SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ
ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32.
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 5
บทที่ 1 ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย
หนา
บทนํา ……………………………………………………………………………………………………………… 7
1. การคัดเลือกยา …………………………………………………………………………………………………. 7
2. การจัดหาและกระจายยา ………………………………………………………………………………………. 9
3. การเงินการคลังที่เกี่ยวกับยา …………………………………………………………………………………… 11
4. การใชยา ………………………………………………………………………………………………………... 13
5. ยาแผนโบราณและยาจากสมุนไพร ……………………………………………………………………………. 15
6. นโยบายแหงชาติดานยา ……………………………………………………………………………………….. 17
7. กฎหมายเกี่ยวกับยา ……………………………………………………………………………………………. 19
8. ระบบขอมูลขาวสารดานยา …………………………………………………………………………………….. 21
9. อุตสาหกรรมผลิตยาแผนปจจุบัน ………………………………………………………………………………. 23
10. การพัฒนาและการจัดการทรัพยากรมนุษยในระบบยา ……………………………………………………… 25
11. การคาระหวางประเทศกับระบบยา …………………………………………………………………………… 27
12. วิกฤตเศรษฐกิจ พ.ศ.2540 กับระบบยา ………………………………………………………………………. 29
สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ
ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32.
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย6
สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ
ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32.
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 7
บทที่ 1
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย
บทนํา
กระแสโลกาภิวัตนมีอิทธิพลเปนอยางมากตอระบบสุขภาพของไทยรวมทั้งระบบยา ทั้งนี้ สวนหนึ่งเนื่องมาจากการ
ยอมรับเอาแนวความคิดและเทคโนโลยีทางการแพทยแบบตะวันตกเขามาเปนกระแสหลักในการบําบัดรักษาและปองกันโรค
สําหรับประชาชนในประเทศมาเปนเวลานานหลายทศวรรษ จนเกิดภาวะพึ่งพิงเทคโนโลยีและสิ่งประดิษฐ เชน ยา หรืออุปกรณ
ตางๆ ที่พัฒนาขึ้นจากแนวทางและองคความรูตามแบบแผนดังกลาว ในขณะที่การวิจัยและพัฒนาเพื่อสรางสรรคองคความรู
เหลานั้นเกิดขึ้นในประเทศไทยนอยมาก การที่ตองนําเขาเทคโนโลยีและผลิตภัณฑทางการแพทยซึ่งสวนใหญมีราคาแพงจาก
ตางประเทศไดกอใหเกิดผลกระทบที่เห็นไดชัดระหวางภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจในป 2540 และนํามาซึ่งการปรับตัวของ
องคประกอบตางๆ ในระบบยาและระบบสุขภาพเพื่อรองรับผลกระทบตอสถานะทางการเงินการคลังที่เปลี่ยนแปลงไป
ผลสืบเนื่องจากโลกาภิวัตนที่มีตอระบบยาอีกประการหนึ่ง ไดแก การปฏิบัติตามขอตกลงระหวางประเทศ ซึ่งบาง
กรณีอาจสงผลเสียอยางรุนแรงตอระบบสุขภาพโดยรวมหากไมมีมาตรการแกไขที่เหมาะสม เชน ขอตกลงขององคการการคา
โลกวาดวยการคุมครองสิทธิในทรัพยสินทางปญญาที่เกี่ยวกับการคา (Agreement on Trade-Related Aspect on Intellectual
Property Rights – TRIPs) เปนตน นอกจากนี้ การไหลบาของขอมูลขาวสารในโลกยุคไรพรมแดน สวนหนึ่งไดเหนี่ยวนําใหเกิด
ปญหาการบริโภคยาและบริการทางการแพทยอยางไมสมเหตุผลขึ้น แตในทางตรงขาม ขอมูลขาวสารดานยาจากตางประเทศ
จํานวนไมนอยไดถูกนํามาใชเปนประโยชนในการกําหนดมาตรการเพื่อคุมครองผูบริโภคในประเทศไทย
รายงานการศึกษาวิเคราะหระบบยาของประเทศไทยฉบับนี้ แบงเนื้อหาตามองคประกอบของระบบยาออกเปน 12
หัวขอ ซึ่งสะทอนสถานการณปจจุบัน แนวโนมในอนาคต และขอเสนอแนะในการพัฒนาแตละองคประกอบไวอยางละเอียด
โดยสวนหนึ่งไดนําเสนอขอมูลที่ชี้ใหเห็นความเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับระบบยาในระยะ 10 ปที่ผานมา
1. การคัดเลือกยา (1)
กระบวนการคัดเลือกยาในระดับประเทศ ไดแก การขึ้นทะเบียนตํารับยา ซึ่งรวมทั้งการทบทวนทะเบียนตํารับยานั้น
เปนกระบวนการที่มีหลักการ รายละเอียดและวิธีปฏิบัติตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติยา พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอ
จิตและประสาท และพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ รวมทั้งกฎหมายอื่นๆ ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติดังกลาว เชน
กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง และคําสั่งกระทรวงสาธารณสุข เปนตน ทั้งนี้ การขึ้นทะเบียนตํารับยามีวัตถุประสงคที่จะ
คัดเลือกยาที่มีประสิทธิผลในการรักษา ปลอดภัย และมีคุณภาพไดมาตรฐาน
หลักเกณฑและวิธีการขึ้นทะเบียนตํารับยาในประเทศไทยมีพัฒนาการมาเปนเวลายาวนาน แตในปจจุบันพบวายังมี
จุดออนหลายประการ เชน การอนุญาตใหขึ้นทะเบียนตํารับยาแบบตลอดชีพ โดยไมมีขอกําหนดใหมีการตออายุทะเบียนพรอม
กับการประเมินซ้ําในระยะเวลาที่ตายตัว ในขณะที่การขาดนโยบายที่ชัดเจนเกี่ยวกับการทบทวนทะเบียนตํารับยาทําใหไมมีการ
กําหนดแผนงานที่ชัดเจนและไมมีการปฏิบัติอยางสม่ําเสมอและจริงจัง เปนเหตุใหยังคงตองรับขึ้นทะเบียนตํารับยาที่มีตัวยา
สําคัญหรือสูตรตํารับที่ไมเหมาะสม (ตัวอยางในตารางที่ 1.1) ขอกําหนดเรื่องการศึกษาชีวสมมูลย (bioequivalence study) มี
ผลบังคับใชเฉพาะยาสามัญเลียนแบบยาใหมที่ขึ้นทะเบียนตํารับยาภายหลังป พ.ศ.2532 การพิจารณาตัดสินใจโดย
สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ
ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32.
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย8
คณะอนุกรรมการและคณะทํางานที่เกี่ยวของโดยไมมีหลักเกณฑที่แนชัด ซึ่งทําใหผลการพิจารณาจากการประชุมแตกตางกันไป
ขึ้นกับวิจารณญาณของผูเขาประชุมแตละครั้ง เปนตน จุดออนเหลานี้ชี้ใหเห็นวากระบวนการคัดเลือกยาระดับประเทศอาจจะไม
สามารถบรรลุวัตถุประสงคตามที่กลาวขางตน
ตารางที่ 1.1 ตัวอยางสูตรตํารับยาที่ไมเหมาะสมแตยังคงไดรับอนุญาตใหจําหนายในประเทศไทย
(1) Dipyrone + Potassium citrate (aqueous solution for children, syrup)
(2) Dipyrone + Paracetamol (compressed tablet)
(3) Phenylbutazone + Dipyrone (sterile solution, hard capsule, film coated tablet)
(4) Phenylbutazone + Indomethacin (hard capsule)
(5) Phenylbutazone + Dimenhydrinate (compressed tablet)
(6) Phenylbutazone + Aluminium hydroxide gel (compressed tablet, hard capsule)
(7) Cyproheptadine + Methadiene (hard capsule, syrup)
(8) Chloramphenicol + streptomycin (suspension)
ที่มา : ดัดแปลงจากคณะทํางานศึกษาวิเคราะหการคัดเลือกยา (1)
เนื่องจากการขึ้นทะเบียนตํารับยาในประเทศไทยเปนแบบตลอดชีพ ตํารับยาที่ไดรับการขึ้นทะเบียนจึงสะสมมี
จํานวนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในแตละป อัตราการขึ้นทะเบียนตํารับยาที่มิใชยาใหมระหวางป พ.ศ.2526 – 2544 โดยเฉลี่ย1,350 ตํารับ
ตอป สวนยาใหมมีการขึ้นทะเบียนตํารับยาโดยเฉลี่ย 103 ตํารับตอป ปจจุบันอัตราการขึ้นทะเบียนตํารับยาทุกประเภทมี
แนวโนมสูงขึ้น ในขณะที่มีการเพิกถอนทะเบียนตํารับยาระหวางป พ.ศ.2526 – 2544 เพียง 50 คําสั่ง ณ วันที่ 10 มกราคม
พ.ศ.2545 มีทะเบียนตํารับยาแผนปจจุบันสําหรับมนุษยอยูรวมทั้งสิ้น 25,616 ตํารับ
ภายหลังวิกฤตทางเศรษฐกิจในป พ.ศ.2540 บัญชียาหลักแหงชาติมีความสําคัญมากขึ้น เนื่องจากมีการนําบัญชียา
ดังกลาวไปใชเปนบัญชีอางอิงชุดสิทธิประโยชนของสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ ซึ่งเปนเหตุใหมีการแกไขปรับปรุงบัญชี
ยาหลักฯ ครั้งสําคัญในเวลาตอมา บัญชียาหลักฯ ฉบับใหมซึ่งประกาศใชในป พ.ศ.2542 ไดถูกจัดทําขึ้นโดยมีปรัชญาและแนวคิด
ที่แตกตางไปจากเดิม รวมทั้งมีการกําหนดหลักเกณฑการคัดเลือกยาเขาสูบัญชีขึ้นใหม โดยใหมีความครอบคลุมรายการยาที่
จําเปนในการรักษาโรคและแกไขปญหาสาธารณสุขของประเทศอยางกวางขวาง โดยเฉพาะอยางยิ่งเหมาะที่จะนําไปใชเปนบัญชี
รายการยาที่สามารถเบิกคายาจากสวัสดิการสุขภาพตางๆ และเนนใหนําหลักการทางดานเภสัชเศรษฐศาสตรมาใชในการคัดเลือก
ยา ในการจัดทําบัญชียาหลักฯ พ.ศ.2542 นี้ เปนครั้งแรกที่มีการแตงตั้งคณะทํางานที่มีความเชี่ยวชาญดานตางๆ รวม 23 คณะ
เพื่อทําหนาที่พิจารณากลั่นกรองรายการยากอนนําเสนอคณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแหงชาติ อยางไรก็ตาม พบวาการ
พิจารณาของคณะทํางานคณะตางๆ มีความลักลั่นในการปฏิบัติตามหลักเกณฑ รวมทั้งมีการประเมินตนทุน – ผลไดของยาแตละ
รายการที่นํามาคัดเลือกนอยมาก ดวยหลักการที่จะใหบัญชียาหลักฯ ฉบับใหมมีความครอบคลุมรายการยาอยางกวางขวาง ทําให
รูปแบบของบัญชียาดังกลาวซึ่งมีลักษณะเปน minimal list มาตั้งแตเริ่มจัดทําในป พ.ศ. 2524 มาเปน maximal list โดยมีรายการ
ยาเพิ่มขึ้นจาก 408 รายการในป พ.ศ.2524 เปน 933 รายการ ในป พ.ศ.2542
สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ
ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32.
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 9
การคัดเลือกยาเขาสูบัญชียาโรงพยาบาลอยูในความรับผิดชอบของโรงพยาบาลแตละแหง กระบวนการดังกลาวจึง
แตกตางกันไปในรายละเอียด แตก็มีหลักเกณฑบางประการคลายคลึงกัน ไดแก การพิจารณาประสิทธิผลและความเสี่ยงตอ
อันตรายจากการใชยา คาใชจายที่เกิดขึ้น ความสะดวกในการใชยา โดยพิจารณาเปรียบเทียบกับยาเดิมในกลุมเดียวกันที่ใชอยูใน
โรงพยาบาล ใบรับรองการปฏิบัติตามหลักเกณฑวิธีการที่ดีในการผลิตยา (Good Manufacturing Practices – GMP) เปน
หลักฐานยืนยันคุณภาพมาตรฐานของยาอยางหนึ่งที่โรงพยาบาลในสังกัดตางๆ ใหความสําคัญ ไมพบวามีโรงพยาบาลใดนํา
หลักการทางเภสัชเศรษฐศาสตรมาใช นอกจากนี้ สําหรับโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขยังตองคัดเลือกยาใหเปนไป
ตามแนวทางที่กําหนดในแผนแมบทการพัฒนาสุขภาพที่ดีดวยตนทุนต่ํา (Good Health at Low Cost) ซึ่งนํามาใชในการบริหาร
เวชภัณฑ เพื่อควบคุมคาใชจายตั้งแตเกิดภาวะวิกฤตเศรษฐกิจอีกดวย
ขอเสนอเพื่อการพัฒนา :
(1) มีกลไกและกําลังคนที่มีประสิทธิภาพในการทบทวนทะเบียนตํารับยาและติดตามความปลอดภัย
(2) มีกรอบในการติดตามประเมินผลการใชบัญชียาหลักแหงชาติ
(3) มีกลไกและกําลังคนที่มีประสิทธิภาพในการประเมินเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนขอมูลดานเศรษฐศาสตรในการ
คัดเลือกยา
(4) ขอเสนอในการวิจัย :
• การวิจัยดําเนินการ (Operational research) เพื่อพัฒนาตัวแบบ (model) ของโครงสรางและกระบวนการ
ในการขึ้นทะเบียนตํารับยา การทบทวนทะเบียนตํารับยา และการคัดเลือกยาเขาบัญชียาของโรงพยาบาล
(ภาครัฐ) รวมทั้งพัฒนาฐานขอมูลการขึ้นทะเบียนตํารับยาและการคัดเลือกยาทั้งประเทศ
• การวิจัยอยางตอเนื่องดานเศรษฐศาสตร โดยเฉพาะการศึกษาตนทุน -ประสิทธิผลของยา
2. การจัดหาและกระจายยา (2)
ขนาดของตลาดยาในประเทศไทยมีแนวโนมขยายตัวอยางตอเนื่อง ถึงแมจะมีการหยุดชะงักในป พ.ศ.2541 ซึ่งเปน
ระยะแรกของวิกฤตเศรษฐกิจ แตหลังจากนั้นก็กลับขยายตัวเพิ่มขึ้นอีก นอกจากนี้ ในชวง 10 ปที่ผานมา สัดสวนมูลคายาที่นําเขา
จากตางประเทศมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น กลาวคือ เพิ่มจากรอยละ 31 ในป พ.ศ.2533 เปนรอยละ 47 ในป 2543 ซึ่งชี้วายาที่ผลิตใน
ประเทศมีความสําคัญลดลงในเชิงมูลคา รวมทั้งเปนการบงชี้ถึงภาวะการพึ่งพิงยาที่ผลิตจากตางประเทศที่เพิ่มสูงขึ้น
ผูผลิตและผูนําเขายาในประเทศไทยมีทั้งหนวยงานในภาครัฐและผูประกอบการภาคเอกชน ในระยะ 3 ปหลัง
(พ.ศ.2542 – 2544) โรงงานผลิตยาของเอกชนมีจํานวนลดลงจาก 178 แหงเปน 171 แหง ในจํานวนบริษัทผลิตยาสําเร็จรูปที่มี
ยอดการจําหนายสูงสุด 10 อันดับแรก มีโรงงานยาของเอกชนไทยเพียงโรงงานเดียวที่ติดอันดับดังกลาว
การแขงขันของผูผลิตและผูนําเขายาในการจําหนายยาใหกับหนวยราชการเปนการแขงขันแบบไมสมบูรณ องคการ
เภสัชกรรมเปนรัฐวิสาหกิจที่ผลิตยาและเปนตัวแทนจําหนายยารายใหญปอนใหกับโรงพยาบาลของรัฐ โดยอาศัยขอไดเปรียบใน
การแขงขันกับผูผลิตและผูแทนจําหนายยารายอื่นจากเงื่อนไขเรื่องการจัดซื้อจัดหายาที่กําหนดในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา
ดวยการพัสดุ สัดสวนมูลคายาที่องคการเภสัชกรรมจําหนายใหแกภาครัฐสูงถึงรอยละ 85 ของยอดการจําหนายทั้งหมดในป
พ.ศ.2533 แลวเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 92 และ 94 ในป พ.ศ.2540 และ 2544 ตามลําดับ จากการที่ยาสวนใหญที่องคการเภสัชกรรม
ผลิตเปนยาในบัญชียาหลักแหงชาติ ประกอบกับการเอื้อประโยชนจากขอกําหนดในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีที่กลาวขางตน
สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ
ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32.
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย10
เปนเหตุใหองคการเภสัชกรรมไดรับประโยชนจากการผูกขาดการจําหนายยาใหแกสวนราชการ ตลอดจนเปนปจจัยหนึ่งที่ทําให
องคการเภสัชกรรมไดรับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจในป พ.ศ.2540 นอยที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับผูผลิตรายอื่น โดยพบวา
ยอดการจําหนายยาขององคการเภสัชกรรมไมลดลง
ยาที่ผลิตหรือนําเขามาในประเทศถูกกระจายสูผูบริโภคผานชองทางตางๆ ตามเงื่อนไขที่กําหนดในกฎหมายและ
มาตรการที่เกี่ยวของ เชน ยาควบคุมพิเศษหรือวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาทตองจําหนายโดยเภสัชกรเมื่อมีใบสั่งยาจาก
แพทย หามการจําหนายยาใหมที่ขึ้นทะเบียนตํารับยาแบบมีเงื่อนไขนอกสถานพยาบาล เปนตน ในภาพรวม โรงพยาบาลและราน
ยาเปนชองทางกระจายยาที่สําคัญที่สุด ถึงประมาณรอยละ 90 ของมูลคายาทั้งหมด (ภาพที่ 1.1) ยาที่กระจายผานโรงพยาบาลเปน
มูลคาสูงสุด ไดแก กลุมยาปฏิชีวนะและยารักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด ในขณะที่ยาบรรเทาอาการ เชน ยาแกหวัดคัดจมูก ยา
อม ยาลดไขบรรเทาปวด เปนยาที่มีการกระจายผานรานยาเปนมูลคาสูงสุด
ภาพที่ 1.1 ชองทางหลักและสัดสวนการกระจายยาของประเทศไทย ป 2543
ผูผลิต/ผูนําเขา
(Manufacturers/Importers)
ผูแทนจําหนาย
(Agent/Distributor)
จัดจําหนายโดยตรง
(Own distribution)
ผูคาสง (Wholesalers)
องคการเภสัชกรรม
(Government Pharmaceutical
Organization, GPO)
คลินิก
(Private
clinics) (7%)
รานขายยา ขย.1 และ
2(Retail drug stores
A&B ) (32%)
อื่นๆ
(others)
(3%)
โรงพยาบาลภาครัฐ
สถานีอนามัย และศบส. (44%)
6%
6% 1% 4% 30% 1% 1% 55% 2%
3%
ที่มา : คณะทํางานศึกษาวิเคราะหการจัดหาและการกระจายยา (2)
หมายเหตุ: อื่นๆ หมายถึง ชองทางกระจายยานอกระบบ เชน รถเร รานสะดวกซื้อ รานชํา เปนตน
(Non-medical outlets e.g., Mobile units, supermarkets, groceries, etc.)
ศบส. หมายถึง ศูนยบริการสาธารณสุข
รพ.เอกชน(Private
hospitals) (14%)
สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ
ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32.
