบียบและกฎหมายที่สนับสนุน Legitimate Feasibility 4.4.5 ทางออกหรือทางเลือกอื่นเพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติ เช่น เลือกทา Counseling, Re-Fill ในกลุ่มโรคเรื้อรัง, การจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ Prescription and Dispense, ดาเนินการใน บางพื้นที่นาร่อง, กาหนดเป็นนโยบายตามความพร้อมและสมัครใจสาหรับคู่สัญญาหลัก, ให้เป็นข้อกาหนดมาตรฐานขั้นต่าของ PCU/คลินิกอบอุ่น 4.5 สังเคราะห์และจัดทาข้อเสนอที่เป็นไปได้ (เบื้องต้น) ประมาณ 2-3 ทางเลือก โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิ ครอบคลุมประเด็น 4.5.1 ประเภทหรือบริการจากร้านยา 4.5.2 การเงินการคลัง 4.5.3 กฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวข้อง 4.5.4 จุดเด่น ข้อจากัดและผลกระทบที่ไม่พึงประสงค์ 4.6 จัดประชุมนาเสนอและระดมสมองจากกลุ่มวิชาชีพเภสัชกรรม (10-15 คน) เพื่อดูความเป็นได้ แบบจาลองต่างๆ ในข้อ 4.5 4.7 จัดประชุมนาเสนอและระดมสมองจากกลุ่มผู้เกี่ยวข้องและภาคส่วนอื่น ครั้งที่ 1 (10-15 คน) เพื่อ เลือกแบบจาลองที่เหมาะสมจากทางเลือกใน 4.6
  • 13. โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 7 4.8 เก็บข้อมูลปฐมภูมิเชิงปริมาณ วิเคราะห์ต้นทุนการจัดบริการบริบาลเภสัชกรรม โดยเลือกศึกษาใน พื้นที่แบบจาลองนาร่องในพื้นที่ที่มีกิจกรรมสอดคล้องกับแบบจาลองที่เลือกไว้ในข้อ 4.7 4.9 จัดประชุมนาเสนอและระดมสมองจากกลุ่มวิชาชีพเภสัชกรรมครั้งที่ 2 (10-15 คน) และกลุ่ม ผู้เกี่ยวข้องและภาคส่วนอื่นครั้งที่ 2 (10-15 คน) เพื่อสังเคราะห์ข้อเสนอแบบจาลองที่เลือกไว้ในข้อ 4.7 ที่ระบุรายละเอียดของแนวปฏิบัติ (Guideline) การเงินการคลังและการจ่าย (จากข้อ 4.8) การ บริหารจัดการระบบ และกลไกการติดตามและประเมินผลระบบ ได้แก่ บุคคล/หน่วยงาน/องค์กร/ เครือข่าย ผู้รับผิดชอบ, การจัดทา Patient Profile, ระบบข้อมูลข่าวสาร IT Structure, Information Flow เป็นต้น ตารางที่ 1.1 ความสัมพันธ์กิจกรรม ข้อมูล และวัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ ข้อ ทบทวน วรรณกรรม/ เอกสาร ข้อมูลปฐมภูมิเชิง คุณภาพ ข้อมูลปฐมภูมิ เชิงปริมาณ ข้อมูลทุติยภูมิ 1. เพื่อศึกษาแนวคิดและ แบบจาลองการจัดบริการร้าน ยาคุณภาพ ทบทวน วรรณกรรม  วิเคราะห์แบบจาลองจากพื้นที่ นาร่อง 2. เพื่อศึกษาข้อมูลจากส่วน ผู้รับบริการ  อุปสงค์และพฤติกรรมสุขภาพ จากการสารวจต่างๆ  วิเคราะห์แบบจาลองจากพื้นที่ นาร่อง 3. เพื่อศึกษาข้อมูลความเป็นไปได้ จากผู้จัดบริการ ทบทวน เอกสาร สัมภาษณ์ เจ้าของร้านยา คุณภาพพื้นที่นา ร่อง ต้นทุนบริการ  วิเคราะห์แบบจาลองจากพื้นที่ นาร่อง  ข้อมูลจานวนและการกระจาย ร้านยาคุณภาพ 4. เพื่อศึกษาความเห็นของวิชาชีพ และผู้เกี่ยวข้องเชิงนโยบาย จัดประชุมกลุ่ม วิชาชีพและกลุ่มผู้ มีส่วนได้ส่วนเสีย 5. เพื่อจัดทาข้อเสนอแบบจาลองที่ เหมาะสม ทบทวน เอกสาร จัดประชุมกลุ่มผู้ มีส่วนได้ส่วน เสีย  วิเคราะห์แบบจาลองจากพื้นที่ นาร่อง
  • 14. โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 8 5. ระยะเวลาดาเนินการ 9 เดือน (มกราคม – กันยายน 2552) 6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ มีข้อเสนอการนาร้านยาคุณภาพเข้าสู่ระบบบริการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า มีความเป็นได้ทั้งทาง วิชาการและสามารถปฏิบัติได้จริง รวมทั้งผ่านกระบวนรับฟังความเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
