SlideShare a Scribd company logo
1 of 90
Download to read offline
ภญ.ดร. ศิริรัตน์ ตันปิ ชาติ
เอกสารนาเสนอ วันที่ 17 กันยายน 2559
แนวโน้มธุรกิจร้านยา
UK สหราชอาณาจักร (Cooper RJ et al,2008)
 Supplementary prescribing
– Supplementary prescribe in according to therapeutic plan
 Pharmacy independent prescribing
– คุณค่าที่เกิดจากการอนุญาตให้เภสัชกรทา supplementary
prescribing (เภสัชกรจ่ายยาเอง-ตกลงร่วมกับแพทย์ผู้ป่วย)
ได้นามาซึ่งระบบใหม่ ในปี พ.ศ. 2549
– เภสัชกรชุมชนได้รับอนุญาตให้สั่งจ่ายยาได้ supplementary
prescribing ยกเว้น ยาควบคุมพิเศษ
ประโยชน์: ประชาชนได้รับการดูแล รักษาที่รวดเร็วขึ้นจาก
โรงพยาบาล
ระบบร้านยาในประเทศอังกฤษ
 กรรมการเงื่อนไขหรือกรอบข้อตกลง (contractual framework) กับ NHS
โดยคณะกรรมการเจรจาต่อรองการบริการทางเภสัชกรรม (Pharmaceutical
Service Negotiating Committee: PSNC)
 กิจกรรม:
• เชิญสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร์ (ส.ส.) ดูกิจกรรมเพื่อเสนอนโยบายหรือ
กฎหมาย
• จัดกิจกรรมมสุขภาพให้กับประชาชน
 แบ่งรูปแบบงานบริการในร้านยา 3 ระดับ
• Essential services (บริการหลัก)
• Advanced services (บริการชั้นสูง)
• Enhanced services (บริการเสริม)
ธีรพล ทิทย์พยอม, วารสารวิชาการสาธารณสุข 2555 ปีที่ 21 ฉบับที่ 6
ระดับการให้บริการของร้านยาคู่สัญญากับ NHS
ธีรพล ทิทย์พยอม, วารสารวิชาการสาธารณสุข 2555 ปีที่ 21 ฉบับที่ 6
Modern Pharmacy Services
 Dispensing / repeat
dispensing and provision of
compliance support
(จัดหา /เติมยา)
 Disposal of unwanted
medicine (ยาเหลือใช้)
 Sign-posting (ส่งต่อ)
 Support of sale care (แนะนา)
 Medicines use review (MUR)
/ Prescription intervention
service
(รายงานส่งกลับแพทย์)
 Appliance use review (AUR)
 Stoma appliance
customization (SAC)
 New medicine service
(NMS) (เน้นโรคเรื้อรัง)
 Supervised administration
(ยาจิตเวช, ยาวัณโรค, Methadone)
 Needle & syringe exchange
(ความรู้, ฉีดวัคซีนไววรัสตับ)
 On demand available of special
drugs (จัดคลังยาพเศษ)
 Stop smoking
 Care home
(แนะนายา ทุก 6 เดือน)
 Minor aliment service
 Medicine assessment &
compliance support
 NHS health check
 Etc.
Advanced services
(บริการชั้นสูง)
Enhanced services
(บริการเสริม)
Essential services
(บริการหลัก)
ประเทศเยอรมัน (Eickhoff C & Schutz M,2006)
พ.ศ. 2546 ประเทศเยอรมันได้เริ่มทดลองระบบ เภสัชกรประจา
ครอบครัว (Family pharmacy)
เภสัชกรประจาครอบครัว บทบาทหน้าที่
การทาประวัติการใช้ยา (Drug profile)
ทบทวนการใช้ยาของผู้ป่วย (Medication review)
ให้คาแนะนาปรึกษา (Counseling)
ทารายงานเรื่องการใช้ยาของผู้ป่วย (Medication report)
ประโยชน์: ผู้ป่วยได้รับการดูแลเรื่องยาอย่างต่อเนื่อง
ประเทศสวีเดน (Westerlund LT & Bjork HT, 2006)
• ร้านยาในสวีเดน เป็น Single government owned chain
• สวีเดนให้ร้านยาเป็น ‘สถานีสุขภาพ’ (Health point)
• ร้านยาต้องรายงาน DRP เข้าสู่ ระบบ The national DRP
database
ประโยชน์:
 ประชาชนมีแหล่งเข้าถึงเพื่อรับบริการตรวจสุขภาพเบื้องต้น
มากขึ้น
 ข้อมูล DRP ถูกรวบรวม และเรียกดูได้
สหรัฐอเมริกา (Steyer TE et al, 2004)
• เปลี่ยนลักษณะการบริการเภสัชกรรมจากเดิมที่มุ่งเน้นเรื่อง
ยา และ ผลิตภัณฑ์ (Product oriented) ไปเป็น การมุ่งเน้นให้
ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางของบริการ (Patient oriented)
• เปลี่ยนรูปแบบการบริการ Pharmaceutical care
• Case management…Disease Management….Medication
Therapy Management (MTM)
• บริการให้วัคซีนป้ องกันไข้หวัดใหญ่แก่ประชากรกลุ่มเสี่ยง
ประโยชน์: ลดการป่วย ลดการเสียชีวิต ลดการใช้ยา
แคนาดา (Jones EJ et al,2005)
• ก่อนจ่ายยา เภสัชกรต้องทา Prospective drug use evaluation
• เภสัชกรชุมชนให้บริการ Disease management สาหรับโรคหืด
โรคหัวใจ และ ภาวะไขมันในเลือดสูง
• Pharmacy Home visit
ประโยชน์ : ประชาชนทั้งที่บ้าน และที่มารับบริการที่ร้าน ได้รับการ
ดูแล ได้รับการจัดการเรื่องยาที่ดีขึ้น
ออสเตรเลีย
(Benrimoj SI & Frommer MS,2004; and Benrimoj SI & Roberts AS,2005)
• Residential medication management review
• Home medication review (HMR)
• Preventive care service
• Chronic disease management
คุณค่าที่เกิดขึ้น :
- ผู้ป่วยทั้งที่สถานพยาบาล และที่บ้านได้รับการดูแลเรื่องยาที่ดีขึ้น
- ประชาชนได้รับบริการสร้างเสริมสุขภาพ
- การทางานเป็นทีม ทาให้ ประสิทธิภาพงานดีขึ้น
ระบบร้านยาประเทศออสเตรเลีย
 ร้านยามีเภสัชกรเป็นเจ้าของ
 ร้านยาสถานที่ตั้ง มีพื้นที่และตั้งอยู่ในชุมชน
 ร้านยารวมตัวกันเป็น แบบ Banner group
 ร้านยาเป็นสมาชิก ของ The Guilds
 The Guilds เป็นตัวแทนต่อรองและพัฒนางานเสนอกับรัฐบาล
 เภสัชกรประจาร้าน มีระบบการขึ้นทะเบียน
 จัดระบบพื้นที่ ตามจานวนประชากร
 สร้างงานบริการของเภสัชกร เพื่อรับค่าตอบแทน
Strategic Direction for Community Pharmacy
ระบบร้านยาประเทศไต้หวัน
 สมาคมเภสัชกรรม ทาหน้าที่การเจรจาต่อรองกับรัฐบาล
 ทางานวิจัยสนับสนุนงาน
 เภสัชกรขึ้นทะเบียนกับสมาคม
 ร้านยาและเภสัชกรต้องมีระบบประกันคุณภาพ
 เชื่อมต่อกับระบบประกันสุขภาพ
 ระบบใบสั่งแพทย์ / ระบบเติมยา
 งานบริการระดับชุมชน เภสัชกรเยี่ยมบ้าน
New Era for Community Pharmacist
1. Pharmaceutical care
ทางานร่วมกับสหสาขาอื่น โดยมีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (Population-based
pharmaceutical care) พัฒนารูปแบบการส่งข้อมูลให้กับผู้ป่วยและทีมการ
รักษา คุ้มค่าและเหมาะกับการรักษา (Cost effectiveness) เพื่อให้เภสัชกรรม
ชุมชนเป็นส่วนหนึ่งของระบบสาธารณสุขของประเทศไทย
2. Evidence-based pharmacy:
การเก็บข้อมูลการปฏิบัติงานของเภสัชกรรมชุมชน อย่างเป็นระบบแบบ
เครือข่าย เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนามาตราฐานการบริการและปฏิบัติงาน
การจัดทาคู่มือและมาตราฐานการปฏิบัติงานให้ได้มาตรฐานเดียวกัน (Good
Pharmacy Practice: GPP) และ (Pharmacy Practice Guideline: PPG)
3. Meeting patients’ needs
แนวคิด patient-center health care เป็นกระบวนการให้คาปรึกษาต่อผู้ป่วย
โดยให้คาแนะนาการปฏิบัติตัว (life style modification) ซึ่งเน้นคาปรึกษาเพื่อ
มุ่งหวังให้ผลการรักษาที่ดี (outcome)
4. Chronic patient care
โรคเรื้อรังที่เป็นปัญหากับระบบสาธารณสุข เช่น เบาหวาน, โรคความดัน
โลหิตสูง, ภาวะไตวาย เป็นต้น ใช้บริบาลทางเภสัชกรรมดูแลอย่าง
ต่อเนื่อง ร่วมกับสหสาขาในชุมชนหรือโรงพยาบาล
5. Self-medication
การให้ผู้ป่วยสามารถดูแลตัวเองโดยการใช้ยาและไม่ใช้ยา โดยเภสัชกร
ชุมชนแสดงบทบาทนี้ต่อประชาชน เป็นการสร้างเสริมสุขภาพ
6. Quality assurance of pharmaceutical care services
การประกันคุณภาพทุกขั้นตอนของการปฏิบัติงาน พร้อมสามารถ
ตรวจสอบและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเน้น 4 ประการต่อการ
ประกันคุณภาพของการปฏิบัติงาน
1) Focus to patients 3) Focus to system and process
3) Focus to measurement 4) Focus to teamwork
7.Clinical pharmacy
เภสัชกรชุมชนมีบทบาทต่อการเก็บข้อมูลกับผู้ป่วย (patient setting)
พัฒนาด้านงานวิจัยหรือมีการเพิ่มพูนความรู้โดยผ่านจากการปฏิบัติงาน
8. Pharmacovigilance
เภสัชกรชุมชนมีบทบาทต่อความปลอดภัยของการใช้ยา
โดยการประเมินการใช้ยา และค้นหาปัญหาจากการใช้ยา (Drug related
problems)
เภสัชกรชุมชนต้องเป็นศูนย์กลางของข้อมูลเกี่ยวกับยา
(ข้อมูลจาก
Developing Pharmacy Practice: A focus on patient care revision 2006 edition;
WHO, FIP)
ระบบประกันสุขภาพ
ภญ.ดร.ศิริรัตน์ ตันปิ ชาติ
Patient Centered Care
9/20/2016
การเปลี่ยนแปลงของสุขภาพชุมชน
 ภาวะคุกคามจากโรคเรื้อรัง
การสูญเสียค่าใช้จ่ายการรักษาพยาบาล
 ระบบการรักษาสุขภาพ
ระบบการรักษามีความซับซ้อน
ขาดการเชื่อมต่อข้อมูลในการรักษาสุขภาพ
 การเข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพ
ขาดความรู้ด้านสิทธิการรักษาสุขภาพ
ขาดการจัดการข้อมูลด้านโรค ยา ของผู้ป่วย และประชาชนทั่วไป
 ด้านพฤติกรรมสุขภาพของ ประชาชน ผู้ป่วย และ สังคม
ขาดความตระหนักรู้ ด้านสุขภาพของผู้ป่วย
ความเชื่อ ด้านสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง
 ปัญหาเชิงสังคม
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ท้องไม่พร้อม
www.themega
คลีนิคชุมชนอบอุ่น
ระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย
ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
[สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)]
ระบบประกันสังคม กองทุนประกันสังคม
[สานักงานประกันสังคม (สปส.)]
สวัสดิการของข้าราชการและรัฐวิสาหกิจและ
บุคลากรของรัฐ [กรมบัญชีกลาง]
ประกันสุขภาพเอกชน
ที่มา: ศูนย์บริหารงานทะเบียน สานักบริหารกองทุน ณ กันยายน 2558 สปสช.
สัดส่วนประชาชนไทยตามสิทธิหลักประกันสุขภาพ
ปีงบประมาณ 2558
ข้อมูลความแตกต่าง 3 ระบบประกัน (ข้อมูล มี.ค. 2558)
ระบบ สวัสดิการข้าราชการ ประกันสังคม บัตรทอง
จานวนผู้มีสิทธิ (ล้านคน)
ทังหมด 65.8 ล้านคน
4.9 (7.4%) 11.1 (16.9%) 48.3 (73.8%)
ค่าใช้จ่าย/คน/ปี (บาท) งบประมาณรัฐ 2
ประมาณ 12,000 กว่าบาท
ต่อหัวต่อปี
2,518 บาท/คน3
อัตราเหมาจ่ายราย
หัวต่อปี
2, 895.09 บาท
อัตราเหมาจ่ายราย
หัวต่อปี
งบประมาณทั้งหมด/ปี
(ล้านบาท)
60,000 27,500 109,718
งบประมาณที่รัฐบาลอุดหนุน 100% 33% 100%
แหล่งที่มาของงบประมาณ รัฐบาล ลูกจ้าง นายจ้าง
ผู้ประกันตน
รัฐบาล
หน่วยงานบริหาร กรมบัญชีกลาง สปส. สปสช.
รูปแบบวิธีการจ่ายเงิน
ผู้ป่วยนอก ตามปริมาณบริการ
และราคาที่เรียกเก็บย้อนหลัง
สาหรับ บริการผู้ป่วยในตามราย
ป่วยในอัตราที่กาหนด (DRG)
เหมาจ่ายรายหัวรวม
สาหรับบริการผู้ป่วยนอก
และใน และจ่ายเพิ่มเป็น
รายกรณี
เหมาจ่ายรายหัวสาหรับ
บริการส่งเสริมป้ องกัน และ
ผู้ป่วยนอก สาหรับบริการ
ผู้ป่วยในจัดสรรงบยอดรวม
ตามน้าหนักสัมพัทธ์ DRG
ที่มา: 1 รายงานประจาปี 2558 สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, 2 กรมบัญชีกลาง, 3 สานักงานประกันสังคม