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 11
การจําหนายยาในรานขายของชํา ซูเปอรมารเกต รานสะดวกซื้อ การจําหนายยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษ วัตถุที่ออก
ฤทธิ์ตอจิตและประสาทในรานขายยาแผนปจจุบันบรรจุเสร็จที่ไมใชยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ (ขย.2) รวมทั้งแหลงอื่นๆ ที่
ไมถูกตองตามกฎหมายเปนสิ่งที่พบไดทั่วไป การขายตรง (direct sale) และการขายยาผานอินเตอรเนตเปนชองทางการกระจาย
ที่สําคัญของยาบางกลุม ซึ่งปจจุบันยังไมมีวิธีควบคุมที่มีประสิทธิผล และสวนใหญเกิดขึ้นควบคูไปกับการโฆษณาสงเสริมการ
ขายโดยไมไดรับอนุญาต การกระจายยาผานแหลงที่กลาวนี้เปนปจจัยหนึ่งที่ทําใหเกิดการใชยาอยางไมสมเหตุผล
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุเปนกรอบที่โรงพยาบาลในภาครัฐตองปฏิบัติตามในการจัดซื้อจัดหายา
ดวยเงินงบประมาณ นอกจากนี้ สําหรับโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขยังตองดําเนินการตามระเบียบและประกาศ
กระทรวงสาธารณสุขที่เกี่ยวของ รวมทั้งเมื่อเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในป พ.ศ.2540 กระทรวงฯ ยังไดดําเนินการปฏิรูประบบบริหาร
เวชภัณฑตามแผนแมบทการพัฒนาสุขภาพที่ดีดวยตนทุนต่ํา ซึ่งมีขอกําหนดตางๆ เพิ่มเติมจากระเบียบที่เคยปฏิบัติอยูเดิม เชน
การกําหนดจํานวนรายการยาสูงสุดสําหรับโรงพยาบาลแตละระดับ สัดสวนจํานวนรายการยาในบัญชียาหลักแหงชาติและยา
นอกบัญชียาหลักฯ การจัดซื้อยารวมกันในระดับจังหวัด และการสํารองยา เปนตน
ความเปลี่ยนแปลงของรานยาในประเทศไทยในชวงทศวรรษที่ผานมา ไดแก การจัดการรานยาระบบลูกโซ (chain
store) และรานยาระบบแฟรนไชสหรือแบบเอกสิทธิ์ (franchise) ซึ่งเริ่มแพรหลาย และมีแนวโนมวาจะเพิ่มจํานวนขึ้น พรอม
กับการเขามามีสวนแบงการตลาดสูงขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับรานยาแบบดั้งเดิม สวนการจัดหายาสําหรับโรงพยาบาลก็เริ่มจะมีการ
นํารูปแบบใหมเขามาใช โดยเฉพาะอยางยิ่งในโรงพยาบาลเอกชนบางเครือขาย เชน การจัดหายาผานตัวกลางที่เรียกวา ผูขายหลัก
(prime vender) หรือ supply chain ซึ่งเปนรูปแบบที่คาดวาจะแพรหลายตอไปในอนาคต
ขอเสนอเพื่อการพัฒนา : การพัฒนาระบบจัดหายาของสถานพยาบาลและรานยาควรดําเนินการใหสอดคลองและเกิด
ประโยชนกับการโครงการหลักประกันสุขภาพถวนหนาในระยะตอไป โดยการนําวิธีการจัดการวิธีใหมๆ ในการจัดหายาเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพของระบบบริการ ทั้งนี้ ตองคํานึงถึงรูปแบบและหนาที่ของระบบบริการสุขภาพแตละระดับ และความรวมมือ
ระหวางสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชน นอกจากนี้ ควรเรงรัดการแกไขระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ
เกี่ยวกับการจัดซื้อยาโดยสวนราชการ รวมทั้งปรับปรุงบทบาทขององคการเภสัชกรรมควบคูกับการพัฒนาศักยภาพของผูผลิตยา
ภาคเอกชน โดยมีจุดมุงหมายทั้งการแขงขันที่สมบูรณในตลาดยาและความมั่นคงทางดานยาของประเทศ
ขอเสนอในการวิจัย : ศึกษาประสิทธิผลและประสิทธิภาพของระบบการจัดหายาดวยวิธีการจัดการรูปแบบตางๆ ที่
เหมาะสมสําหรับเครือขายบริการสุขภาพภายใตโครงการหลักประกันสุขภาพถวนหนา
3. การเงินการคลังที่เกี่ยวกับยา (3)
ปจจุบัน มีการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวของกับการเงินการคลังดานยาในประเทศไทยอยูไมมาก การนําเสนอภาพในบาง
ประเด็นจึงตองอาศัยการอางอิงขอมูลการเงินการคลังดานสุขภาพเปนหลัก ตัวเลขดังกลาวเปนผลรวมของคาบริการ คาตรวจทาง
หองปฏิบัติการ คาหองพัก คาอาหาร และคายา ทั้งนี้ โดยอนุมานจากการที่ยาเปนองคประกอบที่สําคัญของการใหบริการใน
ระบบสุขภาพ เชน ถือวาแหลงที่มาของรายจายดานยาเปนไปในทิศทางเดียวกับรายจายดานสุขภาพ ดวยวิธีดังกลาวพบวาในป
2543 แหลงที่มาของรายจายดานยาสวนใหญ (รอยละ 64) มาจากครัวเรือนและนายจาง รองลงมาไดแกงบประมาณของรัฐที่
จัดสรรใหแกกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงอื่นๆ (รอยละ 23) สัดสวนของเงินที่จายโดยตรงเพื่อการรักษาพยาบาลสมาชิก
สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ
ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32.
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย12
ในครัวเรือนนี้มีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง ในขณะที่รายจายจากภาครัฐมีสัดสวนสูงขึ้น ตั้งแตป พ.ศ.2533 เปนตนมา โดย
เพิ่มขึ้นจากรอยละ 21 ในป พ.ศ.2533 เปนรอยละ 33 ในป พ.ศ.2543 (ภาพที่ 1.2)
ภาพที่ 1.2 รายจายดานสุขภาพของประเทศไทยและสัดสวนของรายจายจากภาครัฐและครัวเรือน, พ.ศ.2531 – 2541
ในมูลคา พ.ศ.2531
แหลงขอมูล : สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ (บรรณาธิการ) (4)
สําหรับการคํานวณคาใชจายดานยานั้นก็ประสบปญหาขาดขอมูลที่ชัดเจนเชนเดียวกัน ผลการคํานวณที่ไดจากวิธีการ
และการใชขอมูลพื้นฐานจากแหลงตางๆ ไมสามารถสอบทานความถูกตองซึ่งกันและกันได เนื่องจากใหผลแตกตางกันมากและ
สวนหนึ่งขาดการศึกษาในลักษณะอนุกรมเวลาทําใหขอมูลขาดหายไปในบางป อีกทั้งการแปลความขอมูลยังตองใชความ
ระมัดระวังและใหความสําคัญกับฐานราคาที่นํามาใช เชน ราคาหนาโรงงาน ราคาขายสง ราคาขายปลีก เปนตน แตไมวาจะ
คํานวณดวยวิธีใด มูลคายาที่บริโภคภายในประเทศมีแนวโนมสูงขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงป พ.ศ.2539 – 2540 ซึ่งเศรษฐกิจ
ไทยมีการเจริญเติบโตสูงกวาปกติ แมมูลคาการบริโภคยาจะลดลงในป พ.ศ.2541 ซึ่งนาจะมีสาเหตุจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ แต
ตัวเลขดังกลาวก็กลับเพิ่มสูงขึ้นอยางมากในปตอมา อยางไรก็ตาม คาดการณวาตั้งแตป พ.ศ.2544 – 2549 คาใชจายดานสุขภาพ
โดยรวมจะเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง โดยเพิ่มประมาณรอยละ 2 – 3 และคาดวาคาใชจายดานยาจะเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน
นอกจากนี้ ยังพบวาสัดสวนรายจายสําหรับยาที่นําเขาจากตางประเทศมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น
คาใชจายดานยาของประเทศไทยคิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 31 ของรายจายดานสุขภาพทั้งหมด (เฉลี่ยตั้งแตป
พ.ศ.2526 – 2541) ซึ่งสูงมากเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่พัฒนาแลว แตก็นับวาไมสูงเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศกําลังพัฒนา
ดวยกัน ในขณะที่ไทยมีอัตราการเขาถึงยาจําเปนสูงถึงรอยละ 95 (ป พ.ศ.2542) แตเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่มีระดับการ
พัฒนาใกลเคียงกันพบวา ถึงแมไทยจะมีอัตราการเขาถึงยาจําเปนสูงมาก แตไทยก็มีคาใชจายดานสุขภาพสูงกวาเชนกัน ตัวเลข
เหลานี้ชี้วาประสิทธิภาพของการคลังดานยาของประเทศไทยมีปญหาและมีโอกาสที่จะพัฒนาไดอีกมาก
0
10
20
30
40
50
60
70
80
90
2531 2532 2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543
รอยละ
0
20
40
60
80
100
120
140
160
180
200
พันลานบาท
ภาครัฐ ครัวเรือน รายจายรวม
สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ
ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32.
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 13
จากการคาดการณแนวโนมของคาใชจายดานยาของประเทศไทยในอนาคต ปจจัยที่มีผลทําใหปริมาณการใชยาเพิ่ม
สูงขึ้นประกอบดวย สถานะเศรษฐกิจที่เริ่มฟนตัว ระบบประกันสุขภาพถวนหนา กลุมโรคที่ตองการการรักษาตอเนื่องรวมทั้ง
โรคเอดส และกลุมประชากรสูงอายุ สําหรับปจจัยที่มีผลทําใหยามีราคาเพิ่มขึ้น ไดแก ยาใหมและยาที่มีสิทธิบัตร และการขึ้น
ราคายาตามสถานะเศรษฐกิจ ปจจัยที่อาจมีผลทําใหปริมาณและมูลคาการใชยาไมเพิ่มขึ้นหรือเพิ่มนอย ไดแก วิธีการจายเงินแบบ
เหมาจายภายใตระบบหลักประกันสุขภาพ อยางไรก็ตาม หากประเทศไทยมีการจัดระบบการเงินการคลังดานยาและดานสุขภาพ
ที่ดีพอ จะสามารถควบคุมทั้งปริมาณการบริโภคยาและราคายาใหอยูในระดับที่เหมาะสมได
ขอเสนอเพื่อการพัฒนา : รัฐควรจัดใหมีหลักประกันสุขภาพที่ครอบคลุมการเจ็บปวยที่มีผลกระทบทางการเงินอยาง
รุนแรง (catastrophic illness) ทุกชนิด โดยการจัดระบบและกลไกการชดเชยแยกออกจากประกันสุขภาพอื่นๆ สําหรับใชกับ
ประชาชนทุกกลุม โดยเฉพาะอยางยิ่ง ตองมีการประมาณการคาใชจาย กําหนดแหลงทุน เงื่อนไข ชุดสิทธิประโยขน และมีการ
วางแผนการดําเนินงานตลอดจนระบบตรวจสอบที่ชัดเจน เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและยั่งยืน
ขอเสนอในการวิจัย :
(1) การวิจัยเศรษฐศาสตรสาธารณสุขและเภสัชเศรษฐศาสตรทุกรูปแบบเพื่อสนับสนุนโครงการหลักประกันสุขภาพ
ที่ครอบคลุมการเจ็บปวยที่มีผลกระทบทางการเงินอยางรุนแรง (catastrophic illness)
(2) การศึกษาวิจัยแนวทางและรูปแบบการควบคุมการเงินการคลังดานยาที่มีประสิทธิภาพ
(3) การพัฒนา National Drug Account
4. การใชยา (5)
จากการทบทวนเอกสารทางวิชาการที่มีอยูพบวาปญหาความไมสมเหตุผลในการใชยายังเปนปญหาสําคัญตั้งแต
ระดับการใชยาดวยตนเองจนถึงการใชยาโดยแพทยเฉพาะทางในโรงพยาบาลขนาดใหญ การประเมินการใชยา (Drug Use
Evaluation – DUE) มีบทบาทมากขึ้นในการศึกษาการใชยาในโรงพยาบาลภายหลังการประกาศใชบัญชียาหลักฯ พ.ศ.2542
ทั้งนี้ เนื่องจากเงื่อนไขการสั่งใชยาในบัญชี ง. (ยาที่อาจทําใหเกิดอาการอันไมพึงประสงคที่รายแรง การใชใหเกิดประสิทธิผล
ตองการการสั่งใชโดยแพทยผูเชี่ยวชาญเฉพาะโรค หรือยาตานจุลชีพที่สมควรควบคุมการใชอยางเขมงวดเพื่อปองกันการดื้อยา
และสวนใหญเปนยาที่มีราคาแพง) กําหนดใหสถานพยาบาลที่ใชยากลุมนี้ตองมีระบบติดตามประเมินการใชยา เปนเหตุให
สัดสวนของโรงพยาบาลศูนยและโรงพยาบาลทั่วไปที่ดําเนินการประเมินการใชยาเพิ่มสูงขึ้นเปนรอยละ 80 ยาที่มีการศึกษาและ
ติดตามประเมินการใชมากที่สุด ไดแก ยาตานจุลชีพ โดยเฉพาะอยางยิ่งกลุม third generation cephalosporins
ผลจากการทํา DUE รวมทั้งการศึกษาวิจัยรูปแบบอื่นๆ ชี้วา มีการสั่งใชยาอยางไมเหมาะสม ทั้งในแงขอบงใช ขนาด
วิธีใช และระยะเวลาการใชยา การจายยาที่มีอันตรกิริยาระหวางกัน (drug interaction) การไมใหคําแนะนําการใชยารวมทั้งการ
ปฏิบัติตนที่ถูกตองแกผูปวย มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้นทั้งในขั้นตอนการสั่งใชยาและการจายยา ในสวนของผูปวยเองก็พบวา
สวนหนึ่งไมใหความรวมมือในการรักษา เชน ไมใชยาตามที่แพทยสั่ง หรือใชยาดวยวิธีที่ไมถูกตอง ปญหาการใชยาใน
โรงพยาบาลในบางกรณีมีอัตราสูงมาก เชน ผลการประเมินการใชยา pentoxiphylline ในโรงพยาบาลศูนยและโรงพยาบาล
ทั่วไป ในป พ.ศ.2543 พบการสั่งใชยาโดยไมสอดคลองกับขอบงใชที่กําหนดตามเกณฑถึงรอยละ 62 หรือพบการสั่งใชยา
ceftazidime โดยไมปรับขนาดยาในผูปวยที่มีการทํางานของไตบกพรองรอยละ 32 เปนตน นอกจากนี้ การใชยาตานจุลชีพ
อยางไมสมเหตุผลในโรงพยาบาลยังปรากฏในรายงานการศึกษาวิจัยเปนจํานวนมาก (ตารางที่ 1.2)
สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ
ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32.
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย14
ตารางที่ 1.2 การใชยาปฏิชีวนะโดยไมมีขอบงชี้ที่เหมาะสม รวบรวมจากรายงาน 11 ฉบับ
กลุมยา สถานที่ศึกษา ชวงเวลาที่ศึกษา
จํานวนผูปวย ไมมีขอบงชี้ที่เหมาะสม
(รอยละ)
Ceftriaxone รพ.พระปกเกลา ต.ค.41 – ก.ย.42 9 77.8
Parenteral antibioticsก
รพ.บานหมี่ มิ.ย.- พ.ย.40 203 39.4
Ciprofloxacin รพ.ลําปาง พ.ย.- ธ.ค.38 24 50.0
Parenteral antibioticsก
รพ.ชัยนาท ม.ค. – มิ.ย. 36 219 44.7
Ceftazidime รพ.ยโสธร ก.ค. – ก.ย.42 48 60.4
Ceftazidime รพ.ลําปาง ก.ค. – ก.ย.39 49 40.0
Cephalosporinsข
รพ.ตากสิน มี.ค.34 – ก.พ.35 144 13.2 – 15.3
Ceftazidime รพ.มหาราชนครราชสีมา พ.ค. – ส.ค.39 114 25.0
Ceftazidime รพ.พระพุทธชินราช มี.ค – เม.ย.43 59 37.5
Ceftriaxone รพ.ลําปาง ต.ค. 37 17 41.0
Cephalosporinsค
รพ.อุตรดิตถ ต.ค.38 – ก.ย.39 258 70.2
ที่มา : คณะทํางานศึกษาวิเคราะหการคัดเลือกยา (5)
หมายเหตุ : ก หมายถึง aminopenicillin, 2nd
& 3rd
generation cephalosporins, new beta-lactam, quinolones ข หมายถึง cefazolin,
cefamandol, cefotaxime, ceftazidime, ceftriaxone ค หมายถึง ceftriaxone, cefotaxime, ceftizoxime
สําหรับการใชยานอกสถานพยาบาลนั้นพบวามีลักษณะปญหาที่คลายคลึงกับการใชยาในโรงพยาบาล แมจะมีความ
แตกตางกันอยูบางในแงของชนิดยาที่ใช และลักษณะการใชยาของผูบริโภคซึ่งสวนใหญเปนการใชยารักษาตนเอง (self
medication) การขายยาในสถานที่ที่ไมไดรับอนุญาต การขายยาไมตรงตามประเภทใบอนุญาต การจายยาโดยผูที่ไมมีหนาที่
ปฏิบัติการ หรือการจําหนายยาโดยไมเปนไปตามมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ ไดกอใหเกิดปญหาการใชยาอยางไมสมเหตุผล
ตลอดจนการใชยาในทางที่ผิด (misuse) ในบางกรณี ยาที่มีการศึกษาความไมเหมาะสมในการใชนอกสถานพยาบาลสวนใหญ
ไดแก ยาปฏิชีวนะ ยาแกปวดและยาตานการอักเสบที่ไมใชสเตียรอยด รวมทั้งยาจําพวกคอรติโคสเตียรอยด
งานวิจัยหลายฉบับชี้ใหเห็น การเลือกปฏิบัติของสถานพยาบาลและผูสั่งใชยา ซึ่งทําใหเกิดความไมเปนธรรมในการ
ไดรับยาของผูปวยที่มีสวัสดิการรักษาพยาบาลหรือมีความสามารถในการจายคายาแตกตางกัน ตลอดจนมีการนําเสนอผลกระทบ
ที่เกิดจากการใชยาอยางไมสมเหตุผล เชน การเกิดอันตรายและอาการอันไมพึงประสงคจากการใชยาที่รายแรงซึ่งสวนหนึ่ง
สามารถปองกันได รวมทั้งการคํานวณความสูญเสียเชิงเศรษฐศาสตรในกรณีตนทุนการรักษาพยาบาลที่เพิ่มขึ้นจากการเกิด
อันตรายจากการใชยา หรือคาใชจายดานยาที่สูญเปลา ซึ่งจากการคาดการณ ความสูญเสียเหลานี้ที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาลทั่ว
ประเทศนาจะคิดเปนมูลคามหาศาล
ถึงแมการใชยาจะเปนพฤติกรรมของบุคคลสองกลุม ไดแก ผูสั่งใช และ/หรือผูจายยา กับผูใชยาหรือผูบริโภค แต
กระบวนการดังกลาวถูกกําหนดจากองคประกอบอื่นๆ ของระบบยา รวมทั้งยังไดรับอิทธิพลจากปจจัยภายนอกระบบอีกดวย จะ
เห็นไดวา กระบวนการทางนโยบาย การบังคับใชกฎหมาย การคัดเลือกยา การจัดหาและกระจายยา ระบบขอมูลขาวสาร ระบบ
สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ
ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32.
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 15
การเงินการคลัง คุณภาพและคุณธรรมของผูประกอบวิชาชีพและบุคลากรที่เกี่ยวของ หรือแมแตขอตกลงทางการคาระหวาง
ประเทศตางก็มีสวนกําหนดชนิด ปริมาณ ความสมเหตุผล ตลอดจนความเปนธรรมของการใชยาในประเทศทั้งสิ้น ดังนั้น ความ
พยายามของผูที่เกี่ยวของในการพัฒนาการใชยาซึ่งสวนใหญดําเนินการอยูในโรงพยาบาลโดยลําพัง ตามที่ปรากฏในรายงานการ
วิจัยหลายฉบับจึงนาจะประสบผลสําเร็จอยางยั่งยืนไดยาก เนื่องจากเปนการดําเนินการที่มีขอบเขตจํากัดและไมไดรับการ
สนับสนุนเชิงนโยบายระดับประเทศ จึงไมสามารถแกไขสาเหตุที่แทจริงของปญหาซึ่งมีความซับซอนได