  • 15. โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 9 บทที่ 2 ประสบการณ์ร้านยาในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า วัตถุประสงค์และขอบเขตการศึกษา เพื่อประมวลและสังเคราะห์องค์ความรู้เกี่ยวกับการร่วม ให้บริการของร้านยาในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า รวมถึงบทบาทของร้านยาในระบบสาธารณสุขของ ต่างประเทศ โดยเน้นการสังเคราะห์เพื่อสรุปบทเรียนจากประสบการณ์การร่วมจัดบริการของร้านยาใน พื้นที่ต่างๆซึ่งได้แก่ 1.ร้านยามหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม 1,2 2.ร้านยาเภสัชกรรมชุมชนโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร3 3.ร้านยาเภสัชสมบุญ จังหวัดนครราชสีมา4 4.ร้านยาเลิศโอสถคลังยา จังหวัดสมุทรปราการ5 แหล่งข้อมูลหลักที่ใช้ในงานสังเคราะห์นี้มาจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ ซึ่งได้แก่รายงานการวิจัยการ ร่วมให้บริการของร้านยาในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศไทยในพื้นที่ต่างๆ รวมทั้งเอกสาร ทางวิชาการอื่นๆ เช่น บทความทางวิชาการเกี่ยวกับบทบาทการให้บริการของร้านยาในประเทศต่างๆที่ ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ ข้อมูลเกี่ยวกับการร่วมให้บริการของร้านยาในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า สามารถถอด บทเรียนและวิเคราะห์แบบจาลองแยกเป็นประเด็นต่างๆ ได้แก่ 1) รูปแบบการเชื่อมโยงระหว่างร้านยา และหน่วยบริการภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า และ 2) บทบาทหรือกิจกรรมการให้บริการของ ร้านยา โดยการวิเคราะห์และสังเคราะห์ จะใช้กรอบแนวคิดสาหรับด้านต่างๆดังนี้ ลักษณะการเชื่อมโยงหรือบทบาทการให้บริการ การวิเคราะห์เชิงเทคนิค  เทคนิควิธีการ (Technical feasibility)  กลไกการเงินการคลัง (Financial feasibility)  ความสอดคล้องกับระบบ (System compatibility)  ระเบียบและกฎหมายที่สนับสนุน (Legitimate feasibility)  ทางออกหรือทางเลือกเพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติ
  • 16. โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 10 1. รูปแบบการเข้าร่วมของร้านยาในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า รูปแบบการเข้าร่วมให้บริการของร้านยาในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าสามารถเป็นไปได้ หลากหลายรูปแบบ ขึ้นกับปัจจัยและองค์ประกอบต่างๆ เช่น ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ การ กระจายตัวของร้านยา ความพร้อมและทรัพยากรของหน่วยบริการ รวมถึงความสอดรับระหว่างความ ต้องการของหน่วยบริการและบทบาทการให้บริการของร้านยา ซึ่งแต่ละรูปแบบของการเข้าร่วมให้บริการ หรือการเชื่อมโยงของร้านยาในระบบประกันสุขภาพจะมีจุดอ่อนที่แตกต่างกันไป โดยรูปแบบของร้านยา ในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่เป็นไปได้มีดังนี้ 1.1 ร้านยาเอกชนร่วมบริการกับหน่วยบริการ การเข้าร่วมบริการของร้านยาเอกชนในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยเป็นหน่วยบริการร่วม ให้บริการของหน่วยบริการประจา ซึ่งร้านยาเอกชนสามารถร่วมให้บริการกับหน่วยบริการในระดับต่างๆ ดังต่อไปนี้ ร่วมให้บริการกับหน่วยบริการประจาโดยตรง - ร้านยาเลิศโอสถคลังยาและโรงพยาบาลพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ - ร้านยามหาวิทยาลัยมหาสารคามและโรงพยาบาลมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ร่วมให้บริการในลักษณะของเครือข่ายบริการ - คลินิกชุมชนอบอุ่น ร้านยาสมบุญเภสัชกรกับคลินิกชุมชนอบอุ่นมหาชัย จังหวัดนครราชสีมา - ศูนย์แพทย์ชุมชน (Community medical unit; CMU) ร้านยาและศูนย์แพทย์ชุมชน ในจังหวัดนครราชสีมาและขอนแก่น โดยร้านยาจะให้บริการด้านเภสัชกรรมตามข้อตกลงระหว่างหน่วยบริการกับร้านยาเอกชน และ รับค่าตอบแทนจากหน่วยบริการนั้น ๆ จุดเด่น  งบประมาณลงทุนน้อยหรืออาจไม่ต้องลงทุน เนื่องจากเป็นการร่วมให้บริการของร้านยา เอกชนซึ่งเปิดให้บริการอยู่แล้ว  เป็นการส่งเสริมการใช้ทรัพยากรด้านสาธารณสุขที่มีอยู่แล้วให้เกิดประโยชน์สูงสุด จุดอ่อน  รูปแบบดังกล่าวอาจไม่สามารถเกิดขึ้นได้ หากพื้นที่นั้นไม่มีร้านยาคุณภาพ  ต้องอาศัยการประสานความร่วมมือระหว่างร้านยาและหน่วยบริการ
  • 17. โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 11 1.2 ร้านยาของหน่วยบริการ - ร้านยาเภสัชกรรมชุมชน โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร กรณีที่หน่วยบริการมีความพร้อมทั้งทางด้านงบประมาณและบุคลากร (เภสัชกร) หน่วยบริการ อาจจัดตั้งร้านยาของหน่วยบริการเอง เพื่อให้บริการกับประชาชนในพื้นที่ให้บริการ ซึ่งรูปแบบดังกล่าวจะ ช่วยลดปัญหาการกระจายตัวของร้านยากรณีพื้นที่ไม่มีร้านยาคุณภาพหรือมีศักยภาพเพียงพอ จุดเด่น  การบริหารจัดการคลังยาสะดวกโดยอาจใช้บริการร่วมกับหน่วยบริการ  การบริหารจัดการมีความคล่องตัว เช่น การรับ – ส่งต่อผู้ป่วย รวมถึงข้อมูลการรักษา  ความน่าเชื่อถือของผู้ให้บริการในมุมมองของผู้รับบริการ  ยาที่ผู้ป่วยได้รับจะเป็นยาเช่นเดียวกับหน่วยบริการ จุดอ่อน  ด้านงบประมาณ หน่วยบริการจะต้องจัดหางบประมาณสาหรับการลงทุนเพื่อเปิดดาเนินการ ร้านยา เช่น ด้านอาคารสถานที่ ค่าวัสดุ อุปกรณ์สาหรับร้านยา  ด้านบุคลากร หน่วยบริการจะต้องจัดหาเภสัชกรผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการประจาที่ร้านยา ซึ่งอาจ เป็นเภสัชกรของหน่วยงานบริการเองหรือจัดหาจากภายนอก (จ้างเภสัชกรเพิ่ม) ซึ่งหากเป็น บุคลากรจากหน่วยบริการเอง อาจส่งผลต่อการปฏิบัติงานประจา ณ หน่วยบริการ แต่หาก จัดหาจากภายนอกสิ่งที่ต้องคานึงถึง คือ ค่าตอบแทน ปัจจัยความสาเร็จของการร่วมให้บริการของร้านยาในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า 1. แรงผลักดันหรือความต้องการของหน่วยบริการ เช่น ความต้องการพัฒนาคุณภาพบริการ แต่ประสบปัญหาด้านข้อจากัดของบุคลากร 2. การกาหนดบทบาท หน้าที่ ของร้านที่เข้าร่วมให้บริการอย่างชัดเจนโดยเป็นส่วนหนึ่งของ ระบบบริการ (การขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการร่วมให้บริการ) ผ่านการจัดทาข้อตกลง ระหว่างหน่วยบริการและร้านยา 3. การสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สานักงานสาธารณสุขจังหวัด สานักงาน หลักประกันสุขภาพสาขาในพื้นที่ที่เกี่ยวข้อง 4. ระบบการจ่ายค่าตอบแทนการให้บริการซึ่งเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย 5. การบังคับข้อกาหนดด้านมาตรฐานการให้บริการอย่างเข้มงวด