Company Logo
Company Logo
• ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 ศูนย์
• คลีนิคชุมชนอบอุ่น 132 แห่ง
• โรงพยาบาล
• ร้านยา ขย.1 ประมาณ 4,000 ร้าน
สถานการณ์ร้านยา
ข้อมูลร้านยา พ.ศ. 2550, 2556, 2557
2550 กทม. ภูมิภาค รวม
ขย1 3,765 6,254 10,019
ขย 2 462 3,789 4,251
รวม 4,227 10,043 14,270
2556 2557 2556 2557 2556 2557
ขย 1 4,443 4,794 (+8%) 7,680 10,565 (+38%) 12,123 15,359 (+27%)
ขย 2 382 355 3,442 2,809 3,824 3,164 (-17%)
รวม 4,825 5,149 11,122 13,374 15,947 18,523 (+16%)
จานวนร้านยา กทม. ณ สิงหาคม 2559
ปัจจุบัน 4,950 ร้านยา.................
ประมาณ 5,000 ร้านยา พ.ศ. 2560
ร้านยาเดี่ยว 4,500 ร้าน
ร้านยา Chain 500 ร้าน ( 10% )
อัตราส่วน ร้านต่อประชากร 1: 2,500
1 ก.ค. 2559
ประชากรทั้งประเทศ 65.3 ล้านคน
กทม. 8.0 ล้านคน (ประชากรแฝง 11 ล้าน)
การสารวจสถานะสุขประชาชนในเขต กทม. 2553
• อ.ฉวีวรรณ บุญสุยา และคณะ โดยคณะสาธารณสุข
มหาวิทยาลัยมหิดล
• เก็บข้อมูลระหว่าง กรกฏาคม-กันยายน 2553
• กลุ่มตัวอย่าง 8,028 ครอบครัว
• ประชาชนทั่วไปขนาดครอบครัวเล็ก 16,096คน
• ประชาชนแออัดขนาดครอบครัวเล็ก 17,067คน
Company Logo
Company Logo
ปัจจัยภายนอกต่อธุรกิจร้านยา
 มหาวิทยาลัย
 กาลังพล
 พฤติกรรมผู้บริโภค
 กฎหมาย
 กฎกระทรวง
 พ.ร.บ. ยา
 ภาษี
ระบบสาธารณสุข
สปสช. / สปส.
ระบบโรงพยาบาล
Long term care
เศรษฐกิจ…
กลุ่มทุนนิยม
AEC
การท่องเที่ยว
การพักอาศัยระยะยาว
กฎหมาย
 พ.ร.บ. วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551
(มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 24 สิงหาคม 2551)
 พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดจาก
สินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ.2551 Product Liability Law
(มีผลตั้งแต่วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2552)
 กฎกระทรวง
 พ.ร.บ. ยา พ.ศ. ...........
Good Pharmacy Practice: GPP
In 2011, FIP and WHO adopted an updated version of Good Pharmacy Practice
entitled “”Joint FIP/WHO guidelines on good pharmacy practice: standards for
quality of pharmacy services”
GPP are organised around 4 major roles for pharmacists
1.Role 1: Prepare, obtain, store, secure, distribute, administer, dispense
and dispose of medical products
2.Role 2: Provide effective medication therapy management
3.Role 3: Maintain and improve professional performance
4.Role 4: Contribute to improve effectiveness of the health-care system
and public health
GPP is defined as "the practice of pharmacy that responds to the needs of
the people who use the pharmacists’ services to provide optimal,
evidence-based care. To support this practice it is essential that there be
an established national framework of quality standards and guidelines."
Full reference: Joint FIP/WHO guidelines on good pharmacy practice: standards for quality of pharmacy services.
WHO Technical Report Series, No. 961, 2011. Geneva: World Health Organization, 2011.
1993
สมาพันธ์สากลด้านเภสัชกรรม หรือ FIP (Federal of International Pharmaceutical)
2004 Cambodia 2007 Vietnam
สมาพันธ์สากลด้านเภสัชกรรม หรือ FIP (Federal of International Pharmaceutical)
2014 Thailand
ปัจจัยภายในร้านยา
ด้านการพัฒนางานบริการ
ด้านระบบการจัดการ
ด้านบุคลากร
ด้านการเงิน
ด้านเครือข่าย
ด้านมาตราฐาน
ปัญหาเชิงสังคม
 การใช้ยาผิดวัตถุประสงค์
 การดื้อยา
 จ่ายยาไม่ตรงตามมาตราฐานด้านเภสัชกรรม
 ยานอกระบบ
 ภาพลักษณ์ของร้านยา แหล่งค้ายา
ระบบราคายาของประเทศไทย
Hospital
Clinic
Pharmacy
20-30 %
 จัดระบบช่องการกระจายยาให้ถูกต้อง
 สร้างความเท่าเทียม
ราคาผู้บริโภค พ.ศ. .......
+ VAT
ร้านยา กับ
ระบบประกันสุขภาพ
ภญ.ดร.ศิริรัตน์ ตันปิ ชาติ
สมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย
งานบริการเภสัชกรรมปฐมภูมิ
รวบรวมข้อมูล โดย ผศ.ดร.ภก.มังกร ประพันธ์วัฒนะ
การคัดกรอง
(Disease Screening &
Risk management)
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
(Behavior Modification)
[ Smoking cessation]
การจัดการด้านยา
(Medication Therapy
Management :MTM)
การคุ้มครองผู้บริโภค
(Consumer
Empowerment)
ROLE
บทบาท ‚ร้านยาคุณภาพ‛ ในระบบประกันสุขภาพ
การเติมยา (Refill)
คลีนิคชุมชนอบอุ่น
PCU (โรงพยาบาลชุมชน)
โรงพยาบาล
ใบสั่งยา Refill 3 เดือน เติมยา 2 ครั้ง
MTM services
• Report
• ADR
• Drug interaction
• Drug monitoring
Counseling
รายงานการดูแล
MTM Services
1. Medication therapy review
2. A person medication record
3. A medication action plan
4. Intervention and referral
5. Documentation and follow-up
Reimbursement
 Drug cost + operation cost
 Pharmacist fee
ประโยชน์:
ลดความแออัด
การดูแลโรคพื้นฐาน(Common Disease)
คลีนิคชุมชนอบอุ่น
PCU (โรงพยาบาลชุมชน)
โรงพยาบาล
ดูแลโรคเบื้องต้น
 Assessment
 Counseling
 Dispensing
 MTM services
MTM Services
1. Medication therapy review
2. A person medication record
3. A medication action plan
4. Intervention and referral
5. Documentation and follow-up
Reimbursement
 Drug cost + operation cost
 Dispensing fee
ประโยชน์:
เพิ่มการเข้าถึงการรักษา
การดูแลต่อเนื่องผู้ป่วยเฉพาะราย
(Continuity of Specific Chronic Care )
คลีนิคชุมชนอบอุ่น
PCU (โรงพยาบาลชุมชน)
โรงพยาบาล
ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง:
DM, HTN, COPD, CKD, Stroke
 Assessment
 Counseling
 MTM services
MTM Services
1. Medication therapy review
2. A person medication record
3. A medication action plan
4. Intervention and referral
5. Documentation and follow-up
Reimbursement
 Pharmacist fee (MTM service)
รายงานการดูแล
ประโยชน์: Patient safety
ข้อมูลนาเสนอ
คณะกรรมการคุณภาพมาตรฐาน
งานบริการของร้านยาคุณภาพ
กิจกรรม พื้นที่ จังหวัด ปี พ.ศ.
ระบบการคัดกรองโรคเรื้อรัง
DM, HTN, Obesity, Depression
• กทม.
• ขอนแก่น, มหาสารคาม,ร้อยเอ็ด
• นครราชสีมา
• ตจว. 30 จว.
2553 - ปัจจุบัน
2550 - ปัจจุบัน
2554 - ปัจจุบัน
2557 - ปัจจุบัน
ระบบการทบทวนยาในร้านยา
(Medication Therapy Management: MTM)/
Medication use review
• กทม.
• ขอนแกน / มหาสารคาม / ร้อยเอ็ด
• สุราษฎร์ธานี
• พิษณุโลก
2554 - ปัจจุบัน
2554 - ปัจจุบัน
2555 - ปัจจุบัน
2558 – ปัจจ6บัน
ระบบเยี่ยมบ้าน
(Home Health Care)
• กทม. (Stroke, โรคไต, DM, HTN)
• ภูเก็ต (โรคไต)
• อุบลราชธานี (DM, HTN)
2552 - ปัจจุบัน
2555 - 2557
2555 - 2556
การปรับเปลี่ยน พฤติกรรม
•การเลิกบุหรี่/ลดน้าหนัก
•STI /pre-VCT…
• กทม. ขอนแก่น
• มหาสารคาม , กทม.
2556 - ปัจจุบัน
2554 – 2556
ระบบใบสั่งยา • นครราชสีมา (PCU – ร้านยา)
• ม.หัวเฉียว สมุทรปราการ (PCU – ศูนย์ยา มฉก.)
• นครปฐม ( คชอ.-ร้านยาเภสัชศาลา )
2547 - ปัจจุบัน
2555 – ปัจจุบัน
2557 - ปัจจุบัน
ระบบการเติมยา • สมุทรปราการ
• ภูเก็ต ขอนแก่น สงขลา
2547 - ปัจจุบัน
2557 - ปัจจุบัน
10 ปี ในการพัฒนารูปแบบ
การศึกษาระบบใบสั่ง
อัตราค่าตอบแทนบริการเภสัชกรรม
ค่าจ่ายยา 25 บาท/ใบสั่งยา (1-3 รายการ)
ค่าจ่ายยา 30 บาท/ใบสั่งยา (มากกว่า 3 รายการ)
ค่าบริหารเวชภัณฑ์ ร้อยละ 20 ของต้นทุนยาที่จ่าย
กิจกรรม สมาคมเภสัชกรรมชุมชน กับ สปสช
2552 2553 2554 2555 2556 2557
โครงการเภสัชกรชุมชนเยี่ยมบ้าน กทม.
โครงการคัดกรองโรคเรื้อรัง กทม.
DM, HTN, Obesity
โครงการคัดกรอง
STI /Pre-VCT
โครงการการจัดการด้านยา กทม.
โครงการ
เลิกบุหรี่ กทม.
ผลการดาเนินงาน พ.ศ. 2557
กิจกรรม เขตพื้นที่ จานวนร้านยา
ร่วมโครงการ
จานวนผู้ป่วย
ที่รับบริการ
จานวน
งานบริการ
ความพึงพอใจ
Smoking กทม 30 ร้าน 376 ราย มาก- มากที่สุด
MTM, MUR กทม
ขอนแก่น
19 ร้าน
25 ร้าน
289 ราย
144 ราย
มาก-มากที่สุด
Fill , refill ภูเก็ต
ขอนแก่น
32 ร้าน
10 ร้าน
43 ราย
21 ราย
มาก –มากที่สุด
( ผป +จนท+ผู้บริหาร)
Home health care กทม
ขอนแก่น
19 ร้าน (30 คน)
10 ร้าน (15 คน)
1,424 ราย 3,088 ครั้ง มาก –มากที่สุด
Prescriptions
from PCU
กทม
นครราชสีมา
นครปฐม
1 ร้าน
1 ร้าน
1 ร้าน
1,500 ราย/ ด.
750 ราย/ ด.
400 ราย / ด.
Screening กทม
เขต 12
เขต 7
101 ร้าน
10 ร้าน
23 ร้าน
6,038 ราย คะแนน 9.2 จาก 10
Education กทม
ขอนแก่น
เขต 12(7จว )
101 ร้าน
25 ร้าน
12 ร้าน
16,251
รายงาน
คะแนน 9.2 จาก 10
กรอบแนวคิดการ
ดาเนินงาน
ครอบครัว/กลุ่มวัยรุ่น
ภาคีเครือข่าย
ให้คาปรึกษาข้อมูล
เกี่ยวกับหน่วยงานสนับสนุน
โปรแกรมให้ความรู้
(Sex Education Programs)
การวางแผนการคุมกาเนิด
การประเมิน เฝ้ าระวังโรคติดต่อ
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (STI)
บริการ Pre-VCT
กระจายถุงยางและยาคุมกาเนิด
หน่วยบริการสาธารณสุข,
หน่วยบริการปฐมภูมิ, โรงพยาบาล
การคัดกรองโรคเรื้อรัง
(Screening)
-DM, HTN, Obesity
-ประเมินคัดกรองบุหรี่
เภสัชกร / ร้านยาคุณภาพ
โปรแกรมให้ความรู้ (Education Programs) เฉพาะราย
ความรู้สุขภาพ เรื่อง โรค อาหาร และยา
สมาคมเภสัชกรรมชุมชน (สภช)มหาวิทยาลัย /สสจ/ สปสช
ประชาชนกลุ่มเสี่ยง
โรคติดต่อ
ประชาชนกลุ่มเสี่ยง โรคเรื้อรัง
การติดตาม และ ส่งต่อ (Follow up and Referral)
กลุ่มใช้ยาพิเศษ
ผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรัง
ดูแลการใช้ยาปลอดภัย
(Patient Safety)
การจัดการด้านยา ( MTM)
ติดตามการใช้ยา
• DM, HTN, CKD
• Stroke (Warfarin)
• High alert drug
•Asthma /COPD
ความแออัดใน รพ.
พฤติกรรมเสี่ยงต่อการเป็นโรค
( บุหรี่ อ้วน เพศสัมพันธ์ )
ปัญหาการใช้ยาไม่เหมาะสม
ท้องไม่พร้อม
NCDs
DM, HTN, Stroke
CVD, CKD, CA
ค่ารักษาพยาบาล
ของประเทศเพิ่มขึ้น
ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
โรคอุบัติใหม่
Public Health Problems of
กระบวนการ คัดกรอง โรคเรื้อรังในร้านยาคุณภาพ