ขอเสนอเพื่อการพัฒนา : จัดตั้งองคกรอิสระเพื่อพัฒนาการใชยาในประเทศไทย โดยใหมีหนาที่ประสานงานการ
ศึกษาวิจัย กําหนดวิสัยทัศน นโยบายและมาตรการ วางแผนปฏิบัติการที่มีตัวชี้วัดและเปาหมายที่ชัดเจน รวมทั้งติดตาม
ประเมินผลการพัฒนาการใชยาทั้งในและนอกสถานพยาบาล ทั้งนี้ ในโครงสรางขององคกรและการดําเนินงานทุกขั้นตอนตองมี
กลไกที่เปดโอกาสใหหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน สภาวิชาชีพ องคกรอื่นๆ และภาคประชาชนเขามามีสวนรวม
ขอเสนอในการวิจัย : ประเมินตนทุนและประสิทธิผลของมาตรการทางกฎหมายขอบังคับ การบริหารจัดการ และการ
ใหความรู / ขอมูลขาวสาร และการจัดการในระบบประกันสุขภาพถวนหนา เพื่อใหขอเสนอแนะที่เปนรูปธรรมในการพัฒนา
ระบบการใชยาในประเทศไทย
5. ยาแผนโบราณและยาจากสมุนไพร (6)
ยาแผนโบราณและยาจากสมุนไพรเปนหนึ่งในภูมิปญญาดั้งเดิมของไทยที่สืบทอดตอกันมา โดยสามารถสืบคน
ประวัติยอนหลังไปไดถึงสมัยสุโขทัย เมื่อมีการเปดรับวิทยาการจากตางประเทศตั้งแตรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา
เจาอยูหัวเปนตนมา ยาแบบตะวันตกก็เขามามีบทบาทในการบําบัดรักษาโรคสําหรับประชาชนทั่วไป ในขณะเดียวกันตํารับยา
ของไทยก็เสื่อมความนิยมลงอยางมาก จนกระทั่งไดมีความพยายามจะฟนฟูและนํากลับมาใชอีกในรัชกาลปจจุบัน
การพัฒนายาแผนโบราณและยาจากสมุนไพรไดถูกระบุไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ตั้งแตฉบับที่ 6
(พ.ศ.2530 – 2534) นโยบายแหงชาติดานยาฉบับปจจุบันไดกําหนดใหมีการสนับสนุนการศึกษาและวิจัยศักยภาพการใช
สมุนไพรอยางปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ พรอมกับกําหนดมาตรการที่สอดคลองกับนโยบายแตละขอ นอกจากนี้นโยบายของ
รัฐบาลทุกคณะตั้งแตป พ.ศ.2535 ก็ไดกลาวถึงยาแผนโบราณและยาจากสมุนไพรทั้งทางตรงและทางออม เชน การนําพืช
สมุนไพรไปใชในงานสาธารณสุขมูลฐาน การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรในโครงการหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ เปนตน
กฎหมายที่เกี่ยวของกับผลิตภัณฑสมุนไพรอาจแบงออกไดเปน กฎหมายดานการคุมครองผูบริโภค และกฎหมาย
ทรัพยสินทางปญญา การพัฒนาของกฎหมายเหลานี้อยูในระดับที่แตกตางกันไป และอยูในความรับผิดชอบของหลายหนวยงาน
ซึ่งทําใหมีความลักลั่นไมสอดคลองกัน และขาดความชัดเจนในทิศทางการพัฒนา การที่การยกราง รวมทั้งการแกไขปรับปรุง
กฎหมายดังกลาวสวนใหญริเริ่มโดยหนวยราชการ และขาดการมีสวนรวมของฝายอื่นๆ ที่เกี่ยวของยังเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิด
กระแสคัดคาน และนําไปสูปญหาการบังคับใชในบางประเด็น
ความพยายามที่จะนําสมุนไพรไทยมาใชประโยชนนั้นประสบความสําเร็จไมมาก ทั้งนี้ มีสาเหตุจากปญหาในการวิจัย
และพัฒนา เชน งานวิจัยไมครบวงจร ขาดหนวยงานที่ทําหนาที่รวบรวม วิเคราะห ประเมินผล และกําหนดทิศทางการวิจัย ขาด
แคลนนักวิจัย และขาดการประสานงานระหวางแหลงทุนสนับสนุนการวิจัย สําหรับการพัฒนายกระดับการผลิตยาสําเร็จรูป
รวมทั้งการสงเสริมสนับสนุนการใชยาแผนโบราณและยาจากสมุนไพรนั้นมีการดําเนินการอยูหลายสวน เชน การจัดทํา
หลักเกณฑ GMP การจัดแบงประเภทยาจากสมุนไพรเปน 4 กลุมเพื่อความสะดวกและสมเหตุผลในการตรวจสอบควบคุม
สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ
ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32.
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย16
สถานที่ผลิตและการขึ้นทะเบียนตํารับยา ก
การปรับปรุงรายการยาสามัญประจําบานแผนโบราณ การจัดทําบัญชียาจากสมุนไพร
เปนสวนหนึ่งของบัญชียาหลักแหงชาติ พ.ศ.2542 เปนตน
ถึงแมในปจจุบันประชาชนทั่วไปจะนิยมใชผลิตภัณฑยาแผนโบราณและยาจากสมุนไพรกันมากขึ้น แตยาดังกลาวก็
ยังไมเปนที่ยอมรับอยางแพรหลาย โดยเฉพาะอยางยิ่งในการใหบริการสุขภาพโดยผูประกอบวิชาชีพแผนปจจุบัน ดังจะเห็นได
จากการที่มีสถานพยาบาลเพียงจํานวนนอย (เกือบทั้งหมดเปนสถานีอนามัยและโรงพยาบาลชุมชน) นํายาสมุนไพรไปใชในการ
บําบัดรักษาโรคแกผูปวย (ตารางที่ 1.3) ทั้งนี้ อาจเปนเพราะแพทยไมมั่นใจในประสิทธิผลและความปลอดภัยของสมุนไพรที่
ผลิตเปนยาสําเร็จรูป สวนหนึ่งเนื่องมาจากขาดผลการศึกษาวิจัยรองรับและไมมีระบบการติดตามเฝาระวังอาการอันไมพึง
ประสงคจากการใชยาที่ดีพอ อีกสวนหนึ่งอาจเปนเพราะความไมเขาใจในปรัชญาและหลักการพื้นฐานของการแพทยแผนโบราณ
ซึ่งแตกตางจากการแพทยแผนปจจุบันเปนอยางมาก
ปญหาที่สําคัญอีกประการหนึ่งที่เปนอุปสรรคตอการสงเสริมการใชยาแผนโบราณและยาจากสมุนไพร ไดแก
คุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑที่จําหนายในทองตลาด ซึ่งจากการเก็บตัวอยางสงตรวจวิเคราะหพบวามีปญหาในอัตราที่สูงมาก
ทั้งในแงการปนเปอนของจุลินทรีย ความไมคงตัว การปนปลอมดวยตัวยาแผนปจจุบันที่เปนยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ (เชน
คอรติโคสเตียรอยด ยาขยายหลอดลม) รวมทั้งการผสมสมุนไพรชนิดอื่นที่ไมใชของแทหรือไมมีสรรพคุณตามที่ระบุ ซึ่งทั้งหมด
นี้เกิดจากหลายสาเหตุ เชน ความไมรู ขาดจริยธรรม ขาดเทคโนโลยีการเพาะปลูกหรือเทคโนโลยีการผลิตที่เหมาะสม ใชวัตถุดิบ
ที่มีคุณภาพต่ํา เปนตน
ตารางที่ 1.3 จํานวนสถานพยาบาลจําแนกตามประเภทของบริการดานการแพทยแผนไทย, 2543
สัดสวนสถานพยาบาลที่ใหบริการแตละประเภท (รอยละ)จํานวน
สถานพยาบาลที่
สํารวจ
ใชยาสมุนไพร นวด อบ ประคบ ผลิตยา
หมายเหตุ
รพช. 335 แหง 83.3 87.2 65.7 66.6 25.1 ผลิตทั้งยาเดี่ยวและ
ยาตํารับ
สอ. 1,210 แหง 83.9 38.2 30.6 21.7 1.8 ผลิตลูกประคบ
ที่มา : ปรับปรุงคณะทํางานศึกษาวิเคราะหยาแผนโบราณและยาจากสมุนไพร (6)
ขอเสนอเพื่อการพัฒนา : รัฐบาลควรถือวาการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑจากสมุนไพรในประเทศ รวมทั้งการใหความ
คุมครองและพัฒนาองคความรูเกี่ยวกับการแพทยแผนไทย แพทยพื้นบาน รวมทั้งสูตรตํารับและวิธีการปรุงยาที่เปนภูมิปญญา
ดั้งเดิมของไทยเปนวาระที่สําคัญยิ่งของชาติ ตองจัดใหมีการประสานงานระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของทุกๆ สวน ตั้งแตการวิจัย
และพัฒนา การปลูกพืชสมุนไพร การผลิตขั้นอุตสาหกรรม การตลาด การใช การนําการแพทยแผนไทยและผลิตภัณฑยาจาก
ก
(1) ยาจากสมุนไพรที่เปนแผนโบราณ (2) ยาจากสมุนไพรแผนโบราณที่มีการพัฒนารูปแบบยาไปจากเดิม (3) ยาจากสมุนไพร (แผน
ปจจุบัน) ซึ่งเปนยาที่ไดวิจัยและพัฒนาดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตรจนไดสารสกัดที่เปนสารประกอบกึ่งบริสุทธิ์ (Semi-purified
compounds) และ (4) ยาแผนปจจุบันจากสมุนไพรที่เปนยาใหม ซึ่งไดจากการวิจัยและพัฒนาดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตรจนไดตัว
ยาสําคัญที่เปนสารบริสุทธิ์
สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ
ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32.
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 17
สมุนไพรเขาสูระบบบริการสุขภาพ และการสงออกผลิตภัณฑพรอมบริการ นอกจากนี้ ตองจัดใหมีการกํากับติดตามการ
ดําเนินการในเรื่องดังกลาวอยางจริงจังกวาที่ผานมา รูปธรรมที่สําคัญคือการจัดตั้งสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา
ยาแผนโบราณและสมุนไพรขึ้น ใหเปนองคกรอิสระ มีเงินกองทุนขนาดใหญและตอเนื่อง มุงเนนการวิจัยและพัฒนาที่ครบวงจร
ขอเสนอในการวิจัย :
(1) ประเมินประสิทธิผลและผลกระทบจากมาตรการที่รัฐกําหนดขึ้นเพื่อสงเสริมการใชยาแผนโบราณและยาจาก
สมุนไพร เชน การอนุญาตใหใชเภสัชเคมีภัณฑแผนปจจุบันบางชนิดผสมในยาแผนโบราณ ประกาศกระทรวง
สาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจําบานแผนโบราณ การนํายาจากสมุนไพรบรรจุไวในบัญชียาหลักแหงชาติ
พ.ศ.2542 รวมทั้งโครงการที่มีวัตถุประสงคอื่นแตเกี่ยวของกับยาและผลิตภัณฑจากสมุนไพร เชน โครงการ 1
ตําบล 1 ผลิตภัณฑ เปนตน
(2) การวิจัยและพัฒนายาสมุนไพรบางตัวที่เกือบครบวงจรใหครบวงจรสามารถนําผลไปใชผลิตเชิงอุตสาหกรรม
6. นโยบายแหงชาติดานยา (7)
การจัดทํานโยบายดานยาในระดับประเทศเปนแนวคิดที่เกิดขึ้นในการประชุมสมัชชาองคการอนามัยโลกในป 2518
ที่ตองการใหแตละประเทศใชกระบวนการทางนโยบายในการแกปญหาภายในระบบยา โดยองคการฯ ใหการสนับสนุนดาน
วิชาการ ผูเชี่ยวชาญ และงบประมาณ ประเทศไทยประกาศใชนโยบายแหงชาติดานยาฉบับแรกในป 2524 โดยมีปจจัยหลาย
ประการที่นําไปสูการจัดทํานโยบายดังกลาว ไดแก การบริหารจัดการทางดานยาที่ไมมีประสิทธิภาพ การกระจายยาไมทั่วถึงเปน
เหตุใหประชาชนในเขตชนบทหางไกลยังขาดแคลนยาจําเปน การใชยาอยางไมสมเหตุผล และความไมสามารถพึ่งพาตนเองของ
อุตสาหกรรมยาในประเทศ เนื่องจากตองนําเขาทั้งวัตถุดิบและยาสําเร็จรูปคิดเปนมูลคามหาศาล
ในการนํานโยบายแหงชาติดานยา พ.ศ.2524 ไปสูการปฏิบัติ คณะรัฐมนตรีไดประกาศแตงตั้งคณะกรรมการคณะ
หนึ่งเรียกวา “คณะกรรมการแหงชาติทางดานยา” โดยมีรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขเปนประธาน และสํานักงาน
คณะกรรมการอาหารและยาเปนฝายเลขานุการ ทําหนาที่กําหนดนโยบาย ทิศทางและเปาหมายในการพัฒนาระบบยาให
สอดคลองกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ รวมทั้งกํากับ ดูแล ควบคุม และใหคําปรึกษา ขอแนะนําแกหนวยงาน
ตางๆ ในการดําเนินงานที่เกี่ยวของกับระบบยาและการวิจัยและพัฒนายาสมุนไพร คณะกรรมการดังกลาวไดแตงตั้ง
คณะอนุกรรมการหลายคณะเพื่อดําเนินการในเรื่องที่เกี่ยวของกับนโยบายแหงชาติดานยาตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
การดําเนินการตามนโยบายฯ ตั้งแตป 2524 – 2536 นับไดวามียุทธศาสตรที่ชัดเจน โดยมีการกําหนดแผนงาน
โครงการภายใตแผนพัฒนาสาธารณสุข ตั้งแตฉบับที่ 5 (พ.ศ.2525 – 2529) ตอเนื่องมาจนถึงฉบับที่ 7 (พ.ศ.2535 – 2539) เห็น
ไดชัดวากิจกรรมที่ริเริ่มดําเนินการในชวงนี้เกิดจากการปฏิบัติตามนโยบายดานยาของประเทศ เชน การจัดทําบัญชียาหลัก
แหงชาติและบัญชียาสําหรับงานสาธารณสุขมูลฐาน การจัดทําราคากลางของยาตามบัญชียาหลักแหงชาติ การจัดทํามาตรฐาน
การบําบัดรักษาโรคโดยการใชยา การพัฒนาหองปฏิบัติการดานการตรวจวิเคราะหคุณภาพยา การศึกษาวิจัยยาและยาสมุนไพร
ของกรมวิทยาศาสตรการแพทย เปนตน
การทบทวนเพื่อปรับปรุงนโยบายแหงชาติดานยาไดเริ่มขึ้นในป 2526 แตการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่เกิดขึ้น
บอยครั้งทําใหกระบวนการดังกลาวหยุดชะงักไปเปนระยะๆ เนื่องจากคณะกรรมการแหงชาติดานยาเปนคณะกรรมการที่แตงตั้ง
โดยมติคณะรัฐมนตรีจึงตองแตงตั้งใหมทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาล นโยบายแหงชาติดานยาฉบับที่ 2 ซึ่งประกาศใชในป
สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ
ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32.
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย18
พ.ศ.2536 มีสาระสําคัญบางประการที่ถูกปรับเปลี่ยนไปจากนโยบายฯ ฉบับแรก รวมทั้งมีการกําหนดมาตรการในการ
ดําเนินการและหนวยงานรับผิดชอบแตละหัวขอนโยบายไวอยางละเอียด อยางไรก็ตาม ความแตกตางที่สําคัญนาจะไดแกการนํา
นโยบายไปสูการปฏิบัติ
ถึงแมโครงสรางองคกรที่ทําหนาที่กํากับดูแลการปฏิบัติตามนโยบายจะยังคงอยูในรูปคณะกรรมการ ซึ่งมีสํานักงาน
คณะกรรมการอาหารและยาเปนฝายเลขานุการ ตลอดจนมีการกําหนดแผนงาน โครงการไวภายใตแผนพัฒนาสาธารณสุข ฉบับที่
8 (พ.ศ.2540 – 2544) แตพบวา โดยเฉลี่ยตั้งแตป 2537 – 2541 มีการประชุมคณะกรรมการดังกลาวเพียงปละครั้ง รวมทั้งเนื้อหา
สวนใหญของการประชุมเปนเรื่องการแกไขปญหาเรงดวน สวนเรื่องที่จะกอใหเกิดการพัฒนาเชิงนโยบายหรือเปนการกํากับ
ดูแลหรือการกําหนดแนวทางดําเนินการตามนโยบายแหงชาติดานยาอยางจริงจังนั้นมีอยูนอยมาก ในสวนของคณะอนุกรรมการ
เกือบทุกคณะที่แตงตั้งโดยคณะกรรมการแหงชาติดานยาก็ไมปรากฏวามีผลงานที่เปนรูปธรรม มีเพียงคณะอนุกรรมการพัฒนา
บัญชียาหลักแหงชาติที่ยังคงมีการดําเนินการอยูอยางตอเนื่อง จนกระทั่งจัดทําบัญชียาหลักแหงชาติ พ.ศ.2542 แลวเสร็จ และมี
การดําเนินกิจกรรมที่เกี่ยวของ เชน การประชาสัมพันธทําความเขาใจเกี่ยวกับบัญชียาหลักฯ ที่จัดทําขึ้น ตลอดจนเริ่มวางระบบ
ติดตามประเมินการใชยา (Drug Use Evaluation – DUE) ของยาในบัญชี ง.ไว
ในความเปนจริง ภายหลังจากการประกาศใชนโยบายแหงชาติดานยา พ.ศ.2536 ระบบยาของประเทศไทยมีการ
ปรับตัวหลายครั้งเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของปจจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ ถึงแมวาโครงการและกิจกรรมจํานวน
มากที่ริเริ่มดําเนินการในชวงเวลานี้สอดคลองกับเนื้อหานโยบายและมาตรการที่กําหนดไว แตก็ไมปรากฏวามีการประสาน
แผนปฏิบัติการดานยาหรือการสื่อสารทางนโยบายระหวางฝายเลขานุการของคณะกรรมการแหงชาติดานยากับหนวยงาน
เหลานั้น ประกอบกับคณะกรรมการฯ ไมเคยพิจารณาหรือใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับโครงการและกิจกรรมเหลานี้ดังที่ไดกลาว
ขางตน นอกจากนี้ หลายมาตรการยังปรากฏที่มาอยางชัดเจนวาเปนความริเริ่มขององคกรใดองคกรหนึ่ง เชน การปรับปรุงชุด
สิทธิประโยชนของสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ การปฏิรูประบบบริหารเวชภัณฑเมื่อเกิดภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ การ
ปรับปรุงพระราชบัญญัติยา เปนตน พัฒนาการที่เกิดขึ้นในสวนตางๆ ของระบบยาที่ผานมาจึงนาจะเปนไปตามนโยบายของ
หนวยงานที่เกี่ยวของหรือเปนการดําเนินการดวยกลไกอื่นๆ เพื่อตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงของปจจัยและสถานการณ
แวดลอมมากกวาถูกกําหนดโดยนโยบายแหงชาติดานยา
ขอเสนอเพื่อการพัฒนา : โอนหนาที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการแหงชาติดานยาไปใหคณะกรรมการหรือ
องคกรที่จัดตั้งขึ้นใหมภายใตการกํากับดูแลของคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ โดยมีสํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ
เปนฝายเลขานุการ และสนับสนุนขอมูลวิชาการ รวมทั้งดําเนินการศึกษาวิจัยในเรื่องที่เกี่ยวของ (ภาพที่ 1.3)
ขอเสนอในการวิจัย : ศึกษากระบวนการทางนโยบาย ตัวแสดง ปจจัยและสถานการณแวดลอมในการปฏิบัติงานของ
คณะกรรมการแหงชาติดานยาและคณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการฯ แตงตั้งขึ้น ตลอดจนการดําเนินมาตรการและ/หรือ
กิจกรรมสําคัญที่กําหนดขึ้นตั้งแตประกาศใชนโยบายแหงชาติดานยา พ.ศ.2524 เปรียบเทียบระหวางมาตรการ/กิจกรรมที่ยกเลิก
ไปแลวหรือไมมีการดําเนินการตอ (เชน มาตรฐานการบําบัดรักษาโรคโดยการใชยา เกณฑจริยธรรมเพื่อสงเสริม จริยธรรมและ
ความรับผิดชอบในการสงเสริมการขายเภสัชภัณฑ) กับมาตรการ/กิจกรรมที่มีการดําเนินการตอเนื่องมาจนถึงปจจุบัน (เชน บัญชี
ยาหลักแหงชาติ การกําหนดระเบียบวาดวยการซื้อยาดวยเงินงบประมาณของสวนราชการ)
ภาพที่ 1.3 โครงสรางขององคกรที่รับผิดชอบนโยบายแหงชาติดานยาเปนสวนหนึ่งของคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545