  • 18. โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 12 การวิเคราะห์เชิงเทคนิค ความสอดคล้องกับระบบ (System compatibility)  สอดคล้องกับระบบบริการ เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่จะใช้บริการที่ร้านยาก่อนการเข้าสู่ ระบบบริการ  ประชาชนคุ้นเคยกับบริการจุดเดียว ซึ่งเป็นรูปแบบการให้บริการในระบบปัจจุบัน  ประชาชนอาจต้องเดินทางจากหน่วยบริการเพื่อไปรับบริการที่ร้านยา เทคนิควิธีการ (Technical feasibility)  มีระบบประเมินด้านคุณภาพของร้านยา ผ่านโครงการร้านยาคุณภาพหรือร้านยาที่มีเภสัชกร ประจา ซึ่งรับรองโดยสภาเภสัชกรรม  ข้อกาหนดของสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเกี่ยวกับองค์ประกอบของหน่วยบริการ ที่ต้องมีการบริการเภสัชกรรม  การกระจายตัวของร้านยาในพื้นที่ ซึ่งอาจยังไม่เพียงพอในบางพื้นที่  สร้างการประสานการร่วมมือระหว่างร้านยาและหน่วยบริการ กลไกการเงินการคลัง (Financial feasibility)  ต้องมีการจัดทาข้อตกลงเกี่ยวกับค่าตอบแทนการให้บริการระหว่างร้านยาและหน่วยบริการ  ขาดต้นแบบหรือการกาหนดค่าตอบแทนที่เหมาะสม ระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (Legitimate feasibility)  สอดคล้องกับประกาศของสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและสนับสนุนหลักการ  การร่วมให้บริการระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน (Public-Private) ทางออกหรือทางเลือกเพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติ  กาหนดรูปแบบและแนวทางการจ่ายค่าตอบแทนที่ชัดเจน  การกาหนดมาตรฐานบริการทางเภสัชกรรม โดยกาหนดเป็นเงื่อนไขการขึ้นทะเบียนร้านยาที่ จะเข้าร่วมให้บริการในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
  • 19. โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 13 2. บทบาทและกิจกรรมการให้บริการของร้านยาในระบบประกันสุขภาพ บทบาทหรือหน้าที่ของร้านยาที่เข้าร่วมให้บริการในระบบประกันสุขภาพนั้นมีหลากหลายบทบาท ที่แตกต่างกันไป โดยขึ้นกับความต้องการของชุมชนและความสอดคล้องของบริการที่ร้านยาสามารถเข้า ไปร่วมแบ่งเบาภาระงานของหน่วยบริการ รวมทั้งการช่วยพัฒนาและยกระดับคุณภาพของบริการ ซึ่ง บทบาทของร้านยาในระบบประกันสุขภาพ อาจมีได้ดังนี้ 2.1 การจ่ายยาตามอาการทั่วไปที่พบบ่อยในร้านยา (Common ailments)6 บทบาทการให้บริการดูแลและการจ่ายยาตามอาการของผู้ป่วย เป็นบทบาทหลักที่ร้านยาทุกแห่ง ให้บริการมาตั้งแต่อดีต จัดเป็นบทบาทหน้าที่สาคัญของร้านยาภายใต้การควบคุมดูแลโดยเภสัชกรที่มี หน้าที่ปฏิบัติการ ร้านยาเป็นสถานบริการสุขภาพด่านหน้าในการให้บริการด้านยาที่ประชาชนสามารถ เข้าถึงได้อย่างสะดวก เป็นสถานบริการที่สาคัญซึ่งรองรับการดูแลรักษาตนเอง (Self medication) ของ ประชาชน บทบาทการดูแลและจ่ายยาตามอาการยังรวมถึงการเป็นแหล่งให้คาปรึกษาด้านสุขภาพ เกี่ยวกับโรคและการใช้ยาแก่ประชาชนในเขตชุมชนที่รับผิดชอบ โดยการให้ข้อมูล คาแนะนาด้านยาที่ ถูกต้องเหมาะสมแก่ประชาชนและผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บป่วยทั่วไป (Common ailments) นอกจากนี้ยัง รวมถึง การส่งต่อผู้ป่วย (Refer) ไปรับบริการที่โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลระดับที่สูงขึ้น ในกรณีที่ เภสัชกรประเมินอาการหรือสภาวะทางคลินิคของผู้ป่วยแล้วมีความเห็นว่าการรักษาโดยการใช้ยาและการ แนะนาผู้ป่วยเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพยังไม่เพียงพอ ผู้ป่วยจาเป็นต้องได้รับการวินิจฉัย จากแพทย์หรือต้องใช้การตรวจร่างกายและทางห้องปฏิบัติการเพิ่มเติมร่วมด้วย โดยกิจกรรมที่ร้านยาให้บริการสาหรับบทบาทการให้บริการจ่ายยาตามอาการทั่วไปที่พบบ่อยใน ร้านยา (Common ailments) ประกอบด้วย 1. การจัดทาแฟ้มบันทึกข้อมูลผู้ป่วย (Patient profile)ที่มารับบริการ และระบบข้อมูลการบริการ 2. การให้บริการรักษาอาการเจ็บป่วยกรณีโรคทั่วไปที่พบบ่อยในร้านยา 3. การส่งต่อผู้ป่วย (Refer) กรณีที่เกินจากความสามารถของร้านยา 4. บริการคัดกรองด้านสุขภาพ การค้นหาปัญหาและปัจจัยที่เป็นสาเหตุของโรคที่มีอัตราการ เสียชีวิตสูง เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิต ทั้งนี้เพื่อช่วยลดโอกาสในการเกิดโรคและช่วย ส่งต่อผู้ป่วยเพื่อรับการรักษาได้ทันท่วงที 5. การให้ความรู้เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนสร้างสุขภาพที่ดี (Health promotion) และสามารถ ดูแลรักษาตนเองเบื้องต้นได้ (Self-care and self-medication) 6. การออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเพื่อติดตามการใช้ยาและปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยา เช่น อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (Adverse Drugs Reaction : ADR)
  • 20. โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 14 การวิเคราะห์เชิงเทคนิค ความสอดคล้องกับระบบ (System compatibility)  สอดคล้องกับระบบบริการ ประชาชนส่วนใหญ่จะใช้บริการที่ร้านยาก่อนการเข้าสู่ระบบ บริการอื่นๆ อยู่แล้ว แต่ประชาชนอาจต้องมีการเดินทางเพื่อรับบริการ ขึ้นอยู่กับที่ตั้งและ จานวนร้านยาที่เข้ารวมโครงการ  ผู้ใช้บริการ อาจไม่ใช่ผู้ป่วยที่แท้จริงหรือมีสิทธิระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า ซึ่งต้องมีการ พิสูจน์ทราบ  ประชาชนอาจมาใช้บริการมากเกินความจาเป็น (Over utilization) ระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (Legitimate feasibility)  กฎหมายอนุญาตให้เภสัชกรสามารถจ่ายยาอันตรายแก่ผู้ป่วยเฉพาะรายได้ ทางออกหรือทางเลือกเพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติ  การกาหนดรายการยาที่เภสัชกรสามารถจ่ายในร้านยาภายใต้สิทธิประโยชน์ของระบบ ประกันสุขภาพถ้วนหน้า  กาหนดกลุ่มโรคทั่วไปที่เภสัชกรสามารถดูแลได้ในร้านยาภายใต้สิทธิประโยชน์ของระบบ ประกันสุขภาพถ้วนหน้า  การกาหนดจานวนครั้งของการรับบริการที่ร้านยา หรือ การกาหนดส่วนร่วมจ่าย กรณีการใช้ บริการที่ร้านยา  การพิสูจน์ทราบว่าเป็นผู้ป่วยจริง เช่น ทาประวัติ ตรวจบัตรประชาชน 2.2 การจ่ายยาและทบทวนใบสั่งแพทย์ (Dispensing and review prescription)7 การจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ในประเทศไทยนั้นส่วนใหญ่เป็นบทบาทของเภสัชกรโรงพยาบาล ซึ่ง นอกจากการจ่ายยาให้ผู้ป่วยอย่างถูกต้องตรงตามที่แพทย์สั่งจ่ายแล้ว เภสัชกรยังช่วยลดความ คลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) ที่อาจเกิดขึ้นระหว่างกระบวนการจัดและจ่ายยา รวมถึงการให้ คาแนะนาการใช้ยาที่ถูกต้องให้กับผู้ป่วย การจ่ายยาตามใบสั่งยาของแพทย์ยังรวมถึงการให้บริบาลทาง เภสัชกรรม (Pharmaceutical care) ได้แก่ การเก็บประวัติการใช้ยา ประเมินใบสั่งยา (Review