การให้บริการคัดกรองโรคเรื้อรังที่ร้านยาคุณภาพ ปี 57
กลุ่มเสี่ยงสูง, สูงมาก
1552 ราย (25%)
กลุ่มเสี่ยงปานกลาง
1406 ราย (23%)
กลุ่มเสี่ยงน้อย
1320 ราย (22%)
กลุ่มไม่เสี่ยง
1824 ราย (30%)
ติดตาม 2 ครั้ง
ส่งต่อหน่วยบริการ รพ.
ประชาชนคัดกรอง 6,102 ราย
ยืนยันเป็นโรค รับการรักษา
169 ราย (11%)
ให้ความรู้ ปรับพฤติกรรม เพื่อลดความเสี่ยง
ดูแล ติดตามต่อเนื่อง ด้านยา ปรับพฤติกรรม
พบว่า...25 % ของกลุ่มที่เสี่ยงสูงมาก..ไม่เข้าสู่หน่วยบริการ...
งานเภสัชกรชุมชนบริการเลิกบุหรี่
Ask
Advise
Assess
Assist
Arrange
5A’s
MedicationTherapy Management : MTM
(การจัดการด้านยา)
1. Medication therapy review (MTR)
2. A medication-related action plan (MAP)
DRPs detection and correction
-Adherence monitoring
-Behavioral modification
-Patient education ; โรค, ยา, self medication
5. A person medication record (PMR)
3. Monitoring and Intervention
4. Documentation and follow-up-Record
กระบวนการทางาน
Patient safety
ลดปัญหาจากการใช้ยา
• drug interaction
• side effect
• increase adherence
Cost avoidance
เภสัชกรชุมชนจัดการด้านยา (MTM) ที่ร้านยาคุณภาพ
1. Medication therapy review (MTR) 2. A medication-related action plan (MAP)
5. A person medication record (PMR)
3. Monitoring and Intervention
4. Documentation and follow-up-Record
•Risk screening :DRPs
•Assessment : adherence
•Consultation : to develop a plan
•Follow-up : improve medication used
Services Benefit
Refill
• ภูเก็ต
• สงขลา
• ขอนแก่น
• ลดเวลารอคอย
• ลดค่าเดินทาง
• ลดความแออัดในโรงพยาบาล
• ลดความเสี่ยงปัญหาจากการใช้ยา
• ติดตามการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง
• ความพึงพอใจ
94.2%
ลดปัญหาความแออัด ประหยัด และ ค่าใช้จ่าย
Phuket model (การเติมยา)
ระยะเวลารอรับบริการ (นาที)
- รพ.วชิระภูเก็ต 266.71 ± 87.44
- ร้านยา 17.86 ± 9.43
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง (บาท)
- รพ.วชิระภูเก็ต 77.14 ± 37.29
- ร้านยา 17.14 ± 7.59
ลดระยะเวลารอคอย
ในการมารับบริการที่ รพ.
ประหยัดค่าใช้จ่าย
ในการเดินทางมา รพ.
Phuket model ( การเติมยา เติมสุข )
Songkhla model: Fast track (ระบบเติมยา)
Khonkaen Model
คุณสมบัติร้านยาในโครงการ
เป็นร้านยาคุณภาพ
ผ่านการอบรมตามที่กาหนด
บันทึกข้อมูลตามรูปแบบที่กาหนด
หากฝ่าฝืนข้อตกลงหรือระเบียบจะถูกตัดสิทธิ์
ตรวจสอบ (Internal audit) โดย สมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย)
Community Pharmacy in Thailand
Familiarity
คุ้นเคย ใกล้ชิด รู้จัก
ครอบครัว
Efficiency
ขั้นตอนน้อย
ประหยัด สะดวก
เข้าถึงง่าย
ร้านยาคุณภาพช่วยเสริมงานในระบบหลักประกันสุขภาพ
ช่วยพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ประชาชนได้เข้าถึงบริการที่
มีคุณภาพ มาตรฐานอย่าง
ทั่วถึงและเป็นธรรม
พัฒนาการบริการในพื้นที่ ที่ไม่มีหน่วยบริการเพียงพอ
สนับสนุนงานส่งเสริมระบบ
บริการสาธารณสุขของ
หน่วยงานหลักอย่างต่อเนื่อง
และมีมาตรฐานเช่นเดียวกัน
Accessibility
กระจาย จานวน ระยะเวลาบริการ
ร้านยาคุณภาพ (Pharmacy Accreditation)
5 มาตราฐานหลัก (Best Practices)
1. สถานที่ อุปกรณ์ และสิ่งสนับสนุนการบริการ
2. การบริหารจัดการเพื่อคุณภาพ
3. การบริหารเภสัชกรรมที่ดี
4. การปฏิบัติตามกฎระเบียบ และจริยธรรม
5. การให้บริการ และการมีส่วนร่วมในชุมชนและสังคม
ณ วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2558
ร้านยาคุณภาพ 1,001 ร้าน
• กทม. 354 ร้าน
• ต่างจังหวัด 647 ร้าน
ร้านยาคุณภาพ
ในจังหวัดต่างๆ
Learning Management System
Community Pharmacist
Home Health Care Knowledge
Community
(Forum, blog)
KM&LMS
Case Discussion (Why)
Broadcast
Learning Management System (LMS)
• Pharmacy Student Training
• MTM Training
• New Pharmacist Training
• Clinical Pharmacy Areas
• คู่มือ GPP- self development
• Web-based learning e.g.
• เครือข่ายร้านยาคุณภาพ – case – based learning
• หลักสูตรเภสัชกรครอบครัว คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
• หลักสูตรนวตกรรม คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
• หลักสูตร FCPL ของสภาเภสัชกรรม ร่วมกับ เภสัชกรโรงพยาบาล
เสนอร้านยาคุณภาพเป็นหน่วยเชื่อมระบบในระดับปฐมภูมิ
1. การเชื่อมต่อเชิงระบบด้านยา ในทุกระดับ
การเชื่อมโยงด้านสาธารณสุขต่อเชิงระบบด้านยา
Tertiary- Secondary-Primary care –ร้านยาคุณภาพ - ผู้ป่วย – ครอบครัว- ชุมชน ...
ประโยชน์: - สร้างความเข้มแข็งสุขภาพในระดับชุมชนโดยเฉพาะสังคมเมือง
- ลดความแออัด ประหยัดเวลา ลดค่าใช้จ่าย
2. สร้างระบบการติดตามต่อเนื่องด้านยา ส่งต่อและส่งกลับผู้ป่วยเข้าสู่ระบบ
ประโยชน์: สร้างการปลอดภัยด้านยา ลดความเสี่ยงจากการใช้ยา
2.1 ติดตามการใช้ยาที่ร้านยาคุณภาพ ระบบการขึ้นทะเบียนเฉพาะโรค
2.2 การเยี่ยมบ้านเฉพาะโรค ส่งต่อจากระดับฑุติยภูมิ ตติยภูมิ บริการงานMTM
ข้อเสนอเชิงนโยบาย
3. เครือข่ายคลินิกอดบุหรี่ ในร้านยาคุณภาพ
ประโยชน์: สะดวกในการเข้าถึงบริการปรึกษาการเลิกบุหรี่
4. หน่วยบริการเสริมสาธารณสุขในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง และ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ที่ร้านยาคุณภาพ
ประโยชน์: สร้างโอกาสในการเข้าถึงงานบริการสาธารณสุขเบื้องต้น
5. หน่วยสถานีสุขภาพระดับชุมชนในการเฝ้ าระวังโรคติดต่อ
ประโยชน์: สร้างความเข้มแข็งในระดับชุมชน
ข้อเสนอเชิงนโยบาย
ร้านยาคุณภาพ มีมาตราฐานงานบริการ สะดวกต่อการเข้าถึง ระยะทาง เวลา
เป็นโอกาสของความคุ้มค่าการดูแลสุขภาพในระดับชุมชน
ประเด็นของร้านยา
ประเด็น ร้านยากับระบบประกันสุขภาพ
 สปสช จานวนร้านยาการเชื่อมต่อพื้นที่ ต่อประชากร ......
 สปส รูปแบบ หรือกิจกรรม
 ข้าราชการ รูปแบบ หรือกิจกรรม
 ประกันเอกชน รูปแบบหรือกิจกรรม
กฏหมาย ระเบียบ
การเจรจา
งานวิจัย
หน่วยงาน
ยอมรับ
ระยะเวลา
???????
ประเภทของหน่วยบริการ
ตามข้อบังคับสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติว่าด้วย
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการและเครือข่าย
หน่วยบริการ พ.ศ.2547 แบ่ง 4 ประเภท
ข้อที่ 1.3 “หน่วยบริการร่วมให้บริการ”
หมายถึง สถานบริการที่มีลักษณะ ดังนี้
• สถานบริการที่จัดบริการสาธารณสุขไม่ครบเกณฑ์ระดับปฐมภูมิ
• ได้ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการร่วมให้บริการสาธารณสุขเฉพาะด้านใดด้านหนึ่ง
• มีข้อตกลงเป็นหนังสือกับหน่วยบริการประจา ในการให้บริการสาธารณสุขแก่ผู้มีสิทธิ
• ได้รับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขจากหน่วยบริการประจาตามข้อตกลง
การเชื่อม (Network) ข้อมูล
PCU (โรงพยาบาลชุมชน)
คลีนิคชุมชนอบอุ่น
Hospital
การส่งข้อมูล
เชื่อมต่อการดูแลรักษาแบบต่อเนื่อง
จัดการข้อมูล
• National
Clearing
House
• Association
 Software
 Hardware
 Staff / Team
• TMT:
Thai Medical
Terminology
• Barcode
• QR code
มาตราฐานรหัสยา ระบบเชื่อมต่อ ระบบการจัดการ
Reimbursement Refer data
ประเด็น การจัดการความเสี่ยง
 มาตราฐานระบบในร้านยา
◦ การจัดหาสินค้า
◦ การจ่ายยา
◦ การบริการ
◦ การบันทึกข้อมูล
◦ การจัดการปัญหา
 ทีมนักกฎหมาย
 การซื้อประกันอาชีพ (Professional Liability)
แนวคิดการแก้ปัญหา
1. Procurement system (ระบบการจัดหา)
2. Logistic (ระบบการสั่งสินค้า)
3. Management skill (ทักษะการจัดการ)
4. Professional service (รูปแบบการบริการ)
5. HR & Career development (การพัฒนาคนและงาน)
6. Information Technology (เทคโนโลยีสารสนเทศ)
7. Investment (การลงทุน)
Value Chain Analysis
◦ บุคคล
 การบริหารเภสัชกร
 การพัฒนาบุคคล
 ความรับผิดชอบต่อการ
ให้บริการ
◦ ระบบการบริหารจัดการ
 ระบบบัญชี
 ระบบฐานข้อมูล
 ระบบมาตรฐาน
 ระบบการตลาด
◦ งบการลงทุน
ต้นทุน จากระบบการคัดเลือกสินค้า
ต้นทุกการจัดซื้อ / จัดหา
ต้นทุกการเก็บรักษา
ต้นทุนการสูญเสีย
ต้นทุนเอกสาร
ต้นทุนควบคุมคุณภาพ
ต้นทุการบริหารจัดการ
ต้นทุนสินค้า
ต้นทุนเสียโอกาส
ประสิทธิภาพการจัดการ
ผลประกอบการสูงสุด
ต้นทุนต่าสุด
หน่วยงานประเมินร้านยา
ใบอนุญาติ สานักยา / สจจ
ตรวจร้าน GPP สสจ. / อย. /.......????
ร้านยาคุณภาพ สรร. / ........ ????
เตรียมความพร้อม สมาคม...ชมรม.../ ????
ระบบการตรวจสอบร้าน??????
กระบวนการ ... รูปแบบ...
โครงสร้างองค์กร... การจัดการ
อัตราค่าใช้จ่าย
การจัดหาเภสัชกร
 จานวนต่อร้าน
 จานวนต่อพื้นที่
 จานวนต่องานบริการ
 จานวนต่อระบบการจ่ายยา ใบสั่งยา
 ระบบการจัดหา... Allocation….
มหาวิทยาลัย
ระบบฝึกงาน สัดส่วน 1:4 สภาเภสัชกรรม (คัดเลือก)
ระบบเตรียมความพร้อมการฝึกงาน
ระบบการจัดหาเภสัชกร
ระบบใช้ทุนในร้านยา
ระบบการพัฒนางานร่วมกับมหาวิทยาลัย
ระบบสนับสนุนวิชาการ การประชุมวิชาการ
ระบบงานวิจัย ประเด็นในร้านยาเชื่อมระบบบริการ
19 มหาวิทยาลัย 1,900 คน
ระบบการฝึกงาน ภาคบังคับปี 4 เลือกวิชาร้านยา ปี 6
สอบ 2 ครั้ง ปี 4 และ ปี 6
International Program
Young Community Pharmacists
FAPA, FIP Bridge
International Pharmacy Linkage
การก้าวสู่ผู้นาวิชาชีพเภสัชกรชุมชน
งานวิจัย R2R2P
นาร่องพัฒนางาน
แหล่งวิชาการ
เปิ ดบทบาทเชิงรุก
• สู่ประชาชน
• ร่วมงานองค์กรอื่น
ยอมรับจากสังคม
ประชาชน / วิชาชีพอื่นๆ
ระบบสาธาณสุข
ร้านยากับความยั่งยืน
1. เน้นแสดงศักยภาพในหารบริการวิชาชีพ
2. พัฒนาต่อเนื่อง หาโอกาสสร้างรายได้
3. สร้างโอกาสทางธุรกิจในตลาดใหม่ ลูกค้าใหม่ (White Ocean)
4. สร้างภาพลักษณ์ เพื่อนาไปสู่การยอมรับของประชาชน
5. สร้างเครือข่าย และ การรวมตัวช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
6. การสร้างมาตราฐานการบริการ กระบวนการเรียนรู้
7. ข้อมูลงานวิจัย
8. การเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบาย.....ใคร.....อย่างไร
9. ธรรมาภิบาลองค์กร
Q&A
ขอขอบคุณ
Self care &
Self
medication
Quality
used of
medicineHealth
informa
tion
center
Health
promotion &
prevention
Seamless
care &
Quality care
ร้านยาคุณภาพ เติมเต็ม เพื่อความเข้มแข็ง
ของระบบบริการสาธารณสุขไทย