More Related Content

What's hot

คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนVorawut Wongumpornpinit
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาamy69
 
แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015
แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015
แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015Utai Sukviwatsirikul
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Utai Sukviwatsirikul
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์Utai Sukviwatsirikul
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag codeคู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag codeUtai Sukviwatsirikul
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัยguest9e1b8
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPrachaya Sriswang
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจPannatut Pakphichai
 
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา Utai Sukviwatsirikul
 
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gppเอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา GppUtai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
 
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
 
แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015
แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015
แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag codeคู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
 
Rdu
RduRdu
Rdu
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
 
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
 
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gppเอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
 

Viewers also liked

Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookUtai Sukviwatsirikul
 
Thailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinomaThailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinomaUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical practice guideline for cancer pain
Clinical practice guideline for cancer painClinical practice guideline for cancer pain
Clinical practice guideline for cancer painUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการขอโฆษณายา อย.
คู่มือการขอโฆษณายา อย. คู่มือการขอโฆษณายา อย.
คู่มือการขอโฆษณายา อย. Utai Sukviwatsirikul
 
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1Utai Sukviwatsirikul
 
The diabetes epidemic and its impact on thailand 2013
The diabetes epidemic and its impact on thailand  2013The diabetes epidemic and its impact on thailand  2013
The diabetes epidemic and its impact on thailand 2013Utai Sukviwatsirikul
 
ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน EMS Emergency Medical System
ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน EMS Emergency Medical Systemระบบการแพทย์ฉุกเฉิน EMS Emergency Medical System
ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน EMS Emergency Medical SystemUtai Sukviwatsirikul
 
Third Report of the National Cholesterol Education Program (NCEP) Expert Pane...
Third Report of the National Cholesterol Education Program (NCEP) Expert Pane...Third Report of the National Cholesterol Education Program (NCEP) Expert Pane...
Third Report of the National Cholesterol Education Program (NCEP) Expert Pane...Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical Practice Guideline for Neuropathic Pain
Clinical Practice Guideline for Neuropathic PainClinical Practice Guideline for Neuropathic Pain
Clinical Practice Guideline for Neuropathic PainUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคเดงกี
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคเดงกีแนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคเดงกี
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคเดงกีUtai Sukviwatsirikul
 
Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554Utai Sukviwatsirikul
 
Retailing 2015: New Frontiers 2007 PricewaterhouseCoopers
Retailing 2015: New Frontiers	2007 PricewaterhouseCoopersRetailing 2015: New Frontiers	2007 PricewaterhouseCoopers
Retailing 2015: New Frontiers 2007 PricewaterhouseCoopersUtai Sukviwatsirikul
 

Viewers also liked (20)

Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
Cpg for management of gout 2555
Cpg for management of gout 2555Cpg for management of gout 2555
Cpg for management of gout 2555
 
inspire my life MAGAZINE no.4
inspire my life MAGAZINE no.4inspire my life MAGAZINE no.4
inspire my life MAGAZINE no.4
 
Thailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinomaThailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinoma
 
Clinical practice guideline for cancer pain
Clinical practice guideline for cancer painClinical practice guideline for cancer pain
Clinical practice guideline for cancer pain
 
คู่มือการขอโฆษณายา อย.
คู่มือการขอโฆษณายา อย. คู่มือการขอโฆษณายา อย.
คู่มือการขอโฆษณายา อย.
 
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1
 
Cpg osteoarthritis
Cpg osteoarthritisCpg osteoarthritis
Cpg osteoarthritis
 
The diabetes epidemic and its impact on thailand 2013
The diabetes epidemic and its impact on thailand  2013The diabetes epidemic and its impact on thailand  2013
The diabetes epidemic and its impact on thailand 2013
 
ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน EMS Emergency Medical System
ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน EMS Emergency Medical Systemระบบการแพทย์ฉุกเฉิน EMS Emergency Medical System
ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน EMS Emergency Medical System
 
Third Report of the National Cholesterol Education Program (NCEP) Expert Pane...
Third Report of the National Cholesterol Education Program (NCEP) Expert Pane...Third Report of the National Cholesterol Education Program (NCEP) Expert Pane...
Third Report of the National Cholesterol Education Program (NCEP) Expert Pane...
 