prescription) การค้นหาปัญหาที่เกิดเนื่องจากการใช้ยาของผู้ป่วย (Drugs related problem) การ ตรวจสอบการเกิดปฏิกิริยาระหว่างยา (Drugs interaction) การให้คาแนะนา เกี่ยวกับการใช้ยา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ยาเทคนิคพิเศษต่างๆ และการติดตามผลการรักษาและการใช้ยาของผู้ป่วย บทบาทการจ่ายยาและทบทวนใบสั่งยาแพทย์ถือเป็นบทบาทหลักของเภสัชกรชุมชนใน ต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศแถบตะวันตกและอเมริกาเหนือ สาหรับประเทศไทย เภสัชกรในร้านยา ทั่วไปมีบทบาทในการจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์เพียงร้อยละ 0-1.8 ของการปฏิบัติหน้าที่ในร้านยา แม้ว่า ร้านยานั้นจะมีทาเลที่ตั้งอยู่ใกล้กับโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลเพียงใดก็ตาม อย่างไรก็ตามในสภาวะ
  • 21. โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 15 ที่ผู้มารับบริการจากโรงพยาบาลมีจานวนมาก ประกอบกับภาวะด้านงบประมาณที่ไม่เอื้อต่อการเพิ่ม อัตรากาลังด้านบุคลากรของโรงพยาบาล หากร้านยาสามารถโอนกิจกรรมบางอย่างมาให้บริการผู้ป่วย แทนสถานพยาบาล อาทิเช่น การทาหน้าที่บริหารคลังยา (Inventory management) การจ่ายยาตาม ใบสั่งแพทย์ ทั้งการบริการแก่ผู้ป่วยทั่วไปและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง อาจเป็นแนวทางลดต้นทุนในการให้บริการ รวมทั้งเพิ่มคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ โดยกิจกรรมที่ร้านยาให้บริการสาหรับบทบาทการให้บริการจ่ายยาและทบทวนใบสั่งยาของ แพทย์ (Dispensing and review prescription) มีดังนี้ 1. การจัดทาแฟ้มบันทึกข้อมูลผู้ป่วย (Patient profile) ที่มารับบริการและระบบข้อมูลการบริการ 2. การทาหน้าที่บริหารคลังยา (Inventory management) ซึ่งได้แก่ การคัดเลือก จัดซื้อ และ การจัดการคลังยา 3. การทบทวนใบสั่งแพทย์ (Review prescription) เพื่อลดปัญหาเนื่องจากยา เช่น กรณีการแพ้ ยาซ้าซ้อน 4. การบริการจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ (Dispensing) พร้อมคาแนะนา 5. การให้คาปรึกษา (Counseling) แก่ผู้ป่วยเฉพาะรายเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รวมทั้งการ เพิ่มความร่วมมือในการใช้ยา (Compliance) 6. การออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเพิ่มติดตามการใช้ยาและค้นหาปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยา เช่น อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (Adverse Drug Reaction : ADR) การวิเคราะห์เชิงเทคนิค ความสอดคล้องกับระบบ (System compatibility)  แตกต่างจากระบบเดิมที่ผู้ป่วยสามารถรับบริการตรวจและรับยาที่หน่วยบริการโดยตรง  ประชาชนต้องเดินทางเพื่อรับยาที่ร้านยา ซึ่งอาจไม่ลดต้นทุนและระยะเวลาการรับบริการ ของผู้ป่วย  รายการยาบางรายการตามใบสั่งแพทย์อาจไม่มีในร้านยา  อาจเกิดปัญหาการปลอมแปลงใบสั่งยา ระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (Legitimate feasibility)  กฎหมายกาหนดให้เภสัชกรเป็นผู้จ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ ทางออกหรือทางเลือกเพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติ  การมีจานวนร้านยาที่เข้าร่วมให้บริการอย่างพอเพียง  กาหนดรายการยาเพื่อรับบริการจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ที่ร้านยา หรือมีระบบการตรวจสอบ ก่อนการอนุญาตให้ผู้ป่วยนาใบสั่งแพทย์ไปรับยาที่ร้านยา  จัดทาใบสั่งยาที่มีลักษณะเฉพาะสามารถตรวจสอบได้