More Related Content

What's hot

แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยTanawat Sudsuk
 
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพการพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพUtai Sukviwatsirikul
 
Presentation Consumersouth
Presentation ConsumersouthPresentation Consumersouth
Presentation Consumersouthguest78694ed
 
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53nipapat
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยSurasak Tumthong
 
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013Vorawut Wongumpornpinit
 
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6 ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6 Ziwapohn Peecharoensap
 
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560Vorawut Wongumpornpinit
 
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยา
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยาปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยา
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยาUtai Sukviwatsirikul
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.nhs0
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557Utai Sukviwatsirikul
 
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้าUtai Sukviwatsirikul
 

What's hot (19)

แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
 
สปสช.การบริหารAsthma&copd57
สปสช.การบริหารAsthma&copd57สปสช.การบริหารAsthma&copd57
สปสช.การบริหารAsthma&copd57
 
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพการพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
 
Presentation Consumersouth
Presentation ConsumersouthPresentation Consumersouth
Presentation Consumersouth
 
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
 
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
 
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6 ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6
 
บท3
บท3บท3
บท3
 
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
 
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยา
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยาปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยา
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยา
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
 
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุรินพยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
 
Thai2009 2
Thai2009 2Thai2009 2
Thai2009 2
 

Viewers also liked

NSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆ
NSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆNSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆ
NSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆsome163
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Utai Sukviwatsirikul
 
The Dictionary of Substances and Their Effects (DOSE): Volume 05 K–N
The Dictionary of Substances and Their Effects (DOSE): Volume 05 K–N The Dictionary of Substances and Their Effects (DOSE): Volume 05 K–N
The Dictionary of Substances and Their Effects (DOSE): Volume 05 K–N kopiersperre
 
Narcotic Analgesic Drugs
Narcotic Analgesic DrugsNarcotic Analgesic Drugs
Narcotic Analgesic DrugsPharmCU
 
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้าUtai Sukviwatsirikul
 
Central analgesics and Non-steroidal ant-iinflammatory agents
Central analgesics and Non-steroidal ant-iinflammatory agentsCentral analgesics and Non-steroidal ant-iinflammatory agents
Central analgesics and Non-steroidal ant-iinflammatory agentsDr. Ravi Sankar
 
Opiod analgesics Med Chem Lecture
Opiod analgesics Med Chem LectureOpiod analgesics Med Chem Lecture
Opiod analgesics Med Chem Lecturesagar joshi
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมRachanont Hiranwong
 
Nonsteroidal anti inflammatory drugs (NSAIDS)
Nonsteroidal anti inflammatory drugs (NSAIDS)Nonsteroidal anti inflammatory drugs (NSAIDS)
Nonsteroidal anti inflammatory drugs (NSAIDS)abdul waheed
 

Viewers also liked (12)

NSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆ
NSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆNSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆ
NSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆ
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 
The Dictionary of Substances and Their Effects (DOSE): Volume 05 K–N
The Dictionary of Substances and Their Effects (DOSE): Volume 05 K–N The Dictionary of Substances and Their Effects (DOSE): Volume 05 K–N
The Dictionary of Substances and Their Effects (DOSE): Volume 05 K–N
 
Dmhtชี้แจงcm2558
Dmhtชี้แจงcm2558Dmhtชี้แจงcm2558
Dmhtชี้แจงcm2558
 
Mcq2554
Mcq2554Mcq2554
Mcq2554
 
Narcotic Analgesic Drugs
Narcotic Analgesic DrugsNarcotic Analgesic Drugs
Narcotic Analgesic Drugs
 
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
 
Central analgesics and Non-steroidal ant-iinflammatory agents
Central analgesics and Non-steroidal ant-iinflammatory agentsCentral analgesics and Non-steroidal ant-iinflammatory agents
Central analgesics and Non-steroidal ant-iinflammatory agents
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
Opiod analgesics Med Chem Lecture
Opiod analgesics Med Chem LectureOpiod analgesics Med Chem Lecture
Opiod analgesics Med Chem Lecture
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
Nonsteroidal anti inflammatory drugs (NSAIDS)
Nonsteroidal anti inflammatory drugs (NSAIDS)Nonsteroidal anti inflammatory drugs (NSAIDS)
Nonsteroidal anti inflammatory drugs (NSAIDS)
 

Similar to ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue 2016

บริการสาธารณสุขปฐมภูมิประเทศอังกฤษ
บริการสาธารณสุขปฐมภูมิประเทศอังกฤษบริการสาธารณสุขปฐมภูมิประเทศอังกฤษ
บริการสาธารณสุขปฐมภูมิประเทศอังกฤษsoftganz
 
บริการสาธารณสุขปฐมภูมิประเทศอังกฤษ
บริการสาธารณสุขปฐมภูมิประเทศอังกฤษบริการสาธารณสุขปฐมภูมิประเทศอังกฤษ
บริการสาธารณสุขปฐมภูมิประเทศอังกฤษsoftganz
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCChuchai Sornchumni
 
Psychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsPsychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)Sakarin Habusaya
 
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...Borwornsom Leerapan
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพsoftganz
 
Fee schdule by_seamless_for_dmis
Fee schdule by_seamless_for_dmisFee schdule by_seamless_for_dmis
Fee schdule by_seamless_for_dmisSakarin Habusaya
 
Service plan นำเสนอ วายุภักดิ์ กันยายน 2558
Service plan นำเสนอ วายุภักดิ์ กันยายน 2558 Service plan นำเสนอ วายุภักดิ์ กันยายน 2558
Service plan นำเสนอ วายุภักดิ์ กันยายน 2558 Kamol Khositrangsikun
 

Similar to ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue 2016 (20)

บริการสาธารณสุขปฐมภูมิประเทศอังกฤษ
บริการสาธารณสุขปฐมภูมิประเทศอังกฤษบริการสาธารณสุขปฐมภูมิประเทศอังกฤษ
บริการสาธารณสุขปฐมภูมิประเทศอังกฤษ
 
บริการสาธารณสุขปฐมภูมิประเทศอังกฤษ
บริการสาธารณสุขปฐมภูมิประเทศอังกฤษบริการสาธารณสุขปฐมภูมิประเทศอังกฤษ
บริการสาธารณสุขปฐมภูมิประเทศอังกฤษ
 
Fullreport uk
Fullreport ukFullreport uk
Fullreport uk
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
 
Psychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsPsychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacists
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
 
Cpg copd
Cpg copdCpg copd
Cpg copd
 
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
 
ไตรมาส2 54
ไตรมาส2 54ไตรมาส2 54
ไตรมาส2 54
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
 
MTM (JC 16/8/59)
MTM (JC 16/8/59)MTM (JC 16/8/59)
MTM (JC 16/8/59)
 
Utilization management
Utilization managementUtilization management
Utilization management
 
antidote y57
antidote y57antidote y57
antidote y57
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
CPG COPD Thailand 2553
CPG COPD Thailand 2553CPG COPD Thailand 2553
CPG COPD Thailand 2553
 
Fee schdule by_seamless_for_dmis
Fee schdule by_seamless_for_dmisFee schdule by_seamless_for_dmis
Fee schdule by_seamless_for_dmis
 
551212 moph policy
551212 moph policy551212 moph policy
551212 moph policy
 
Service plan นำเสนอ วายุภักดิ์ กันยายน 2558
Service plan นำเสนอ วายุภักดิ์ กันยายน 2558 Service plan นำเสนอ วายุภักดิ์ กันยายน 2558
Service plan นำเสนอ วายุภักดิ์ กันยายน 2558
 
57 02-27เปิดประชุมp4 p
57 02-27เปิดประชุมp4 p57 02-27เปิดประชุมp4 p
57 02-27เปิดประชุมp4 p
 

ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue 2016

  • 1. ภญ.ดร. ศิริรัตน์ ตันปิ ชาติ เอกสารนาเสนอ วันที่ 17 กันยายน 2559 แนวโน้มธุรกิจร้านยา
  • 2. UK สหราชอาณาจักร (Cooper RJ et al,2008)  Supplementary prescribing – Supplementary prescribe in according to therapeutic plan  Pharmacy independent prescribing – คุณค่าที่เกิดจากการอนุญาตให้เภสัชกรทา supplementary prescribing (เภสัชกรจ่ายยาเอง-ตกลงร่วมกับแพทย์ผู้ป่วย) ได้นามาซึ่งระบบใหม่ ในปี พ.ศ. 2549 – เภสัชกรชุมชนได้รับอนุญาตให้สั่งจ่ายยาได้ supplementary prescribing ยกเว้น ยาควบคุมพิเศษ ประโยชน์: ประชาชนได้รับการดูแล รักษาที่รวดเร็วขึ้นจาก โรงพยาบาล
  • 3. ระบบร้านยาในประเทศอังกฤษ  กรรมการเงื่อนไขหรือกรอบข้อตกลง (contractual framework) กับ NHS โดยคณะกรรมการเจรจาต่อรองการบริการทางเภสัชกรรม (Pharmaceutical Service Negotiating Committee: PSNC)  กิจกรรม: • เชิญสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร์ (ส.ส.) ดูกิจกรรมเพื่อเสนอนโยบายหรือ กฎหมาย • จัดกิจกรรมมสุขภาพให้กับประชาชน  แบ่งรูปแบบงานบริการในร้านยา 3 ระดับ • Essential services (บริการหลัก) • Advanced services (บริการชั้นสูง) • Enhanced services (บริการเสริม) ธีรพล ทิทย์พยอม, วารสารวิชาการสาธารณสุข 2555 ปีที่ 21 ฉบับที่ 6
  • 4. ระดับการให้บริการของร้านยาคู่สัญญากับ NHS ธีรพล ทิทย์พยอม, วารสารวิชาการสาธารณสุข 2555 ปีที่ 21 ฉบับที่ 6
  • 5. Modern Pharmacy Services  Dispensing / repeat dispensing and provision of compliance support (จัดหา /เติมยา)  Disposal of unwanted medicine (ยาเหลือใช้)  Sign-posting (ส่งต่อ)  Support of sale care (แนะนา)  Medicines use review (MUR) / Prescription intervention service (รายงานส่งกลับแพทย์)  Appliance use review (AUR)  Stoma appliance customization (SAC)  New medicine service (NMS) (เน้นโรคเรื้อรัง)  Supervised administration (ยาจิตเวช, ยาวัณโรค, Methadone)  Needle & syringe exchange (ความรู้, ฉีดวัคซีนไววรัสตับ)  On demand available of special drugs (จัดคลังยาพเศษ)  Stop smoking  Care home (แนะนายา ทุก 6 เดือน)  Minor aliment service  Medicine assessment & compliance support  NHS health check  Etc. Advanced services (บริการชั้นสูง) Enhanced services (บริการเสริม) Essential services (บริการหลัก)
  • 6. ประเทศเยอรมัน (Eickhoff C & Schutz M,2006) พ.ศ. 2546 ประเทศเยอรมันได้เริ่มทดลองระบบ เภสัชกรประจา ครอบครัว (Family pharmacy) เภสัชกรประจาครอบครัว บทบาทหน้าที่ การทาประวัติการใช้ยา (Drug profile) ทบทวนการใช้ยาของผู้ป่วย (Medication review) ให้คาแนะนาปรึกษา (Counseling) ทารายงานเรื่องการใช้ยาของผู้ป่วย (Medication report) ประโยชน์: ผู้ป่วยได้รับการดูแลเรื่องยาอย่างต่อเนื่อง
  • 7. ประเทศสวีเดน (Westerlund LT & Bjork HT, 2006) • ร้านยาในสวีเดน เป็น Single government owned chain • สวีเดนให้ร้านยาเป็น ‘สถานีสุขภาพ’ (Health point) • ร้านยาต้องรายงาน DRP เข้าสู่ ระบบ The national DRP database ประโยชน์:  ประชาชนมีแหล่งเข้าถึงเพื่อรับบริการตรวจสุขภาพเบื้องต้น มากขึ้น  ข้อมูล DRP ถูกรวบรวม และเรียกดูได้
  • 8. สหรัฐอเมริกา (Steyer TE et al, 2004) • เปลี่ยนลักษณะการบริการเภสัชกรรมจากเดิมที่มุ่งเน้นเรื่อง ยา และ ผลิตภัณฑ์ (Product oriented) ไปเป็น การมุ่งเน้นให้ ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางของบริการ (Patient oriented) • เปลี่ยนรูปแบบการบริการ Pharmaceutical care • Case management…Disease Management….Medication Therapy Management (MTM) • บริการให้วัคซีนป้ องกันไข้หวัดใหญ่แก่ประชากรกลุ่มเสี่ยง ประโยชน์: ลดการป่วย ลดการเสียชีวิต ลดการใช้ยา
  • 9. แคนาดา (Jones EJ et al,2005) • ก่อนจ่ายยา เภสัชกรต้องทา Prospective drug use evaluation • เภสัชกรชุมชนให้บริการ Disease management สาหรับโรคหืด โรคหัวใจ และ ภาวะไขมันในเลือดสูง • Pharmacy Home visit ประโยชน์ : ประชาชนทั้งที่บ้าน และที่มารับบริการที่ร้าน ได้รับการ ดูแล ได้รับการจัดการเรื่องยาที่ดีขึ้น
  • 10. ออสเตรเลีย (Benrimoj SI & Frommer MS,2004; and Benrimoj SI & Roberts AS,2005) • Residential medication management review • Home medication review (HMR) • Preventive care service • Chronic disease management คุณค่าที่เกิดขึ้น : - ผู้ป่วยทั้งที่สถานพยาบาล และที่บ้านได้รับการดูแลเรื่องยาที่ดีขึ้น - ประชาชนได้รับบริการสร้างเสริมสุขภาพ - การทางานเป็นทีม ทาให้ ประสิทธิภาพงานดีขึ้น
  • 11. ระบบร้านยาประเทศออสเตรเลีย  ร้านยามีเภสัชกรเป็นเจ้าของ  ร้านยาสถานที่ตั้ง มีพื้นที่และตั้งอยู่ในชุมชน  ร้านยารวมตัวกันเป็น แบบ Banner group  ร้านยาเป็นสมาชิก ของ The Guilds  The Guilds เป็นตัวแทนต่อรองและพัฒนางานเสนอกับรัฐบาล  เภสัชกรประจาร้าน มีระบบการขึ้นทะเบียน  จัดระบบพื้นที่ ตามจานวนประชากร  สร้างงานบริการของเภสัชกร เพื่อรับค่าตอบแทน
  • 12.
  • 13. Strategic Direction for Community Pharmacy
  • 14. ระบบร้านยาประเทศไต้หวัน  สมาคมเภสัชกรรม ทาหน้าที่การเจรจาต่อรองกับรัฐบาล  ทางานวิจัยสนับสนุนงาน  เภสัชกรขึ้นทะเบียนกับสมาคม  ร้านยาและเภสัชกรต้องมีระบบประกันคุณภาพ  เชื่อมต่อกับระบบประกันสุขภาพ  ระบบใบสั่งแพทย์ / ระบบเติมยา  งานบริการระดับชุมชน เภสัชกรเยี่ยมบ้าน
  • 15. New Era for Community Pharmacist 1. Pharmaceutical care ทางานร่วมกับสหสาขาอื่น โดยมีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (Population-based pharmaceutical care) พัฒนารูปแบบการส่งข้อมูลให้กับผู้ป่วยและทีมการ รักษา คุ้มค่าและเหมาะกับการรักษา (Cost effectiveness) เพื่อให้เภสัชกรรม ชุมชนเป็นส่วนหนึ่งของระบบสาธารณสุขของประเทศไทย 2. Evidence-based pharmacy: การเก็บข้อมูลการปฏิบัติงานของเภสัชกรรมชุมชน อย่างเป็นระบบแบบ เครือข่าย เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนามาตราฐานการบริการและปฏิบัติงาน การจัดทาคู่มือและมาตราฐานการปฏิบัติงานให้ได้มาตรฐานเดียวกัน (Good Pharmacy Practice: GPP) และ (Pharmacy Practice Guideline: PPG) 3. Meeting patients’ needs แนวคิด patient-center health care เป็นกระบวนการให้คาปรึกษาต่อผู้ป่วย โดยให้คาแนะนาการปฏิบัติตัว (life style modification) ซึ่งเน้นคาปรึกษาเพื่อ มุ่งหวังให้ผลการรักษาที่ดี (outcome)
  • 16. 4. Chronic patient care โรคเรื้อรังที่เป็นปัญหากับระบบสาธารณสุข เช่น เบาหวาน, โรคความดัน โลหิตสูง, ภาวะไตวาย เป็นต้น ใช้บริบาลทางเภสัชกรรมดูแลอย่าง ต่อเนื่อง ร่วมกับสหสาขาในชุมชนหรือโรงพยาบาล 5. Self-medication การให้ผู้ป่วยสามารถดูแลตัวเองโดยการใช้ยาและไม่ใช้ยา โดยเภสัชกร ชุมชนแสดงบทบาทนี้ต่อประชาชน เป็นการสร้างเสริมสุขภาพ 6. Quality assurance of pharmaceutical care services การประกันคุณภาพทุกขั้นตอนของการปฏิบัติงาน พร้อมสามารถ ตรวจสอบและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเน้น 4 ประการต่อการ ประกันคุณภาพของการปฏิบัติงาน 1) Focus to patients 3) Focus to system and process 3) Focus to measurement 4) Focus to teamwork
  • 17. 7.Clinical pharmacy เภสัชกรชุมชนมีบทบาทต่อการเก็บข้อมูลกับผู้ป่วย (patient setting) พัฒนาด้านงานวิจัยหรือมีการเพิ่มพูนความรู้โดยผ่านจากการปฏิบัติงาน 8. Pharmacovigilance เภสัชกรชุมชนมีบทบาทต่อความปลอดภัยของการใช้ยา โดยการประเมินการใช้ยา และค้นหาปัญหาจากการใช้ยา (Drug related problems) เภสัชกรชุมชนต้องเป็นศูนย์กลางของข้อมูลเกี่ยวกับยา (ข้อมูลจาก Developing Pharmacy Practice: A focus on patient care revision 2006 edition; WHO, FIP)
  • 21. การเปลี่ยนแปลงของสุขภาพชุมชน  ภาวะคุกคามจากโรคเรื้อรัง การสูญเสียค่าใช้จ่ายการรักษาพยาบาล  ระบบการรักษาสุขภาพ ระบบการรักษามีความซับซ้อน ขาดการเชื่อมต่อข้อมูลในการรักษาสุขภาพ  การเข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพ ขาดความรู้ด้านสิทธิการรักษาสุขภาพ ขาดการจัดการข้อมูลด้านโรค ยา ของผู้ป่วย และประชาชนทั่วไป  ด้านพฤติกรรมสุขภาพของ ประชาชน ผู้ป่วย และ สังคม ขาดความตระหนักรู้ ด้านสุขภาพของผู้ป่วย ความเชื่อ ด้านสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง  ปัญหาเชิงสังคม โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ท้องไม่พร้อม
  • 23.
  • 25. ที่มา: ศูนย์บริหารงานทะเบียน สานักบริหารกองทุน ณ กันยายน 2558 สปสช. สัดส่วนประชาชนไทยตามสิทธิหลักประกันสุขภาพ ปีงบประมาณ 2558
  • 26. ข้อมูลความแตกต่าง 3 ระบบประกัน (ข้อมูล มี.ค. 2558) ระบบ สวัสดิการข้าราชการ ประกันสังคม บัตรทอง จานวนผู้มีสิทธิ (ล้านคน) ทังหมด 65.8 ล้านคน 4.9 (7.4%) 11.1 (16.9%) 48.3 (73.8%) ค่าใช้จ่าย/คน/ปี (บาท) งบประมาณรัฐ 2 ประมาณ 12,000 กว่าบาท ต่อหัวต่อปี 2,518 บาท/คน3 อัตราเหมาจ่ายราย หัวต่อปี 2, 895.09 บาท อัตราเหมาจ่ายราย หัวต่อปี งบประมาณทั้งหมด/ปี (ล้านบาท) 60,000 27,500 109,718 งบประมาณที่รัฐบาลอุดหนุน 100% 33% 100% แหล่งที่มาของงบประมาณ รัฐบาล ลูกจ้าง นายจ้าง ผู้ประกันตน รัฐบาล หน่วยงานบริหาร กรมบัญชีกลาง สปส. สปสช. รูปแบบวิธีการจ่ายเงิน ผู้ป่วยนอก ตามปริมาณบริการ และราคาที่เรียกเก็บย้อนหลัง สาหรับ บริการผู้ป่วยในตามราย ป่วยในอัตราที่กาหนด (DRG) เหมาจ่ายรายหัวรวม สาหรับบริการผู้ป่วยนอก และใน และจ่ายเพิ่มเป็น รายกรณี เหมาจ่ายรายหัวสาหรับ บริการส่งเสริมป้ องกัน และ ผู้ป่วยนอก สาหรับบริการ ผู้ป่วยในจัดสรรงบยอดรวม ตามน้าหนักสัมพัทธ์ DRG ที่มา: 1 รายงานประจาปี 2558 สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, 2 กรมบัญชีกลาง, 3 สานักงานประกันสังคม