Clinical Practice Guideline for Neuropathic Pain
Clinical Practice Guideline for Neuropathic PainClinical Practice Guideline for Neuropathic Pain
Clinical Practice Guideline for Neuropathic Pain
 
Survey on health and welfare 2013
Survey on health and welfare 2013Survey on health and welfare 2013
Survey on health and welfare 2013
 
Thai2009 2
Thai2009 2Thai2009 2
Thai2009 2
 
Adult vaccine recommendation 2014
Adult vaccine recommendation 2014Adult vaccine recommendation 2014
Adult vaccine recommendation 2014
 
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคเดงกี
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคเดงกีแนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคเดงกี
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคเดงกี
 
Trend 2015 by_tcdc
Trend 2015 by_tcdcTrend 2015 by_tcdc
Trend 2015 by_tcdc
 
Cpg superficial fungal infection
Cpg superficial fungal infectionCpg superficial fungal infection
Cpg superficial fungal infection
 
Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554
 
Retailing 2015: New Frontiers 2007 PricewaterhouseCoopers
Retailing 2015: New Frontiers	2007 PricewaterhouseCoopersRetailing 2015: New Frontiers	2007 PricewaterhouseCoopers
Retailing 2015: New Frontiers 2007 PricewaterhouseCoopers
 

Similar to ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545

การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1
การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1
การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1Utai Sukviwatsirikul
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547dentyomaraj
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาDMS Library
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3taem
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1taem
 
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...Vorawut Wongumpornpinit
 
ยุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ยุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ายุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ยุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าUtai Sukviwatsirikul
 
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557Utai Sukviwatsirikul
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยDMS Library
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยguestd1493f
 
คู่มือแนวทางการดําเนินงานด้านโรควัณโรค สำนักการแพทย์ กทม.
คู่มือแนวทางการดําเนินงานด้านโรควัณโรค  สำนักการแพทย์ กทม. คู่มือแนวทางการดําเนินงานด้านโรควัณโรค  สำนักการแพทย์ กทม.
คู่มือแนวทางการดําเนินงานด้านโรควัณโรค สำนักการแพทย์ กทม. Utai Sukviwatsirikul
 
คูมูมอืือแนวทางการดําําเนนิินงานดานวัณั โรค คมู อื แนวทางการดาํ เนินงานด...
คูมูมอืือแนวทางการดําําเนนิินงานดานวัณั โรค คมู อื แนวทางการดาํ เนินงานด...คูมูมอืือแนวทางการดําําเนนิินงานดานวัณั โรค คมู อื แนวทางการดาํ เนินงานด...
คูมูมอืือแนวทางการดําําเนนิินงานดานวัณั โรค คมู อื แนวทางการดาํ เนินงานด...Utai Sukviwatsirikul
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 14LIFEYES
 

Similar to ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545 (20)

Anesthetics and pain medication
Anesthetics and pain medicationAnesthetics and pain medication
Anesthetics and pain medication
 
การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1
การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1
การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
 
2011 drug system_report
2011 drug system_report2011 drug system_report
2011 drug system_report
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
 
Health care system 2018
Health care system 2018Health care system 2018
Health care system 2018
 
antidote y57
antidote y57antidote y57
antidote y57
 
Myofascialpain fibromyalgia
Myofascialpain fibromyalgiaMyofascialpain fibromyalgia
Myofascialpain fibromyalgia
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...
 
ยุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ยุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ายุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ยุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
 
Japan
JapanJapan
Japan
 
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
 
คู่มือแนวทางการดําเนินงานด้านโรควัณโรค สำนักการแพทย์ กทม.
คู่มือแนวทางการดําเนินงานด้านโรควัณโรค  สำนักการแพทย์ กทม. คู่มือแนวทางการดําเนินงานด้านโรควัณโรค  สำนักการแพทย์ กทม.
คู่มือแนวทางการดําเนินงานด้านโรควัณโรค สำนักการแพทย์ กทม.
 
คูมูมอืือแนวทางการดําําเนนิินงานดานวัณั โรค คมู อื แนวทางการดาํ เนินงานด...
คูมูมอืือแนวทางการดําําเนนิินงานดานวัณั โรค คมู อื แนวทางการดาํ เนินงานด...คูมูมอืือแนวทางการดําําเนนิินงานดานวัณั โรค คมู อื แนวทางการดาํ เนินงานด...
คูมูมอืือแนวทางการดําําเนนิินงานดานวัณั โรค คมู อื แนวทางการดาํ เนินงานด...
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 1
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545