  • 22. โครงการ การจัดทาข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า 16 2.3 การจ่ายยาต่อเนื่องตามใบสั่งแพทย์แก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (Refills prescription in chronic disease) ผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรังหลายๆ โรค เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะไขมันในเลือดสูงซึ่งต้อง มีการรักษาด้วยยาอย่างต่อเนื่องและต้องมาพบแพทย์เป็นระยะอย่างสม่าเสมอ ทั้งนี้เพื่อประเมินผลของ การรักษาว่า ต้องการปรับเปลี่ยนแนวทางการรักษาหรือไม่อย่างไร โดยความถี่ของการมาพบแพทย์นั้น ขึ้นกับผลการรักษาด้วยยาว่าสามารถควบคุมอาการของโรค หากอาการของโรคนั้นถูกควบคุมได้อย่าง คงที่ ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะได้รับยารับประทานดังเดิมที่เคยได้รับไปใช่ต่อเนื่องในช่วงระยะเวลาหนึ่ง เช่น 2 – 3 เดือน ซึ่งในช่วงระยะเวลาดังกล่าว ผู้ป่วยจะต้องดูแลตนเองที่บ้านและนัดผู้ป่วยกลับมาประเมิน ผลการรักษาอีกครั้งเมื่อครบระยะเวลานัด การรับบริการที่โรงพยาบาลเป็นที่ทราบกันดีว่าในการใช้บริการแต่ละครั้ง ผู้ป่วยต้องเสียเวลา ค่อนข้างมากในการรอรับบริการ นอกจานี้หลังจากการตรวจจากแพทย์ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังส่วนใหญ่จะ ได้รับยาชนิดเดิมมารับประทานต่อเนื่อง ทาให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังบางส่วนรู้สึกเบื่อหน่ายต่อการมารับบริการ ตรวจรักษาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้การควบคุมอาการของโรคของผู้ป่วยกลุ่มนี้ให้ผลไม่เป็นไปตาม แผนการรักษา ดังนั้นหากมีการจัดระบบบริการเพื่ออานวยความสะดวกและรวดเร็วให้แก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่สามารถควบคุมสภาวะทางคลินิกได้ ด้วยการไปรับบริการเติมยา (เดิม) ต่อเนื่องที่ร้านยา ซึ่งมีเภสัชกร ให้การดูแลเรื่องการใช้ยาและมีการติดตามอาการของโรค จะเป็นระบบที่เอื้อให้การดูแลผู้ป่วยมีความ ต่อเนื่อง ส่งผลให้ผู้ป่วยมีความร่วมมือในการใช้ยาเพิ่มขึ้น และบรรเทาความแออัดในการรอรับบริการที่ โรงพยาบาลได้มาก รวมถึงช่วยให้ระบบบริการของโรงพยาบาลมีคุณภาพและประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น โดย ผู้ป่วยจะนาใบสั่งแพทย์เพื่อไปรับบริการเติมยา (Refill) ที่ร้านยาทุกเดือน ติดต่อกันเป็นเวลา 3 – 6 เดือน ซึ่งในช่วงเวลาดังกล่าวนั้น เภสัชกรร้านยาจะเป็นผู้ดูแลให้คาปรึกษาแนะนาเกี่ยวกับการใช้ยาและการดูแล สุขภาพอย่างต่อเนื่อง มีการติดตามผลทางคลินิกที่สาคัญของผู้ป่วย อาทิเช่น ค่าระดับน้าตาลในเลือด ค่า ความดันโลหิต ทุกครั้งที่ผู้ป่วยมารับบริการที่ร้านยา เพื่อประกอบการตัดสินใจในการให้บริการและการส่ง ผู้ป่วยรับบริการต่อที่โรงพยาบาลในกรณีที่ค่าทางคลินิกที่ติดตามนั้นสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ตามเกณฑ์ การส่งต่อผู้ป่วยซึ่งได้มีการจัดทาไว้ล่วงหน้า ในกรณีนี้เภสัชกรจะเขียนใบส่งต่อผู้ป่วย เพื่อสื่อสารกับ แพทย์ที่ทาการรักษาด้วยและเมื่อครบกาหนดเวลานัดเภสัชกรร้านยาจะทาการสรุปผลการติดตามดูแล ผู้ป่วยเพื่อส่งต่อให้กับแพทย์ที่ดูแลผู้ป่วยนั้น