  • 28. Company Logo • ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 ศูนย์ • คลีนิคชุมชนอบอุ่น 132 แห่ง • โรงพยาบาล • ร้านยา ขย.1 ประมาณ 4,000 ร้าน
  • 30.
  • 31.
  • 32. ข้อมูลร้านยา พ.ศ. 2550, 2556, 2557 2550 กทม. ภูมิภาค รวม ขย1 3,765 6,254 10,019 ขย 2 462 3,789 4,251 รวม 4,227 10,043 14,270 2556 2557 2556 2557 2556 2557 ขย 1 4,443 4,794 (+8%) 7,680 10,565 (+38%) 12,123 15,359 (+27%) ขย 2 382 355 3,442 2,809 3,824 3,164 (-17%) รวม 4,825 5,149 11,122 13,374 15,947 18,523 (+16%)
  • 33. จานวนร้านยา กทม. ณ สิงหาคม 2559 ปัจจุบัน 4,950 ร้านยา................. ประมาณ 5,000 ร้านยา พ.ศ. 2560 ร้านยาเดี่ยว 4,500 ร้าน ร้านยา Chain 500 ร้าน ( 10% ) อัตราส่วน ร้านต่อประชากร 1: 2,500 1 ก.ค. 2559 ประชากรทั้งประเทศ 65.3 ล้านคน กทม. 8.0 ล้านคน (ประชากรแฝง 11 ล้าน)
  • 34. การสารวจสถานะสุขประชาชนในเขต กทม. 2553 • อ.ฉวีวรรณ บุญสุยา และคณะ โดยคณะสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล • เก็บข้อมูลระหว่าง กรกฏาคม-กันยายน 2553 • กลุ่มตัวอย่าง 8,028 ครอบครัว • ประชาชนทั่วไปขนาดครอบครัวเล็ก 16,096คน • ประชาชนแออัดขนาดครอบครัวเล็ก 17,067คน Company Logo
  • 36.
  • 37. ปัจจัยภายนอกต่อธุรกิจร้านยา  มหาวิทยาลัย  กาลังพล  พฤติกรรมผู้บริโภค  กฎหมาย  กฎกระทรวง  พ.ร.บ. ยา  ภาษี ระบบสาธารณสุข สปสช. / สปส. ระบบโรงพยาบาล Long term care เศรษฐกิจ… กลุ่มทุนนิยม AEC การท่องเที่ยว การพักอาศัยระยะยาว
  • 38. กฎหมาย  พ.ร.บ. วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551 (มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 24 สิงหาคม 2551)  พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดจาก สินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ.2551 Product Liability Law (มีผลตั้งแต่วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2552)  กฎกระทรวง  พ.ร.บ. ยา พ.ศ. ...........
  • 39. Good Pharmacy Practice: GPP In 2011, FIP and WHO adopted an updated version of Good Pharmacy Practice entitled “”Joint FIP/WHO guidelines on good pharmacy practice: standards for quality of pharmacy services” GPP are organised around 4 major roles for pharmacists 1.Role 1: Prepare, obtain, store, secure, distribute, administer, dispense and dispose of medical products 2.Role 2: Provide effective medication therapy management 3.Role 3: Maintain and improve professional performance 4.Role 4: Contribute to improve effectiveness of the health-care system and public health GPP is defined as "the practice of pharmacy that responds to the needs of the people who use the pharmacists’ services to provide optimal, evidence-based care. To support this practice it is essential that there be an established national framework of quality standards and guidelines." Full reference: Joint FIP/WHO guidelines on good pharmacy practice: standards for quality of pharmacy services. WHO Technical Report Series, No. 961, 2011. Geneva: World Health Organization, 2011. 1993 สมาพันธ์สากลด้านเภสัชกรรม หรือ FIP (Federal of International Pharmaceutical)
  • 40. 2004 Cambodia 2007 Vietnam สมาพันธ์สากลด้านเภสัชกรรม หรือ FIP (Federal of International Pharmaceutical) 2014 Thailand
  • 42. ปัญหาเชิงสังคม  การใช้ยาผิดวัตถุประสงค์  การดื้อยา  จ่ายยาไม่ตรงตามมาตราฐานด้านเภสัชกรรม  ยานอกระบบ  ภาพลักษณ์ของร้านยา แหล่งค้ายา
  • 44. ร้านยา กับ ระบบประกันสุขภาพ ภญ.ดร.ศิริรัตน์ ตันปิ ชาติ สมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย
  • 46. การคัดกรอง (Disease Screening & Risk management) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Behavior Modification) [ Smoking cessation] การจัดการด้านยา (Medication Therapy Management :MTM) การคุ้มครองผู้บริโภค (Consumer Empowerment) ROLE บทบาท ‚ร้านยาคุณภาพ‛ ในระบบประกันสุขภาพ
  • 47. การเติมยา (Refill) คลีนิคชุมชนอบอุ่น PCU (โรงพยาบาลชุมชน) โรงพยาบาล ใบสั่งยา Refill 3 เดือน เติมยา 2 ครั้ง MTM services • Report • ADR • Drug interaction • Drug monitoring Counseling รายงานการดูแล MTM Services 1. Medication therapy review 2. A person medication record 3. A medication action plan 4. Intervention and referral 5. Documentation and follow-up Reimbursement  Drug cost + operation cost  Pharmacist fee ประโยชน์: ลดความแออัด
  • 48. การดูแลโรคพื้นฐาน(Common Disease) คลีนิคชุมชนอบอุ่น PCU (โรงพยาบาลชุมชน) โรงพยาบาล ดูแลโรคเบื้องต้น  Assessment  Counseling  Dispensing  MTM services MTM Services 1. Medication therapy review 2. A person medication record 3. A medication action plan 4. Intervention and referral 5. Documentation and follow-up Reimbursement  Drug cost + operation cost  Dispensing fee ประโยชน์: เพิ่มการเข้าถึงการรักษา
  • 49. การดูแลต่อเนื่องผู้ป่วยเฉพาะราย (Continuity of Specific Chronic Care ) คลีนิคชุมชนอบอุ่น PCU (โรงพยาบาลชุมชน) โรงพยาบาล ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง: DM, HTN, COPD, CKD, Stroke  Assessment  Counseling  MTM services MTM Services 1. Medication therapy review 2. A person medication record 3. A medication action plan 4. Intervention and referral 5. Documentation and follow-up Reimbursement  Pharmacist fee (MTM service) รายงานการดูแล ประโยชน์: Patient safety
  • 51. กิจกรรม พื้นที่ จังหวัด ปี พ.ศ. ระบบการคัดกรองโรคเรื้อรัง DM, HTN, Obesity, Depression • กทม. • ขอนแก่น, มหาสารคาม,ร้อยเอ็ด • นครราชสีมา • ตจว. 30 จว. 2553 - ปัจจุบัน 2550 - ปัจจุบัน 2554 - ปัจจุบัน 2557 - ปัจจุบัน ระบบการทบทวนยาในร้านยา (Medication Therapy Management: MTM)/ Medication use review • กทม. • ขอนแกน / มหาสารคาม / ร้อยเอ็ด • สุราษฎร์ธานี • พิษณุโลก 2554 - ปัจจุบัน 2554 - ปัจจุบัน 2555 - ปัจจุบัน 2558 – ปัจจ6บัน ระบบเยี่ยมบ้าน (Home Health Care) • กทม. (Stroke, โรคไต, DM, HTN) • ภูเก็ต (โรคไต) • อุบลราชธานี (DM, HTN) 2552 - ปัจจุบัน 2555 - 2557 2555 - 2556 การปรับเปลี่ยน พฤติกรรม •การเลิกบุหรี่/ลดน้าหนัก •STI /pre-VCT… • กทม. ขอนแก่น • มหาสารคาม , กทม. 2556 - ปัจจุบัน 2554 – 2556 ระบบใบสั่งยา • นครราชสีมา (PCU – ร้านยา) • ม.หัวเฉียว สมุทรปราการ (PCU – ศูนย์ยา มฉก.) • นครปฐม ( คชอ.-ร้านยาเภสัชศาลา ) 2547 - ปัจจุบัน 2555 – ปัจจุบัน 2557 - ปัจจุบัน ระบบการเติมยา • สมุทรปราการ • ภูเก็ต ขอนแก่น สงขลา 2547 - ปัจจุบัน 2557 - ปัจจุบัน 10 ปี ในการพัฒนารูปแบบ
  • 52. การศึกษาระบบใบสั่ง อัตราค่าตอบแทนบริการเภสัชกรรม ค่าจ่ายยา 25 บาท/ใบสั่งยา (1-3 รายการ) ค่าจ่ายยา 30 บาท/ใบสั่งยา (มากกว่า 3 รายการ) ค่าบริหารเวชภัณฑ์ ร้อยละ 20 ของต้นทุนยาที่จ่าย
  • 53. กิจกรรม สมาคมเภสัชกรรมชุมชน กับ สปสช 2552 2553 2554 2555 2556 2557 โครงการเภสัชกรชุมชนเยี่ยมบ้าน กทม. โครงการคัดกรองโรคเรื้อรัง กทม. DM, HTN, Obesity โครงการคัดกรอง STI /Pre-VCT โครงการการจัดการด้านยา กทม. โครงการ เลิกบุหรี่ กทม.
  • 54. ผลการดาเนินงาน พ.ศ. 2557 กิจกรรม เขตพื้นที่ จานวนร้านยา ร่วมโครงการ จานวนผู้ป่วย ที่รับบริการ จานวน งานบริการ ความพึงพอใจ Smoking กทม 30 ร้าน 376 ราย มาก- มากที่สุด MTM, MUR กทม ขอนแก่น 19 ร้าน 25 ร้าน 289 ราย 144 ราย มาก-มากที่สุด Fill , refill ภูเก็ต ขอนแก่น 32 ร้าน 10 ร้าน 43 ราย 21 ราย มาก –มากที่สุด ( ผป +จนท+ผู้บริหาร) Home health care กทม ขอนแก่น 19 ร้าน (30 คน) 10 ร้าน (15 คน) 1,424 ราย 3,088 ครั้ง มาก –มากที่สุด Prescriptions from PCU กทม นครราชสีมา นครปฐม 1 ร้าน 1 ร้าน 1 ร้าน 1,500 ราย/ ด. 750 ราย/ ด. 400 ราย / ด. Screening กทม เขต 12 เขต 7 101 ร้าน 10 ร้าน 23 ร้าน 6,038 ราย คะแนน 9.2 จาก 10 Education กทม ขอนแก่น เขต 12(7จว ) 101 ร้าน 25 ร้าน 12 ร้าน 16,251 รายงาน คะแนน 9.2 จาก 10
  • 55. กรอบแนวคิดการ ดาเนินงาน ครอบครัว/กลุ่มวัยรุ่น ภาคีเครือข่าย ให้คาปรึกษาข้อมูล เกี่ยวกับหน่วยงานสนับสนุน โปรแกรมให้ความรู้ (Sex Education Programs) การวางแผนการคุมกาเนิด การประเมิน เฝ้ าระวังโรคติดต่อ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (STI) บริการ Pre-VCT กระจายถุงยางและยาคุมกาเนิด หน่วยบริการสาธารณสุข, หน่วยบริการปฐมภูมิ, โรงพยาบาล การคัดกรองโรคเรื้อรัง (Screening) -DM, HTN, Obesity -ประเมินคัดกรองบุหรี่ เภสัชกร / ร้านยาคุณภาพ โปรแกรมให้ความรู้ (Education Programs) เฉพาะราย ความรู้สุขภาพ เรื่อง โรค อาหาร และยา สมาคมเภสัชกรรมชุมชน (สภช)มหาวิทยาลัย /สสจ/ สปสช ประชาชนกลุ่มเสี่ยง โรคติดต่อ ประชาชนกลุ่มเสี่ยง โรคเรื้อรัง การติดตาม และ ส่งต่อ (Follow up and Referral) กลุ่มใช้ยาพิเศษ ผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรัง ดูแลการใช้ยาปลอดภัย (Patient Safety) การจัดการด้านยา ( MTM) ติดตามการใช้ยา • DM, HTN, CKD • Stroke (Warfarin) • High alert drug •Asthma /COPD
  • 56. ความแออัดใน รพ. พฤติกรรมเสี่ยงต่อการเป็นโรค ( บุหรี่ อ้วน เพศสัมพันธ์ ) ปัญหาการใช้ยาไม่เหมาะสม ท้องไม่พร้อม NCDs DM, HTN, Stroke CVD, CKD, CA ค่ารักษาพยาบาล ของประเทศเพิ่มขึ้น ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น โรคอุบัติใหม่ Public Health Problems of