  • 1. สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32. ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 5 บทที่ 1 ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย หนา บทนํา ……………………………………………………………………………………………………………… 7 1. การคัดเลือกยา …………………………………………………………………………………………………. 7 2. การจัดหาและกระจายยา ………………………………………………………………………………………. 9 3. การเงินการคลังที่เกี่ยวกับยา …………………………………………………………………………………… 11 4. การใชยา ………………………………………………………………………………………………………... 13 5. ยาแผนโบราณและยาจากสมุนไพร ……………………………………………………………………………. 15 6. นโยบายแหงชาติดานยา ……………………………………………………………………………………….. 17 7. กฎหมายเกี่ยวกับยา ……………………………………………………………………………………………. 19 8. ระบบขอมูลขาวสารดานยา …………………………………………………………………………………….. 21 9. อุตสาหกรรมผลิตยาแผนปจจุบัน ………………………………………………………………………………. 23 10. การพัฒนาและการจัดการทรัพยากรมนุษยในระบบยา ……………………………………………………… 25 11. การคาระหวางประเทศกับระบบยา …………………………………………………………………………… 27 12. วิกฤตเศรษฐกิจ พ.ศ.2540 กับระบบยา ………………………………………………………………………. 29
  • 2. สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32. ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย6
  • 3. สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32. ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 7 บทที่ 1 ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย บทนํา กระแสโลกาภิวัตนมีอิทธิพลเปนอยางมากตอระบบสุขภาพของไทยรวมทั้งระบบยา ทั้งนี้ สวนหนึ่งเนื่องมาจากการ ยอมรับเอาแนวความคิดและเทคโนโลยีทางการแพทยแบบตะวันตกเขามาเปนกระแสหลักในการบําบัดรักษาและปองกันโรค สําหรับประชาชนในประเทศมาเปนเวลานานหลายทศวรรษ จนเกิดภาวะพึ่งพิงเทคโนโลยีและสิ่งประดิษฐ เชน ยา หรืออุปกรณ ตางๆ ที่พัฒนาขึ้นจากแนวทางและองคความรูตามแบบแผนดังกลาว ในขณะที่การวิจัยและพัฒนาเพื่อสรางสรรคองคความรู เหลานั้นเกิดขึ้นในประเทศไทยนอยมาก การที่ตองนําเขาเทคโนโลยีและผลิตภัณฑทางการแพทยซึ่งสวนใหญมีราคาแพงจาก ตางประเทศไดกอใหเกิดผลกระทบที่เห็นไดชัดระหวางภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจในป 2540 และนํามาซึ่งการปรับตัวของ องคประกอบตางๆ ในระบบยาและระบบสุขภาพเพื่อรองรับผลกระทบตอสถานะทางการเงินการคลังที่เปลี่ยนแปลงไป ผลสืบเนื่องจากโลกาภิวัตนที่มีตอระบบยาอีกประการหนึ่ง ไดแก การปฏิบัติตามขอตกลงระหวางประเทศ ซึ่งบาง กรณีอาจสงผลเสียอยางรุนแรงตอระบบสุขภาพโดยรวมหากไมมีมาตรการแกไขที่เหมาะสม เชน ขอตกลงขององคการการคา โลกวาดวยการคุมครองสิทธิในทรัพยสินทางปญญาที่เกี่ยวกับการคา (Agreement on Trade-Related Aspect on Intellectual Property Rights – TRIPs) เปนตน นอกจากนี้ การไหลบาของขอมูลขาวสารในโลกยุคไรพรมแดน สวนหนึ่งไดเหนี่ยวนําใหเกิด ปญหาการบริโภคยาและบริการทางการแพทยอยางไมสมเหตุผลขึ้น แตในทางตรงขาม ขอมูลขาวสารดานยาจากตางประเทศ จํานวนไมนอยไดถูกนํามาใชเปนประโยชนในการกําหนดมาตรการเพื่อคุมครองผูบริโภคในประเทศไทย รายงานการศึกษาวิเคราะหระบบยาของประเทศไทยฉบับนี้ แบงเนื้อหาตามองคประกอบของระบบยาออกเปน 12 หัวขอ ซึ่งสะทอนสถานการณปจจุบัน แนวโนมในอนาคต และขอเสนอแนะในการพัฒนาแตละองคประกอบไวอยางละเอียด โดยสวนหนึ่งไดนําเสนอขอมูลที่ชี้ใหเห็นความเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับระบบยาในระยะ 10 ปที่ผานมา 1. การคัดเลือกยา (1) กระบวนการคัดเลือกยาในระดับประเทศ ไดแก การขึ้นทะเบียนตํารับยา ซึ่งรวมทั้งการทบทวนทะเบียนตํารับยานั้น เปนกระบวนการที่มีหลักการ รายละเอียดและวิธีปฏิบัติตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติยา พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอ จิตและประสาท และพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ รวมทั้งกฎหมายอื่นๆ ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติดังกลาว เชน กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง และคําสั่งกระทรวงสาธารณสุข เปนตน ทั้งนี้ การขึ้นทะเบียนตํารับยามีวัตถุประสงคที่จะ คัดเลือกยาที่มีประสิทธิผลในการรักษา ปลอดภัย และมีคุณภาพไดมาตรฐาน หลักเกณฑและวิธีการขึ้นทะเบียนตํารับยาในประเทศไทยมีพัฒนาการมาเปนเวลายาวนาน แตในปจจุบันพบวายังมี จุดออนหลายประการ เชน การอนุญาตใหขึ้นทะเบียนตํารับยาแบบตลอดชีพ โดยไมมีขอกําหนดใหมีการตออายุทะเบียนพรอม กับการประเมินซ้ําในระยะเวลาที่ตายตัว ในขณะที่การขาดนโยบายที่ชัดเจนเกี่ยวกับการทบทวนทะเบียนตํารับยาทําใหไมมีการ กําหนดแผนงานที่ชัดเจนและไมมีการปฏิบัติอยางสม่ําเสมอและจริงจัง เปนเหตุใหยังคงตองรับขึ้นทะเบียนตํารับยาที่มีตัวยา สําคัญหรือสูตรตํารับที่ไมเหมาะสม (ตัวอยางในตารางที่ 1.1) ขอกําหนดเรื่องการศึกษาชีวสมมูลย (bioequivalence study) มี ผลบังคับใชเฉพาะยาสามัญเลียนแบบยาใหมที่ขึ้นทะเบียนตํารับยาภายหลังป พ.ศ.2532 การพิจารณาตัดสินใจโดย
  • 4. สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32. ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย8 คณะอนุกรรมการและคณะทํางานที่เกี่ยวของโดยไมมีหลักเกณฑที่แนชัด ซึ่งทําใหผลการพิจารณาจากการประชุมแตกตางกันไป ขึ้นกับวิจารณญาณของผูเขาประชุมแตละครั้ง เปนตน จุดออนเหลานี้ชี้ใหเห็นวากระบวนการคัดเลือกยาระดับประเทศอาจจะไม สามารถบรรลุวัตถุประสงคตามที่กลาวขางตน ตารางที่ 1.1 ตัวอยางสูตรตํารับยาที่ไมเหมาะสมแตยังคงไดรับอนุญาตใหจําหนายในประเทศไทย (1) Dipyrone + Potassium citrate (aqueous solution for children, syrup) (2) Dipyrone + Paracetamol (compressed tablet) (3) Phenylbutazone + Dipyrone (sterile solution, hard capsule, film coated tablet) (4) Phenylbutazone + Indomethacin (hard capsule) (5) Phenylbutazone + Dimenhydrinate (compressed tablet) (6) Phenylbutazone + Aluminium hydroxide gel (compressed tablet, hard capsule) (7) Cyproheptadine + Methadiene (hard capsule, syrup) (8) Chloramphenicol + streptomycin (suspension) ที่มา : ดัดแปลงจากคณะทํางานศึกษาวิเคราะหการคัดเลือกยา (1) เนื่องจากการขึ้นทะเบียนตํารับยาในประเทศไทยเปนแบบตลอดชีพ ตํารับยาที่ไดรับการขึ้นทะเบียนจึงสะสมมี จํานวนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในแตละป อัตราการขึ้นทะเบียนตํารับยาที่มิใชยาใหมระหวางป พ.ศ.2526 – 2544 โดยเฉลี่ย1,350 ตํารับ ตอป สวนยาใหมมีการขึ้นทะเบียนตํารับยาโดยเฉลี่ย 103 ตํารับตอป ปจจุบันอัตราการขึ้นทะเบียนตํารับยาทุกประเภทมี แนวโนมสูงขึ้น ในขณะที่มีการเพิกถอนทะเบียนตํารับยาระหวางป พ.ศ.2526 – 2544 เพียง 50 คําสั่ง ณ วันที่ 10 มกราคม พ.ศ.2545 มีทะเบียนตํารับยาแผนปจจุบันสําหรับมนุษยอยูรวมทั้งสิ้น 25,616 ตํารับ ภายหลังวิกฤตทางเศรษฐกิจในป พ.ศ.2540 บัญชียาหลักแหงชาติมีความสําคัญมากขึ้น เนื่องจากมีการนําบัญชียา ดังกลาวไปใชเปนบัญชีอางอิงชุดสิทธิประโยชนของสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ ซึ่งเปนเหตุใหมีการแกไขปรับปรุงบัญชี ยาหลักฯ ครั้งสําคัญในเวลาตอมา บัญชียาหลักฯ ฉบับใหมซึ่งประกาศใชในป พ.ศ.2542 ไดถูกจัดทําขึ้นโดยมีปรัชญาและแนวคิด ที่แตกตางไปจากเดิม รวมทั้งมีการกําหนดหลักเกณฑการคัดเลือกยาเขาสูบัญชีขึ้นใหม โดยใหมีความครอบคลุมรายการยาที่ จําเปนในการรักษาโรคและแกไขปญหาสาธารณสุขของประเทศอยางกวางขวาง โดยเฉพาะอยางยิ่งเหมาะที่จะนําไปใชเปนบัญชี รายการยาที่สามารถเบิกคายาจากสวัสดิการสุขภาพตางๆ และเนนใหนําหลักการทางดานเภสัชเศรษฐศาสตรมาใชในการคัดเลือก ยา ในการจัดทําบัญชียาหลักฯ พ.ศ.2542 นี้ เปนครั้งแรกที่มีการแตงตั้งคณะทํางานที่มีความเชี่ยวชาญดานตางๆ รวม 23 คณะ เพื่อทําหนาที่พิจารณากลั่นกรองรายการยากอนนําเสนอคณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแหงชาติ อยางไรก็ตาม พบวาการ พิจารณาของคณะทํางานคณะตางๆ มีความลักลั่นในการปฏิบัติตามหลักเกณฑ รวมทั้งมีการประเมินตนทุน – ผลไดของยาแตละ รายการที่นํามาคัดเลือกนอยมาก ดวยหลักการที่จะใหบัญชียาหลักฯ ฉบับใหมมีความครอบคลุมรายการยาอยางกวางขวาง ทําให รูปแบบของบัญชียาดังกลาวซึ่งมีลักษณะเปน minimal list มาตั้งแตเริ่มจัดทําในป พ.ศ. 2524 มาเปน maximal list โดยมีรายการ ยาเพิ่มขึ้นจาก 408 รายการในป พ.ศ.2524 เปน 933 รายการ ในป พ.ศ.2542
  • 5. สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32. ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 9 การคัดเลือกยาเขาสูบัญชียาโรงพยาบาลอยูในความรับผิดชอบของโรงพยาบาลแตละแหง กระบวนการดังกลาวจึง แตกตางกันไปในรายละเอียด แตก็มีหลักเกณฑบางประการคลายคลึงกัน ไดแก การพิจารณาประสิทธิผลและความเสี่ยงตอ อันตรายจากการใชยา คาใชจายที่เกิดขึ้น ความสะดวกในการใชยา โดยพิจารณาเปรียบเทียบกับยาเดิมในกลุมเดียวกันที่ใชอยูใน โรงพยาบาล ใบรับรองการปฏิบัติตามหลักเกณฑวิธีการที่ดีในการผลิตยา (Good Manufacturing Practices – GMP) เปน หลักฐานยืนยันคุณภาพมาตรฐานของยาอยางหนึ่งที่โรงพยาบาลในสังกัดตางๆ ใหความสําคัญ ไมพบวามีโรงพยาบาลใดนํา หลักการทางเภสัชเศรษฐศาสตรมาใช นอกจากนี้ สําหรับโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขยังตองคัดเลือกยาใหเปนไป ตามแนวทางที่กําหนดในแผนแมบทการพัฒนาสุขภาพที่ดีดวยตนทุนต่ํา (Good Health at Low Cost) ซึ่งนํามาใชในการบริหาร เวชภัณฑ เพื่อควบคุมคาใชจายตั้งแตเกิดภาวะวิกฤตเศรษฐกิจอีกดวย ขอเสนอเพื่อการพัฒนา : (1) มีกลไกและกําลังคนที่มีประสิทธิภาพในการทบทวนทะเบียนตํารับยาและติดตามความปลอดภัย (2) มีกรอบในการติดตามประเมินผลการใชบัญชียาหลักแหงชาติ (3) มีกลไกและกําลังคนที่มีประสิทธิภาพในการประเมินเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนขอมูลดานเศรษฐศาสตรในการ คัดเลือกยา (4) ขอเสนอในการวิจัย : • การวิจัยดําเนินการ (Operational research) เพื่อพัฒนาตัวแบบ (model) ของโครงสรางและกระบวนการ ในการขึ้นทะเบียนตํารับยา การทบทวนทะเบียนตํารับยา และการคัดเลือกยาเขาบัญชียาของโรงพยาบาล (ภาครัฐ) รวมทั้งพัฒนาฐานขอมูลการขึ้นทะเบียนตํารับยาและการคัดเลือกยาทั้งประเทศ • การวิจัยอยางตอเนื่องดานเศรษฐศาสตร โดยเฉพาะการศึกษาตนทุน -ประสิทธิผลของยา 2. การจัดหาและกระจายยา (2) ขนาดของตลาดยาในประเทศไทยมีแนวโนมขยายตัวอยางตอเนื่อง ถึงแมจะมีการหยุดชะงักในป พ.ศ.2541 ซึ่งเปน ระยะแรกของวิกฤตเศรษฐกิจ แตหลังจากนั้นก็กลับขยายตัวเพิ่มขึ้นอีก นอกจากนี้ ในชวง 10 ปที่ผานมา สัดสวนมูลคายาที่นําเขา จากตางประเทศมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น กลาวคือ เพิ่มจากรอยละ 31 ในป พ.ศ.2533 เปนรอยละ 47 ในป 2543 ซึ่งชี้วายาที่ผลิตใน ประเทศมีความสําคัญลดลงในเชิงมูลคา รวมทั้งเปนการบงชี้ถึงภาวะการพึ่งพิงยาที่ผลิตจากตางประเทศที่เพิ่มสูงขึ้น ผูผลิตและผูนําเขายาในประเทศไทยมีทั้งหนวยงานในภาครัฐและผูประกอบการภาคเอกชน ในระยะ 3 ปหลัง (พ.ศ.2542 – 2544) โรงงานผลิตยาของเอกชนมีจํานวนลดลงจาก 178 แหงเปน 171 แหง ในจํานวนบริษัทผลิตยาสําเร็จรูปที่มี ยอดการจําหนายสูงสุด 10 อันดับแรก มีโรงงานยาของเอกชนไทยเพียงโรงงานเดียวที่ติดอันดับดังกลาว การแขงขันของผูผลิตและผูนําเขายาในการจําหนายยาใหกับหนวยราชการเปนการแขงขันแบบไมสมบูรณ องคการ เภสัชกรรมเปนรัฐวิสาหกิจที่ผลิตยาและเปนตัวแทนจําหนายยารายใหญปอนใหกับโรงพยาบาลของรัฐ โดยอาศัยขอไดเปรียบใน การแขงขันกับผูผลิตและผูแทนจําหนายยารายอื่นจากเงื่อนไขเรื่องการจัดซื้อจัดหายาที่กําหนดในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา ดวยการพัสดุ สัดสวนมูลคายาที่องคการเภสัชกรรมจําหนายใหแกภาครัฐสูงถึงรอยละ 85 ของยอดการจําหนายทั้งหมดในป พ.ศ.2533 แลวเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 92 และ 94 ในป พ.ศ.2540 และ 2544 ตามลําดับ จากการที่ยาสวนใหญที่องคการเภสัชกรรม ผลิตเปนยาในบัญชียาหลักแหงชาติ ประกอบกับการเอื้อประโยชนจากขอกําหนดในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีที่กลาวขางตน
  • 6. สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32. ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย10 เปนเหตุใหองคการเภสัชกรรมไดรับประโยชนจากการผูกขาดการจําหนายยาใหแกสวนราชการ ตลอดจนเปนปจจัยหนึ่งที่ทําให องคการเภสัชกรรมไดรับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจในป พ.ศ.2540 นอยที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับผูผลิตรายอื่น โดยพบวา ยอดการจําหนายยาขององคการเภสัชกรรมไมลดลง ยาที่ผลิตหรือนําเขามาในประเทศถูกกระจายสูผูบริโภคผานชองทางตางๆ ตามเงื่อนไขที่กําหนดในกฎหมายและ มาตรการที่เกี่ยวของ เชน ยาควบคุมพิเศษหรือวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาทตองจําหนายโดยเภสัชกรเมื่อมีใบสั่งยาจาก แพทย หามการจําหนายยาใหมที่ขึ้นทะเบียนตํารับยาแบบมีเงื่อนไขนอกสถานพยาบาล เปนตน ในภาพรวม โรงพยาบาลและราน ยาเปนชองทางกระจายยาที่สําคัญที่สุด ถึงประมาณรอยละ 90 ของมูลคายาทั้งหมด (ภาพที่ 1.1) ยาที่กระจายผานโรงพยาบาลเปน มูลคาสูงสุด ไดแก กลุมยาปฏิชีวนะและยารักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด ในขณะที่ยาบรรเทาอาการ เชน ยาแกหวัดคัดจมูก ยา อม ยาลดไขบรรเทาปวด เปนยาที่มีการกระจายผานรานยาเปนมูลคาสูงสุด ภาพที่ 1.1 ชองทางหลักและสัดสวนการกระจายยาของประเทศไทย ป 2543 ผูผลิต/ผูนําเขา (Manufacturers/Importers) ผูแทนจําหนาย (Agent/Distributor) จัดจําหนายโดยตรง (Own distribution) ผูคาสง (Wholesalers) องคการเภสัชกรรม (Government Pharmaceutical Organization, GPO) คลินิก (Private clinics) (7%) รานขายยา ขย.1 และ 2(Retail drug stores A&B ) (32%) อื่นๆ (others) (3%) โรงพยาบาลภาครัฐ สถานีอนามัย และศบส. (44%) 6% 6% 1% 4% 30% 1% 1% 55% 2% 3% ที่มา : คณะทํางานศึกษาวิเคราะหการจัดหาและการกระจายยา (2) หมายเหตุ: อื่นๆ หมายถึง ชองทางกระจายยานอกระบบ เชน รถเร รานสะดวกซื้อ รานชํา เปนตน (Non-medical outlets e.g., Mobile units, supermarkets, groceries, etc.) ศบส. หมายถึง ศูนยบริการสาธารณสุข รพ.เอกชน(Private hospitals) (14%)
  • 7. สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32. ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 11 การจําหนายยาในรานขายของชํา ซูเปอรมารเกต รานสะดวกซื้อ การจําหนายยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษ วัตถุที่ออก ฤทธิ์ตอจิตและประสาทในรานขายยาแผนปจจุบันบรรจุเสร็จที่ไมใชยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ (ขย.2) รวมทั้งแหลงอื่นๆ ที่ ไมถูกตองตามกฎหมายเปนสิ่งที่พบไดทั่วไป การขายตรง (direct sale) และการขายยาผานอินเตอรเนตเปนชองทางการกระจาย ที่สําคัญของยาบางกลุม ซึ่งปจจุบันยังไมมีวิธีควบคุมที่มีประสิทธิผล และสวนใหญเกิดขึ้นควบคูไปกับการโฆษณาสงเสริมการ ขายโดยไมไดรับอนุญาต การกระจายยาผานแหลงที่กลาวนี้เปนปจจัยหนึ่งที่ทําใหเกิดการใชยาอยางไมสมเหตุผล ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุเปนกรอบที่โรงพยาบาลในภาครัฐตองปฏิบัติตามในการจัดซื้อจัดหายา ดวยเงินงบประมาณ นอกจากนี้ สําหรับโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขยังตองดําเนินการตามระเบียบและประกาศ กระทรวงสาธารณสุขที่เกี่ยวของ รวมทั้งเมื่อเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในป พ.ศ.2540 กระทรวงฯ ยังไดดําเนินการปฏิรูประบบบริหาร เวชภัณฑตามแผนแมบทการพัฒนาสุขภาพที่ดีดวยตนทุนต่ํา ซึ่งมีขอกําหนดตางๆ เพิ่มเติมจากระเบียบที่เคยปฏิบัติอยูเดิม เชน การกําหนดจํานวนรายการยาสูงสุดสําหรับโรงพยาบาลแตละระดับ สัดสวนจํานวนรายการยาในบัญชียาหลักแหงชาติและยา นอกบัญชียาหลักฯ การจัดซื้อยารวมกันในระดับจังหวัด และการสํารองยา เปนตน ความเปลี่ยนแปลงของรานยาในประเทศไทยในชวงทศวรรษที่ผานมา ไดแก การจัดการรานยาระบบลูกโซ (chain store) และรานยาระบบแฟรนไชสหรือแบบเอกสิทธิ์ (franchise) ซึ่งเริ่มแพรหลาย และมีแนวโนมวาจะเพิ่มจํานวนขึ้น พรอม กับการเขามามีสวนแบงการตลาดสูงขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับรานยาแบบดั้งเดิม สวนการจัดหายาสําหรับโรงพยาบาลก็เริ่มจะมีการ นํารูปแบบใหมเขามาใช โดยเฉพาะอยางยิ่งในโรงพยาบาลเอกชนบางเครือขาย เชน การจัดหายาผานตัวกลางที่เรียกวา ผูขายหลัก (prime vender) หรือ supply chain ซึ่งเปนรูปแบบที่คาดวาจะแพรหลายตอไปในอนาคต ขอเสนอเพื่อการพัฒนา : การพัฒนาระบบจัดหายาของสถานพยาบาลและรานยาควรดําเนินการใหสอดคลองและเกิด ประโยชนกับการโครงการหลักประกันสุขภาพถวนหนาในระยะตอไป โดยการนําวิธีการจัดการวิธีใหมๆ ในการจัดหายาเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพของระบบบริการ ทั้งนี้ ตองคํานึงถึงรูปแบบและหนาที่ของระบบบริการสุขภาพแตละระดับ และความรวมมือ ระหวางสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชน นอกจากนี้ ควรเรงรัดการแกไขระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ เกี่ยวกับการจัดซื้อยาโดยสวนราชการ รวมทั้งปรับปรุงบทบาทขององคการเภสัชกรรมควบคูกับการพัฒนาศักยภาพของผูผลิตยา ภาคเอกชน โดยมีจุดมุงหมายทั้งการแขงขันที่สมบูรณในตลาดยาและความมั่นคงทางดานยาของประเทศ ขอเสนอในการวิจัย : ศึกษาประสิทธิผลและประสิทธิภาพของระบบการจัดหายาดวยวิธีการจัดการรูปแบบตางๆ ที่ เหมาะสมสําหรับเครือขายบริการสุขภาพภายใตโครงการหลักประกันสุขภาพถวนหนา 3. การเงินการคลังที่เกี่ยวกับยา (3) ปจจุบัน มีการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวของกับการเงินการคลังดานยาในประเทศไทยอยูไมมาก การนําเสนอภาพในบาง ประเด็นจึงตองอาศัยการอางอิงขอมูลการเงินการคลังดานสุขภาพเปนหลัก ตัวเลขดังกลาวเปนผลรวมของคาบริการ คาตรวจทาง หองปฏิบัติการ คาหองพัก คาอาหาร และคายา ทั้งนี้ โดยอนุมานจากการที่ยาเปนองคประกอบที่สําคัญของการใหบริการใน ระบบสุขภาพ เชน ถือวาแหลงที่มาของรายจายดานยาเปนไปในทิศทางเดียวกับรายจายดานสุขภาพ ดวยวิธีดังกลาวพบวาในป 2543 แหลงที่มาของรายจายดานยาสวนใหญ (รอยละ 64) มาจากครัวเรือนและนายจาง รองลงมาไดแกงบประมาณของรัฐที่ จัดสรรใหแกกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงอื่นๆ (รอยละ 23) สัดสวนของเงินที่จายโดยตรงเพื่อการรักษาพยาบาลสมาชิก
  • 8. สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32. ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย12 ในครัวเรือนนี้มีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง ในขณะที่รายจายจากภาครัฐมีสัดสวนสูงขึ้น ตั้งแตป พ.ศ.2533 เปนตนมา โดย เพิ่มขึ้นจากรอยละ 21 ในป พ.ศ.2533 เปนรอยละ 33 ในป พ.ศ.2543 (ภาพที่ 1.2) ภาพที่ 1.2 รายจายดานสุขภาพของประเทศไทยและสัดสวนของรายจายจากภาครัฐและครัวเรือน, พ.ศ.2531 – 2541 ในมูลคา พ.ศ.2531 แหลงขอมูล : สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ (บรรณาธิการ) (4) สําหรับการคํานวณคาใชจายดานยานั้นก็ประสบปญหาขาดขอมูลที่ชัดเจนเชนเดียวกัน ผลการคํานวณที่ไดจากวิธีการ และการใชขอมูลพื้นฐานจากแหลงตางๆ ไมสามารถสอบทานความถูกตองซึ่งกันและกันได เนื่องจากใหผลแตกตางกันมากและ สวนหนึ่งขาดการศึกษาในลักษณะอนุกรมเวลาทําใหขอมูลขาดหายไปในบางป อีกทั้งการแปลความขอมูลยังตองใชความ ระมัดระวังและใหความสําคัญกับฐานราคาที่นํามาใช เชน ราคาหนาโรงงาน ราคาขายสง ราคาขายปลีก เปนตน แตไมวาจะ คํานวณดวยวิธีใด มูลคายาที่บริโภคภายในประเทศมีแนวโนมสูงขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงป พ.ศ.2539 – 2540 ซึ่งเศรษฐกิจ ไทยมีการเจริญเติบโตสูงกวาปกติ แมมูลคาการบริโภคยาจะลดลงในป พ.ศ.2541 ซึ่งนาจะมีสาเหตุจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ แต ตัวเลขดังกลาวก็กลับเพิ่มสูงขึ้นอยางมากในปตอมา อยางไรก็ตาม คาดการณวาตั้งแตป พ.ศ.2544 – 2549 คาใชจายดานสุขภาพ โดยรวมจะเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง โดยเพิ่มประมาณรอยละ 2 – 3 และคาดวาคาใชจายดานยาจะเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน นอกจากนี้ ยังพบวาสัดสวนรายจายสําหรับยาที่นําเขาจากตางประเทศมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น คาใชจายดานยาของประเทศไทยคิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 31 ของรายจายดานสุขภาพทั้งหมด (เฉลี่ยตั้งแตป พ.ศ.2526 – 2541) ซึ่งสูงมากเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่พัฒนาแลว แตก็นับวาไมสูงเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศกําลังพัฒนา ดวยกัน ในขณะที่ไทยมีอัตราการเขาถึงยาจําเปนสูงถึงรอยละ 95 (ป พ.ศ.2542) แตเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่มีระดับการ พัฒนาใกลเคียงกันพบวา ถึงแมไทยจะมีอัตราการเขาถึงยาจําเปนสูงมาก แตไทยก็มีคาใชจายดานสุขภาพสูงกวาเชนกัน ตัวเลข เหลานี้ชี้วาประสิทธิภาพของการคลังดานยาของประเทศไทยมีปญหาและมีโอกาสที่จะพัฒนาไดอีกมาก 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 2531 2532 2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 รอยละ 0 20 40 60 80 100 120 140 160 180 200 พันลานบาท ภาครัฐ ครัวเรือน รายจายรวม
  • 9. สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32. ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 13 จากการคาดการณแนวโนมของคาใชจายดานยาของประเทศไทยในอนาคต ปจจัยที่มีผลทําใหปริมาณการใชยาเพิ่ม สูงขึ้นประกอบดวย สถานะเศรษฐกิจที่เริ่มฟนตัว ระบบประกันสุขภาพถวนหนา กลุมโรคที่ตองการการรักษาตอเนื่องรวมทั้ง โรคเอดส และกลุมประชากรสูงอายุ สําหรับปจจัยที่มีผลทําใหยามีราคาเพิ่มขึ้น ไดแก ยาใหมและยาที่มีสิทธิบัตร และการขึ้น ราคายาตามสถานะเศรษฐกิจ ปจจัยที่อาจมีผลทําใหปริมาณและมูลคาการใชยาไมเพิ่มขึ้นหรือเพิ่มนอย ไดแก วิธีการจายเงินแบบ เหมาจายภายใตระบบหลักประกันสุขภาพ อยางไรก็ตาม หากประเทศไทยมีการจัดระบบการเงินการคลังดานยาและดานสุขภาพ ที่ดีพอ จะสามารถควบคุมทั้งปริมาณการบริโภคยาและราคายาใหอยูในระดับที่เหมาะสมได ขอเสนอเพื่อการพัฒนา : รัฐควรจัดใหมีหลักประกันสุขภาพที่ครอบคลุมการเจ็บปวยที่มีผลกระทบทางการเงินอยาง รุนแรง (catastrophic illness) ทุกชนิด โดยการจัดระบบและกลไกการชดเชยแยกออกจากประกันสุขภาพอื่นๆ สําหรับใชกับ ประชาชนทุกกลุม โดยเฉพาะอยางยิ่ง ตองมีการประมาณการคาใชจาย กําหนดแหลงทุน เงื่อนไข ชุดสิทธิประโยขน และมีการ วางแผนการดําเนินงานตลอดจนระบบตรวจสอบที่ชัดเจน เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและยั่งยืน ขอเสนอในการวิจัย : (1) การวิจัยเศรษฐศาสตรสาธารณสุขและเภสัชเศรษฐศาสตรทุกรูปแบบเพื่อสนับสนุนโครงการหลักประกันสุขภาพ ที่ครอบคลุมการเจ็บปวยที่มีผลกระทบทางการเงินอยางรุนแรง (catastrophic illness) (2) การศึกษาวิจัยแนวทางและรูปแบบการควบคุมการเงินการคลังดานยาที่มีประสิทธิภาพ (3) การพัฒนา National Drug Account 4. การใชยา (5) จากการทบทวนเอกสารทางวิชาการที่มีอยูพบวาปญหาความไมสมเหตุผลในการใชยายังเปนปญหาสําคัญตั้งแต ระดับการใชยาดวยตนเองจนถึงการใชยาโดยแพทยเฉพาะทางในโรงพยาบาลขนาดใหญ การประเมินการใชยา (Drug Use Evaluation – DUE) มีบทบาทมากขึ้นในการศึกษาการใชยาในโรงพยาบาลภายหลังการประกาศใชบัญชียาหลักฯ พ.ศ.2542 ทั้งนี้ เนื่องจากเงื่อนไขการสั่งใชยาในบัญชี ง. (ยาที่อาจทําใหเกิดอาการอันไมพึงประสงคที่รายแรง การใชใหเกิดประสิทธิผล ตองการการสั่งใชโดยแพทยผูเชี่ยวชาญเฉพาะโรค หรือยาตานจุลชีพที่สมควรควบคุมการใชอยางเขมงวดเพื่อปองกันการดื้อยา และสวนใหญเปนยาที่มีราคาแพง) กําหนดใหสถานพยาบาลที่ใชยากลุมนี้ตองมีระบบติดตามประเมินการใชยา เปนเหตุให สัดสวนของโรงพยาบาลศูนยและโรงพยาบาลทั่วไปที่ดําเนินการประเมินการใชยาเพิ่มสูงขึ้นเปนรอยละ 80 ยาที่มีการศึกษาและ ติดตามประเมินการใชมากที่สุด ไดแก ยาตานจุลชีพ โดยเฉพาะอยางยิ่งกลุม third generation cephalosporins ผลจากการทํา DUE รวมทั้งการศึกษาวิจัยรูปแบบอื่นๆ ชี้วา มีการสั่งใชยาอยางไมเหมาะสม ทั้งในแงขอบงใช ขนาด วิธีใช และระยะเวลาการใชยา การจายยาที่มีอันตรกิริยาระหวางกัน (drug interaction) การไมใหคําแนะนําการใชยารวมทั้งการ ปฏิบัติตนที่ถูกตองแกผูปวย มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้นทั้งในขั้นตอนการสั่งใชยาและการจายยา ในสวนของผูปวยเองก็พบวา สวนหนึ่งไมใหความรวมมือในการรักษา เชน ไมใชยาตามที่แพทยสั่ง หรือใชยาดวยวิธีที่ไมถูกตอง ปญหาการใชยาใน โรงพยาบาลในบางกรณีมีอัตราสูงมาก เชน ผลการประเมินการใชยา pentoxiphylline ในโรงพยาบาลศูนยและโรงพยาบาล ทั่วไป ในป พ.ศ.2543 พบการสั่งใชยาโดยไมสอดคลองกับขอบงใชที่กําหนดตามเกณฑถึงรอยละ 62 หรือพบการสั่งใชยา ceftazidime โดยไมปรับขนาดยาในผูปวยที่มีการทํางานของไตบกพรองรอยละ 32 เปนตน นอกจากนี้ การใชยาตานจุลชีพ อยางไมสมเหตุผลในโรงพยาบาลยังปรากฏในรายงานการศึกษาวิจัยเปนจํานวนมาก (ตารางที่ 1.2)
  • 10. สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32. ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย14 ตารางที่ 1.2 การใชยาปฏิชีวนะโดยไมมีขอบงชี้ที่เหมาะสม รวบรวมจากรายงาน 11 ฉบับ กลุมยา สถานที่ศึกษา ชวงเวลาที่ศึกษา จํานวนผูปวย ไมมีขอบงชี้ที่เหมาะสม (รอยละ) Ceftriaxone รพ.พระปกเกลา ต.ค.41 – ก.ย.42 9 77.8 Parenteral antibioticsก รพ.บานหมี่ มิ.ย.- พ.ย.40 203 39.4 Ciprofloxacin รพ.ลําปาง พ.ย.- ธ.ค.38 24 50.0 Parenteral antibioticsก รพ.ชัยนาท ม.ค. – มิ.ย. 36 219 44.7 Ceftazidime รพ.ยโสธร ก.ค. – ก.ย.42 48 60.4 Ceftazidime รพ.ลําปาง ก.ค. – ก.ย.39 49 40.0 Cephalosporinsข รพ.ตากสิน มี.ค.34 – ก.พ.35 144 13.2 – 15.3 Ceftazidime รพ.มหาราชนครราชสีมา พ.ค. – ส.ค.39 114 25.0 Ceftazidime รพ.พระพุทธชินราช มี.ค – เม.ย.43 59 37.5 Ceftriaxone รพ.ลําปาง ต.ค. 37 17 41.0 Cephalosporinsค รพ.อุตรดิตถ ต.ค.38 – ก.ย.39 258 70.2 ที่มา : คณะทํางานศึกษาวิเคราะหการคัดเลือกยา (5) หมายเหตุ : ก หมายถึง aminopenicillin, 2nd & 3rd generation cephalosporins, new beta-lactam, quinolones ข หมายถึง cefazolin, cefamandol, cefotaxime, ceftazidime, ceftriaxone ค หมายถึง ceftriaxone, cefotaxime, ceftizoxime สําหรับการใชยานอกสถานพยาบาลนั้นพบวามีลักษณะปญหาที่คลายคลึงกับการใชยาในโรงพยาบาล แมจะมีความ แตกตางกันอยูบางในแงของชนิดยาที่ใช และลักษณะการใชยาของผูบริโภคซึ่งสวนใหญเปนการใชยารักษาตนเอง (self medication) การขายยาในสถานที่ที่ไมไดรับอนุญาต การขายยาไมตรงตามประเภทใบอนุญาต การจายยาโดยผูที่ไมมีหนาที่ ปฏิบัติการ หรือการจําหนายยาโดยไมเปนไปตามมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ ไดกอใหเกิดปญหาการใชยาอยางไมสมเหตุผล ตลอดจนการใชยาในทางที่ผิด (misuse) ในบางกรณี ยาที่มีการศึกษาความไมเหมาะสมในการใชนอกสถานพยาบาลสวนใหญ ไดแก ยาปฏิชีวนะ ยาแกปวดและยาตานการอักเสบที่ไมใชสเตียรอยด รวมทั้งยาจําพวกคอรติโคสเตียรอยด งานวิจัยหลายฉบับชี้ใหเห็น การเลือกปฏิบัติของสถานพยาบาลและผูสั่งใชยา ซึ่งทําใหเกิดความไมเปนธรรมในการ ไดรับยาของผูปวยที่มีสวัสดิการรักษาพยาบาลหรือมีความสามารถในการจายคายาแตกตางกัน ตลอดจนมีการนําเสนอผลกระทบ ที่เกิดจากการใชยาอยางไมสมเหตุผล เชน การเกิดอันตรายและอาการอันไมพึงประสงคจากการใชยาที่รายแรงซึ่งสวนหนึ่ง สามารถปองกันได รวมทั้งการคํานวณความสูญเสียเชิงเศรษฐศาสตรในกรณีตนทุนการรักษาพยาบาลที่เพิ่มขึ้นจากการเกิด อันตรายจากการใชยา หรือคาใชจายดานยาที่สูญเปลา ซึ่งจากการคาดการณ ความสูญเสียเหลานี้ที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาลทั่ว ประเทศนาจะคิดเปนมูลคามหาศาล ถึงแมการใชยาจะเปนพฤติกรรมของบุคคลสองกลุม ไดแก ผูสั่งใช และ/หรือผูจายยา กับผูใชยาหรือผูบริโภค แต กระบวนการดังกลาวถูกกําหนดจากองคประกอบอื่นๆ ของระบบยา รวมทั้งยังไดรับอิทธิพลจากปจจัยภายนอกระบบอีกดวย จะ เห็นไดวา กระบวนการทางนโยบาย การบังคับใชกฎหมาย การคัดเลือกยา การจัดหาและกระจายยา ระบบขอมูลขาวสาร ระบบ