  • 58. การให้บริการคัดกรองโรคเรื้อรังที่ร้านยาคุณภาพ ปี 57 กลุ่มเสี่ยงสูง, สูงมาก 1552 ราย (25%) กลุ่มเสี่ยงปานกลาง 1406 ราย (23%) กลุ่มเสี่ยงน้อย 1320 ราย (22%) กลุ่มไม่เสี่ยง 1824 ราย (30%) ติดตาม 2 ครั้ง ส่งต่อหน่วยบริการ รพ. ประชาชนคัดกรอง 6,102 ราย ยืนยันเป็นโรค รับการรักษา 169 ราย (11%) ให้ความรู้ ปรับพฤติกรรม เพื่อลดความเสี่ยง ดูแล ติดตามต่อเนื่อง ด้านยา ปรับพฤติกรรม พบว่า...25 % ของกลุ่มที่เสี่ยงสูงมาก..ไม่เข้าสู่หน่วยบริการ...
  • 60. MedicationTherapy Management : MTM (การจัดการด้านยา) 1. Medication therapy review (MTR) 2. A medication-related action plan (MAP) DRPs detection and correction -Adherence monitoring -Behavioral modification -Patient education ; โรค, ยา, self medication 5. A person medication record (PMR) 3. Monitoring and Intervention 4. Documentation and follow-up-Record กระบวนการทางาน Patient safety ลดปัญหาจากการใช้ยา • drug interaction • side effect • increase adherence Cost avoidance
  • 61. เภสัชกรชุมชนจัดการด้านยา (MTM) ที่ร้านยาคุณภาพ 1. Medication therapy review (MTR) 2. A medication-related action plan (MAP) 5. A person medication record (PMR) 3. Monitoring and Intervention 4. Documentation and follow-up-Record •Risk screening :DRPs •Assessment : adherence •Consultation : to develop a plan •Follow-up : improve medication used
  • 62. Services Benefit Refill • ภูเก็ต • สงขลา • ขอนแก่น • ลดเวลารอคอย • ลดค่าเดินทาง • ลดความแออัดในโรงพยาบาล • ลดความเสี่ยงปัญหาจากการใช้ยา • ติดตามการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง • ความพึงพอใจ 94.2% ลดปัญหาความแออัด ประหยัด และ ค่าใช้จ่าย
  • 64. ระยะเวลารอรับบริการ (นาที) - รพ.วชิระภูเก็ต 266.71 ± 87.44 - ร้านยา 17.86 ± 9.43 ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง (บาท) - รพ.วชิระภูเก็ต 77.14 ± 37.29 - ร้านยา 17.14 ± 7.59 ลดระยะเวลารอคอย ในการมารับบริการที่ รพ. ประหยัดค่าใช้จ่าย ในการเดินทางมา รพ. Phuket model ( การเติมยา เติมสุข )
  • 65. Songkhla model: Fast track (ระบบเติมยา)
  • 67.
  • 69. Community Pharmacy in Thailand Familiarity คุ้นเคย ใกล้ชิด รู้จัก ครอบครัว Efficiency ขั้นตอนน้อย ประหยัด สะดวก เข้าถึงง่าย ร้านยาคุณภาพช่วยเสริมงานในระบบหลักประกันสุขภาพ ช่วยพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ประชาชนได้เข้าถึงบริการที่ มีคุณภาพ มาตรฐานอย่าง ทั่วถึงและเป็นธรรม พัฒนาการบริการในพื้นที่ ที่ไม่มีหน่วยบริการเพียงพอ สนับสนุนงานส่งเสริมระบบ บริการสาธารณสุขของ หน่วยงานหลักอย่างต่อเนื่อง และมีมาตรฐานเช่นเดียวกัน Accessibility กระจาย จานวน ระยะเวลาบริการ
  • 70. ร้านยาคุณภาพ (Pharmacy Accreditation) 5 มาตราฐานหลัก (Best Practices) 1. สถานที่ อุปกรณ์ และสิ่งสนับสนุนการบริการ 2. การบริหารจัดการเพื่อคุณภาพ 3. การบริหารเภสัชกรรมที่ดี 4. การปฏิบัติตามกฎระเบียบ และจริยธรรม 5. การให้บริการ และการมีส่วนร่วมในชุมชนและสังคม ณ วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2558 ร้านยาคุณภาพ 1,001 ร้าน • กทม. 354 ร้าน • ต่างจังหวัด 647 ร้าน
  • 72. Learning Management System Community Pharmacist Home Health Care Knowledge Community (Forum, blog) KM&LMS Case Discussion (Why) Broadcast Learning Management System (LMS) • Pharmacy Student Training • MTM Training • New Pharmacist Training • Clinical Pharmacy Areas • คู่มือ GPP- self development • Web-based learning e.g. • เครือข่ายร้านยาคุณภาพ – case – based learning • หลักสูตรเภสัชกรครอบครัว คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น • หลักสูตรนวตกรรม คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตร FCPL ของสภาเภสัชกรรม ร่วมกับ เภสัชกรโรงพยาบาล
  • 73. เสนอร้านยาคุณภาพเป็นหน่วยเชื่อมระบบในระดับปฐมภูมิ 1. การเชื่อมต่อเชิงระบบด้านยา ในทุกระดับ การเชื่อมโยงด้านสาธารณสุขต่อเชิงระบบด้านยา Tertiary- Secondary-Primary care –ร้านยาคุณภาพ - ผู้ป่วย – ครอบครัว- ชุมชน ... ประโยชน์: - สร้างความเข้มแข็งสุขภาพในระดับชุมชนโดยเฉพาะสังคมเมือง - ลดความแออัด ประหยัดเวลา ลดค่าใช้จ่าย 2. สร้างระบบการติดตามต่อเนื่องด้านยา ส่งต่อและส่งกลับผู้ป่วยเข้าสู่ระบบ ประโยชน์: สร้างการปลอดภัยด้านยา ลดความเสี่ยงจากการใช้ยา 2.1 ติดตามการใช้ยาที่ร้านยาคุณภาพ ระบบการขึ้นทะเบียนเฉพาะโรค 2.2 การเยี่ยมบ้านเฉพาะโรค ส่งต่อจากระดับฑุติยภูมิ ตติยภูมิ บริการงานMTM ข้อเสนอเชิงนโยบาย
  • 74. 3. เครือข่ายคลินิกอดบุหรี่ ในร้านยาคุณภาพ ประโยชน์: สะดวกในการเข้าถึงบริการปรึกษาการเลิกบุหรี่ 4. หน่วยบริการเสริมสาธารณสุขในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง และ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ที่ร้านยาคุณภาพ ประโยชน์: สร้างโอกาสในการเข้าถึงงานบริการสาธารณสุขเบื้องต้น 5. หน่วยสถานีสุขภาพระดับชุมชนในการเฝ้ าระวังโรคติดต่อ ประโยชน์: สร้างความเข้มแข็งในระดับชุมชน ข้อเสนอเชิงนโยบาย ร้านยาคุณภาพ มีมาตราฐานงานบริการ สะดวกต่อการเข้าถึง ระยะทาง เวลา เป็นโอกาสของความคุ้มค่าการดูแลสุขภาพในระดับชุมชน
  • 76. ประเด็น ร้านยากับระบบประกันสุขภาพ  สปสช จานวนร้านยาการเชื่อมต่อพื้นที่ ต่อประชากร ......  สปส รูปแบบ หรือกิจกรรม  ข้าราชการ รูปแบบ หรือกิจกรรม  ประกันเอกชน รูปแบบหรือกิจกรรม กฏหมาย ระเบียบ การเจรจา งานวิจัย หน่วยงาน ยอมรับ ระยะเวลา ???????
  • 77. ประเภทของหน่วยบริการ ตามข้อบังคับสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติว่าด้วย หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการและเครือข่าย หน่วยบริการ พ.ศ.2547 แบ่ง 4 ประเภท ข้อที่ 1.3 “หน่วยบริการร่วมให้บริการ” หมายถึง สถานบริการที่มีลักษณะ ดังนี้ • สถานบริการที่จัดบริการสาธารณสุขไม่ครบเกณฑ์ระดับปฐมภูมิ • ได้ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการร่วมให้บริการสาธารณสุขเฉพาะด้านใดด้านหนึ่ง • มีข้อตกลงเป็นหนังสือกับหน่วยบริการประจา ในการให้บริการสาธารณสุขแก่ผู้มีสิทธิ • ได้รับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขจากหน่วยบริการประจาตามข้อตกลง
  • 78. การเชื่อม (Network) ข้อมูล PCU (โรงพยาบาลชุมชน) คลีนิคชุมชนอบอุ่น Hospital การส่งข้อมูล เชื่อมต่อการดูแลรักษาแบบต่อเนื่อง
  • 79. จัดการข้อมูล • National Clearing House • Association  Software  Hardware  Staff / Team • TMT: Thai Medical Terminology • Barcode • QR code มาตราฐานรหัสยา ระบบเชื่อมต่อ ระบบการจัดการ Reimbursement Refer data
  • 80. ประเด็น การจัดการความเสี่ยง  มาตราฐานระบบในร้านยา ◦ การจัดหาสินค้า ◦ การจ่ายยา ◦ การบริการ ◦ การบันทึกข้อมูล ◦ การจัดการปัญหา  ทีมนักกฎหมาย  การซื้อประกันอาชีพ (Professional Liability)
  • 81. แนวคิดการแก้ปัญหา 1. Procurement system (ระบบการจัดหา) 2. Logistic (ระบบการสั่งสินค้า) 3. Management skill (ทักษะการจัดการ) 4. Professional service (รูปแบบการบริการ) 5. HR & Career development (การพัฒนาคนและงาน) 6. Information Technology (เทคโนโลยีสารสนเทศ) 7. Investment (การลงทุน)
  • 82. Value Chain Analysis ◦ บุคคล  การบริหารเภสัชกร  การพัฒนาบุคคล  ความรับผิดชอบต่อการ ให้บริการ ◦ ระบบการบริหารจัดการ  ระบบบัญชี  ระบบฐานข้อมูล  ระบบมาตรฐาน  ระบบการตลาด ◦ งบการลงทุน
  • 83. ต้นทุน จากระบบการคัดเลือกสินค้า ต้นทุกการจัดซื้อ / จัดหา ต้นทุกการเก็บรักษา ต้นทุนการสูญเสีย ต้นทุนเอกสาร ต้นทุนควบคุมคุณภาพ ต้นทุการบริหารจัดการ ต้นทุนสินค้า ต้นทุนเสียโอกาส ประสิทธิภาพการจัดการ ผลประกอบการสูงสุด ต้นทุนต่าสุด
  • 84. หน่วยงานประเมินร้านยา ใบอนุญาติ สานักยา / สจจ ตรวจร้าน GPP สสจ. / อย. /.......???? ร้านยาคุณภาพ สรร. / ........ ???? เตรียมความพร้อม สมาคม...ชมรม.../ ???? ระบบการตรวจสอบร้าน?????? กระบวนการ ... รูปแบบ... โครงสร้างองค์กร... การจัดการ อัตราค่าใช้จ่าย
  • 85. การจัดหาเภสัชกร  จานวนต่อร้าน  จานวนต่อพื้นที่  จานวนต่องานบริการ  จานวนต่อระบบการจ่ายยา ใบสั่งยา  ระบบการจัดหา... Allocation….
  • 86. มหาวิทยาลัย ระบบฝึกงาน สัดส่วน 1:4 สภาเภสัชกรรม (คัดเลือก) ระบบเตรียมความพร้อมการฝึกงาน ระบบการจัดหาเภสัชกร ระบบใช้ทุนในร้านยา ระบบการพัฒนางานร่วมกับมหาวิทยาลัย ระบบสนับสนุนวิชาการ การประชุมวิชาการ ระบบงานวิจัย ประเด็นในร้านยาเชื่อมระบบบริการ 19 มหาวิทยาลัย 1,900 คน ระบบการฝึกงาน ภาคบังคับปี 4 เลือกวิชาร้านยา ปี 6 สอบ 2 ครั้ง ปี 4 และ ปี 6
  • 87. International Program Young Community Pharmacists FAPA, FIP Bridge International Pharmacy Linkage
  • 88. การก้าวสู่ผู้นาวิชาชีพเภสัชกรชุมชน งานวิจัย R2R2P นาร่องพัฒนางาน แหล่งวิชาการ เปิ ดบทบาทเชิงรุก • สู่ประชาชน • ร่วมงานองค์กรอื่น ยอมรับจากสังคม ประชาชน / วิชาชีพอื่นๆ ระบบสาธาณสุข
  • 89. ร้านยากับความยั่งยืน 1. เน้นแสดงศักยภาพในหารบริการวิชาชีพ 2. พัฒนาต่อเนื่อง หาโอกาสสร้างรายได้ 3. สร้างโอกาสทางธุรกิจในตลาดใหม่ ลูกค้าใหม่ (White Ocean) 4. สร้างภาพลักษณ์ เพื่อนาไปสู่การยอมรับของประชาชน 5. สร้างเครือข่าย และ การรวมตัวช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 6. การสร้างมาตราฐานการบริการ กระบวนการเรียนรู้ 7. ข้อมูลงานวิจัย 8. การเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบาย.....ใคร.....อย่างไร 9. ธรรมาภิบาลองค์กร
  • 90. Q&A ขอขอบคุณ Self care & Self medication Quality used of medicineHealth informa tion center Health promotion & prevention Seamless care & Quality care ร้านยาคุณภาพ เติมเต็ม เพื่อความเข้มแข็ง ของระบบบริการสาธารณสุขไทย