  • 11. สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32. ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 15 การเงินการคลัง คุณภาพและคุณธรรมของผูประกอบวิชาชีพและบุคลากรที่เกี่ยวของ หรือแมแตขอตกลงทางการคาระหวาง ประเทศตางก็มีสวนกําหนดชนิด ปริมาณ ความสมเหตุผล ตลอดจนความเปนธรรมของการใชยาในประเทศทั้งสิ้น ดังนั้น ความ พยายามของผูที่เกี่ยวของในการพัฒนาการใชยาซึ่งสวนใหญดําเนินการอยูในโรงพยาบาลโดยลําพัง ตามที่ปรากฏในรายงานการ วิจัยหลายฉบับจึงนาจะประสบผลสําเร็จอยางยั่งยืนไดยาก เนื่องจากเปนการดําเนินการที่มีขอบเขตจํากัดและไมไดรับการ สนับสนุนเชิงนโยบายระดับประเทศ จึงไมสามารถแกไขสาเหตุที่แทจริงของปญหาซึ่งมีความซับซอนได ขอเสนอเพื่อการพัฒนา : จัดตั้งองคกรอิสระเพื่อพัฒนาการใชยาในประเทศไทย โดยใหมีหนาที่ประสานงานการ ศึกษาวิจัย กําหนดวิสัยทัศน นโยบายและมาตรการ วางแผนปฏิบัติการที่มีตัวชี้วัดและเปาหมายที่ชัดเจน รวมทั้งติดตาม ประเมินผลการพัฒนาการใชยาทั้งในและนอกสถานพยาบาล ทั้งนี้ ในโครงสรางขององคกรและการดําเนินงานทุกขั้นตอนตองมี กลไกที่เปดโอกาสใหหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน สภาวิชาชีพ องคกรอื่นๆ และภาคประชาชนเขามามีสวนรวม ขอเสนอในการวิจัย : ประเมินตนทุนและประสิทธิผลของมาตรการทางกฎหมายขอบังคับ การบริหารจัดการ และการ ใหความรู / ขอมูลขาวสาร และการจัดการในระบบประกันสุขภาพถวนหนา เพื่อใหขอเสนอแนะที่เปนรูปธรรมในการพัฒนา ระบบการใชยาในประเทศไทย 5. ยาแผนโบราณและยาจากสมุนไพร (6) ยาแผนโบราณและยาจากสมุนไพรเปนหนึ่งในภูมิปญญาดั้งเดิมของไทยที่สืบทอดตอกันมา โดยสามารถสืบคน ประวัติยอนหลังไปไดถึงสมัยสุโขทัย เมื่อมีการเปดรับวิทยาการจากตางประเทศตั้งแตรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัวเปนตนมา ยาแบบตะวันตกก็เขามามีบทบาทในการบําบัดรักษาโรคสําหรับประชาชนทั่วไป ในขณะเดียวกันตํารับยา ของไทยก็เสื่อมความนิยมลงอยางมาก จนกระทั่งไดมีความพยายามจะฟนฟูและนํากลับมาใชอีกในรัชกาลปจจุบัน การพัฒนายาแผนโบราณและยาจากสมุนไพรไดถูกระบุไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ตั้งแตฉบับที่ 6 (พ.ศ.2530 – 2534) นโยบายแหงชาติดานยาฉบับปจจุบันไดกําหนดใหมีการสนับสนุนการศึกษาและวิจัยศักยภาพการใช สมุนไพรอยางปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ พรอมกับกําหนดมาตรการที่สอดคลองกับนโยบายแตละขอ นอกจากนี้นโยบายของ รัฐบาลทุกคณะตั้งแตป พ.ศ.2535 ก็ไดกลาวถึงยาแผนโบราณและยาจากสมุนไพรทั้งทางตรงและทางออม เชน การนําพืช สมุนไพรไปใชในงานสาธารณสุขมูลฐาน การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรในโครงการหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ เปนตน กฎหมายที่เกี่ยวของกับผลิตภัณฑสมุนไพรอาจแบงออกไดเปน กฎหมายดานการคุมครองผูบริโภค และกฎหมาย ทรัพยสินทางปญญา การพัฒนาของกฎหมายเหลานี้อยูในระดับที่แตกตางกันไป และอยูในความรับผิดชอบของหลายหนวยงาน ซึ่งทําใหมีความลักลั่นไมสอดคลองกัน และขาดความชัดเจนในทิศทางการพัฒนา การที่การยกราง รวมทั้งการแกไขปรับปรุง กฎหมายดังกลาวสวนใหญริเริ่มโดยหนวยราชการ และขาดการมีสวนรวมของฝายอื่นๆ ที่เกี่ยวของยังเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิด กระแสคัดคาน และนําไปสูปญหาการบังคับใชในบางประเด็น ความพยายามที่จะนําสมุนไพรไทยมาใชประโยชนนั้นประสบความสําเร็จไมมาก ทั้งนี้ มีสาเหตุจากปญหาในการวิจัย และพัฒนา เชน งานวิจัยไมครบวงจร ขาดหนวยงานที่ทําหนาที่รวบรวม วิเคราะห ประเมินผล และกําหนดทิศทางการวิจัย ขาด แคลนนักวิจัย และขาดการประสานงานระหวางแหลงทุนสนับสนุนการวิจัย สําหรับการพัฒนายกระดับการผลิตยาสําเร็จรูป รวมทั้งการสงเสริมสนับสนุนการใชยาแผนโบราณและยาจากสมุนไพรนั้นมีการดําเนินการอยูหลายสวน เชน การจัดทํา หลักเกณฑ GMP การจัดแบงประเภทยาจากสมุนไพรเปน 4 กลุมเพื่อความสะดวกและสมเหตุผลในการตรวจสอบควบคุม
  • 12. สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32. ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย16 สถานที่ผลิตและการขึ้นทะเบียนตํารับยา ก การปรับปรุงรายการยาสามัญประจําบานแผนโบราณ การจัดทําบัญชียาจากสมุนไพร เปนสวนหนึ่งของบัญชียาหลักแหงชาติ พ.ศ.2542 เปนตน ถึงแมในปจจุบันประชาชนทั่วไปจะนิยมใชผลิตภัณฑยาแผนโบราณและยาจากสมุนไพรกันมากขึ้น แตยาดังกลาวก็ ยังไมเปนที่ยอมรับอยางแพรหลาย โดยเฉพาะอยางยิ่งในการใหบริการสุขภาพโดยผูประกอบวิชาชีพแผนปจจุบัน ดังจะเห็นได จากการที่มีสถานพยาบาลเพียงจํานวนนอย (เกือบทั้งหมดเปนสถานีอนามัยและโรงพยาบาลชุมชน) นํายาสมุนไพรไปใชในการ บําบัดรักษาโรคแกผูปวย (ตารางที่ 1.3) ทั้งนี้ อาจเปนเพราะแพทยไมมั่นใจในประสิทธิผลและความปลอดภัยของสมุนไพรที่ ผลิตเปนยาสําเร็จรูป สวนหนึ่งเนื่องมาจากขาดผลการศึกษาวิจัยรองรับและไมมีระบบการติดตามเฝาระวังอาการอันไมพึง ประสงคจากการใชยาที่ดีพอ อีกสวนหนึ่งอาจเปนเพราะความไมเขาใจในปรัชญาและหลักการพื้นฐานของการแพทยแผนโบราณ ซึ่งแตกตางจากการแพทยแผนปจจุบันเปนอยางมาก ปญหาที่สําคัญอีกประการหนึ่งที่เปนอุปสรรคตอการสงเสริมการใชยาแผนโบราณและยาจากสมุนไพร ไดแก คุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑที่จําหนายในทองตลาด ซึ่งจากการเก็บตัวอยางสงตรวจวิเคราะหพบวามีปญหาในอัตราที่สูงมาก ทั้งในแงการปนเปอนของจุลินทรีย ความไมคงตัว การปนปลอมดวยตัวยาแผนปจจุบันที่เปนยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ (เชน คอรติโคสเตียรอยด ยาขยายหลอดลม) รวมทั้งการผสมสมุนไพรชนิดอื่นที่ไมใชของแทหรือไมมีสรรพคุณตามที่ระบุ ซึ่งทั้งหมด นี้เกิดจากหลายสาเหตุ เชน ความไมรู ขาดจริยธรรม ขาดเทคโนโลยีการเพาะปลูกหรือเทคโนโลยีการผลิตที่เหมาะสม ใชวัตถุดิบ ที่มีคุณภาพต่ํา เปนตน ตารางที่ 1.3 จํานวนสถานพยาบาลจําแนกตามประเภทของบริการดานการแพทยแผนไทย, 2543 สัดสวนสถานพยาบาลที่ใหบริการแตละประเภท (รอยละ)จํานวน สถานพยาบาลที่ สํารวจ ใชยาสมุนไพร นวด อบ ประคบ ผลิตยา หมายเหตุ รพช. 335 แหง 83.3 87.2 65.7 66.6 25.1 ผลิตทั้งยาเดี่ยวและ ยาตํารับ สอ. 1,210 แหง 83.9 38.2 30.6 21.7 1.8 ผลิตลูกประคบ ที่มา : ปรับปรุงคณะทํางานศึกษาวิเคราะหยาแผนโบราณและยาจากสมุนไพร (6) ขอเสนอเพื่อการพัฒนา : รัฐบาลควรถือวาการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑจากสมุนไพรในประเทศ รวมทั้งการใหความ คุมครองและพัฒนาองคความรูเกี่ยวกับการแพทยแผนไทย แพทยพื้นบาน รวมทั้งสูตรตํารับและวิธีการปรุงยาที่เปนภูมิปญญา ดั้งเดิมของไทยเปนวาระที่สําคัญยิ่งของชาติ ตองจัดใหมีการประสานงานระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของทุกๆ สวน ตั้งแตการวิจัย และพัฒนา การปลูกพืชสมุนไพร การผลิตขั้นอุตสาหกรรม การตลาด การใช การนําการแพทยแผนไทยและผลิตภัณฑยาจาก ก (1) ยาจากสมุนไพรที่เปนแผนโบราณ (2) ยาจากสมุนไพรแผนโบราณที่มีการพัฒนารูปแบบยาไปจากเดิม (3) ยาจากสมุนไพร (แผน ปจจุบัน) ซึ่งเปนยาที่ไดวิจัยและพัฒนาดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตรจนไดสารสกัดที่เปนสารประกอบกึ่งบริสุทธิ์ (Semi-purified compounds) และ (4) ยาแผนปจจุบันจากสมุนไพรที่เปนยาใหม ซึ่งไดจากการวิจัยและพัฒนาดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตรจนไดตัว ยาสําคัญที่เปนสารบริสุทธิ์
  • 13. สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32. ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 17 สมุนไพรเขาสูระบบบริการสุขภาพ และการสงออกผลิตภัณฑพรอมบริการ นอกจากนี้ ตองจัดใหมีการกํากับติดตามการ ดําเนินการในเรื่องดังกลาวอยางจริงจังกวาที่ผานมา รูปธรรมที่สําคัญคือการจัดตั้งสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา ยาแผนโบราณและสมุนไพรขึ้น ใหเปนองคกรอิสระ มีเงินกองทุนขนาดใหญและตอเนื่อง มุงเนนการวิจัยและพัฒนาที่ครบวงจร ขอเสนอในการวิจัย : (1) ประเมินประสิทธิผลและผลกระทบจากมาตรการที่รัฐกําหนดขึ้นเพื่อสงเสริมการใชยาแผนโบราณและยาจาก สมุนไพร เชน การอนุญาตใหใชเภสัชเคมีภัณฑแผนปจจุบันบางชนิดผสมในยาแผนโบราณ ประกาศกระทรวง สาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจําบานแผนโบราณ การนํายาจากสมุนไพรบรรจุไวในบัญชียาหลักแหงชาติ พ.ศ.2542 รวมทั้งโครงการที่มีวัตถุประสงคอื่นแตเกี่ยวของกับยาและผลิตภัณฑจากสมุนไพร เชน โครงการ 1 ตําบล 1 ผลิตภัณฑ เปนตน (2) การวิจัยและพัฒนายาสมุนไพรบางตัวที่เกือบครบวงจรใหครบวงจรสามารถนําผลไปใชผลิตเชิงอุตสาหกรรม 6. นโยบายแหงชาติดานยา (7) การจัดทํานโยบายดานยาในระดับประเทศเปนแนวคิดที่เกิดขึ้นในการประชุมสมัชชาองคการอนามัยโลกในป 2518 ที่ตองการใหแตละประเทศใชกระบวนการทางนโยบายในการแกปญหาภายในระบบยา โดยองคการฯ ใหการสนับสนุนดาน วิชาการ ผูเชี่ยวชาญ และงบประมาณ ประเทศไทยประกาศใชนโยบายแหงชาติดานยาฉบับแรกในป 2524 โดยมีปจจัยหลาย ประการที่นําไปสูการจัดทํานโยบายดังกลาว ไดแก การบริหารจัดการทางดานยาที่ไมมีประสิทธิภาพ การกระจายยาไมทั่วถึงเปน เหตุใหประชาชนในเขตชนบทหางไกลยังขาดแคลนยาจําเปน การใชยาอยางไมสมเหตุผล และความไมสามารถพึ่งพาตนเองของ อุตสาหกรรมยาในประเทศ เนื่องจากตองนําเขาทั้งวัตถุดิบและยาสําเร็จรูปคิดเปนมูลคามหาศาล ในการนํานโยบายแหงชาติดานยา พ.ศ.2524 ไปสูการปฏิบัติ คณะรัฐมนตรีไดประกาศแตงตั้งคณะกรรมการคณะ หนึ่งเรียกวา “คณะกรรมการแหงชาติทางดานยา” โดยมีรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขเปนประธาน และสํานักงาน คณะกรรมการอาหารและยาเปนฝายเลขานุการ ทําหนาที่กําหนดนโยบาย ทิศทางและเปาหมายในการพัฒนาระบบยาให สอดคลองกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ รวมทั้งกํากับ ดูแล ควบคุม และใหคําปรึกษา ขอแนะนําแกหนวยงาน ตางๆ ในการดําเนินงานที่เกี่ยวของกับระบบยาและการวิจัยและพัฒนายาสมุนไพร คณะกรรมการดังกลาวไดแตงตั้ง คณะอนุกรรมการหลายคณะเพื่อดําเนินการในเรื่องที่เกี่ยวของกับนโยบายแหงชาติดานยาตามที่คณะกรรมการมอบหมาย การดําเนินการตามนโยบายฯ ตั้งแตป 2524 – 2536 นับไดวามียุทธศาสตรที่ชัดเจน โดยมีการกําหนดแผนงาน โครงการภายใตแผนพัฒนาสาธารณสุข ตั้งแตฉบับที่ 5 (พ.ศ.2525 – 2529) ตอเนื่องมาจนถึงฉบับที่ 7 (พ.ศ.2535 – 2539) เห็น ไดชัดวากิจกรรมที่ริเริ่มดําเนินการในชวงนี้เกิดจากการปฏิบัติตามนโยบายดานยาของประเทศ เชน การจัดทําบัญชียาหลัก แหงชาติและบัญชียาสําหรับงานสาธารณสุขมูลฐาน การจัดทําราคากลางของยาตามบัญชียาหลักแหงชาติ การจัดทํามาตรฐาน การบําบัดรักษาโรคโดยการใชยา การพัฒนาหองปฏิบัติการดานการตรวจวิเคราะหคุณภาพยา การศึกษาวิจัยยาและยาสมุนไพร ของกรมวิทยาศาสตรการแพทย เปนตน การทบทวนเพื่อปรับปรุงนโยบายแหงชาติดานยาไดเริ่มขึ้นในป 2526 แตการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่เกิดขึ้น บอยครั้งทําใหกระบวนการดังกลาวหยุดชะงักไปเปนระยะๆ เนื่องจากคณะกรรมการแหงชาติดานยาเปนคณะกรรมการที่แตงตั้ง โดยมติคณะรัฐมนตรีจึงตองแตงตั้งใหมทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาล นโยบายแหงชาติดานยาฉบับที่ 2 ซึ่งประกาศใชในป
  • 14. สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ ระหวางประเทศ, 2545. หนา 5 – 32. ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย18 พ.ศ.2536 มีสาระสําคัญบางประการที่ถูกปรับเปลี่ยนไปจากนโยบายฯ ฉบับแรก รวมทั้งมีการกําหนดมาตรการในการ ดําเนินการและหนวยงานรับผิดชอบแตละหัวขอนโยบายไวอยางละเอียด อยางไรก็ตาม ความแตกตางที่สําคัญนาจะไดแกการนํา นโยบายไปสูการปฏิบัติ ถึงแมโครงสรางองคกรที่ทําหนาที่กํากับดูแลการปฏิบัติตามนโยบายจะยังคงอยูในรูปคณะกรรมการ ซึ่งมีสํานักงาน คณะกรรมการอาหารและยาเปนฝายเลขานุการ ตลอดจนมีการกําหนดแผนงาน โครงการไวภายใตแผนพัฒนาสาธารณสุข ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540 – 2544) แตพบวา โดยเฉลี่ยตั้งแตป 2537 – 2541 มีการประชุมคณะกรรมการดังกลาวเพียงปละครั้ง รวมทั้งเนื้อหา สวนใหญของการประชุมเปนเรื่องการแกไขปญหาเรงดวน สวนเรื่องที่จะกอใหเกิดการพัฒนาเชิงนโยบายหรือเปนการกํากับ ดูแลหรือการกําหนดแนวทางดําเนินการตามนโยบายแหงชาติดานยาอยางจริงจังนั้นมีอยูนอยมาก ในสวนของคณะอนุกรรมการ เกือบทุกคณะที่แตงตั้งโดยคณะกรรมการแหงชาติดานยาก็ไมปรากฏวามีผลงานที่เปนรูปธรรม มีเพียงคณะอนุกรรมการพัฒนา บัญชียาหลักแหงชาติที่ยังคงมีการดําเนินการอยูอยางตอเนื่อง จนกระทั่งจัดทําบัญชียาหลักแหงชาติ พ.ศ.2542 แลวเสร็จ และมี การดําเนินกิจกรรมที่เกี่ยวของ เชน การประชาสัมพันธทําความเขาใจเกี่ยวกับบัญชียาหลักฯ ที่จัดทําขึ้น ตลอดจนเริ่มวางระบบ ติดตามประเมินการใชยา (Drug Use Evaluation – DUE) ของยาในบัญชี ง.ไว ในความเปนจริง ภายหลังจากการประกาศใชนโยบายแหงชาติดานยา พ.ศ.2536 ระบบยาของประเทศไทยมีการ ปรับตัวหลายครั้งเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของปจจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ ถึงแมวาโครงการและกิจกรรมจํานวน มากที่ริเริ่มดําเนินการในชวงเวลานี้สอดคลองกับเนื้อหานโยบายและมาตรการที่กําหนดไว แตก็ไมปรากฏวามีการประสาน แผนปฏิบัติการดานยาหรือการสื่อสารทางนโยบายระหวางฝายเลขานุการของคณะกรรมการแหงชาติดานยากับหนวยงาน เหลานั้น ประกอบกับคณะกรรมการฯ ไมเคยพิจารณาหรือใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับโครงการและกิจกรรมเหลานี้ดังที่ไดกลาว ขางตน นอกจากนี้ หลายมาตรการยังปรากฏที่มาอยางชัดเจนวาเปนความริเริ่มขององคกรใดองคกรหนึ่ง เชน การปรับปรุงชุด สิทธิประโยชนของสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ การปฏิรูประบบบริหารเวชภัณฑเมื่อเกิดภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ การ ปรับปรุงพระราชบัญญัติยา เปนตน พัฒนาการที่เกิดขึ้นในสวนตางๆ ของระบบยาที่ผานมาจึงนาจะเปนไปตามนโยบายของ หนวยงานที่เกี่ยวของหรือเปนการดําเนินการดวยกลไกอื่นๆ เพื่อตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงของปจจัยและสถานการณ แวดลอมมากกวาถูกกําหนดโดยนโยบายแหงชาติดานยา ขอเสนอเพื่อการพัฒนา : โอนหนาที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการแหงชาติดานยาไปใหคณะกรรมการหรือ องคกรที่จัดตั้งขึ้นใหมภายใตการกํากับดูแลของคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ โดยมีสํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ เปนฝายเลขานุการ และสนับสนุนขอมูลวิชาการ รวมทั้งดําเนินการศึกษาวิจัยในเรื่องที่เกี่ยวของ (ภาพที่ 1.3) ขอเสนอในการวิจัย : ศึกษากระบวนการทางนโยบาย ตัวแสดง ปจจัยและสถานการณแวดลอมในการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการแหงชาติดานยาและคณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการฯ แตงตั้งขึ้น ตลอดจนการดําเนินมาตรการและ/หรือ กิจกรรมสําคัญที่กําหนดขึ้นตั้งแตประกาศใชนโยบายแหงชาติดานยา พ.ศ.2524 เปรียบเทียบระหวางมาตรการ/กิจกรรมที่ยกเลิก ไปแลวหรือไมมีการดําเนินการตอ (เชน มาตรฐานการบําบัดรักษาโรคโดยการใชยา เกณฑจริยธรรมเพื่อสงเสริม จริยธรรมและ ความรับผิดชอบในการสงเสริมการขายเภสัชภัณฑ) กับมาตรการ/กิจกรรมที่มีการดําเนินการตอเนื่องมาจนถึงปจจุบัน (เชน บัญชี ยาหลักแหงชาติ การกําหนดระเบียบวาดวยการซื้อยาดวยเงินงบประมาณของสวนราชการ) ภาพที่ 1.3 โครงสรางขององคกรที่รับผิดชอบนโยบายแหงชาติดานยาเปนสวนหนึ่งของคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