SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
จากเนื้อหาของระบบเภสัชกรรมโรงพยาบาลในประเทศญี่ปุนฉบับที่ผานมาไดกลาวถึงงานบริการ
เภสัชกรรมในสวนของงานบริการผูปวยนอก ดังนั้นในขาวสารฯ ฉบับนี้ทางกองบรรณาธิการจะกลาวถึงเนื้อ
หาตอจากฉบับที่ผานมาในสวนของงานดานเภสัชกรรมคลินิก , การบริหารเวชภัณฑ และ การผลิตยา ดังเนื้อ
หาตอไปนี้คะ
ระบบเภสัชกรรมโรงพยาบาลในประเทศญี่ปุน (ตอ)
งานเภสัชกรรมคลินิค
* งานติดตามอาการอันไมพึงประสงคจากการใชยา
การติดตามอาการไมพึงประสงคจากการใชยา แมวามีระบบการรายงานที่ชัดเจนโดยโรงพยาบาลจะ
รายงานผานตรงไปยังกระทรวงสาธารณสุข ดวยแบบฟอรมตางสีระหวางยากับผลิตภัณฑอื่นๆ เชน เครื่อง
สําอาง วัสดุการแพทย ฯ สวนใหญอัตราการรายงานจากโรงพยาบาลมีนอยเมื่อเทียบกับการรายงานจาก
บริษัทผูผลิตยา ดังนั้น บริษัทผูผลิตยาจะเตรียมขอมูลและรายละเอียดของยาแตละรายการใหกับโรงพยาบาล
อยางละเอียด
* งานบริการขอมูลขาวสารดานยา
การใหบริการขอมูลขาวสารดานยาแกบุคลากรทางการแพทย และผูมารับบริการ ขอมูลที่ไดทั้ง
หมดมาจากทั้งทางอินเตอรเนต ตําราวิชาการ และจากบริษัทผูผลิตยา ศูนยขอมูลมีเภสัชกรรับผิดชอบและเจา
พนักงานเภสัชกรรมชวยงานดานเอกสาร ทุกวันจะมีการสงขาวสั้นๆ ที่เกี่ยวของกับทางการแพทยและเภสัช
ศาสตรที่ไดจากการคนควาทางอินเตอรเนตและสงโทรสารไปยังหนวยตางๆ ของกลุมงานเภสัชกรรมและ
บนหอผูปวย ซึ่งทําใหบุคลากรทางการแพทยทุกคนไดรับทราบขอมูลความเคลื่อนไหวที่เปนปจจุบัน
ตําราวิชาการและวารสารทางการแพทยและเภสัชศาสตรที่ใชอางอิงเปนภาษาญี่ปุนเกือบทั้งหมด มี
ตําราอางอิงที่เปนภาษาอังกฤษนอย ทําใหเภสัชกรญี่ปุนไมคอยมีความคุนเคยในการอานตําราภาษาอังกฤษ
มากนัก และมีการนําตําราวิชาการภาษาอังกฤษมาแปลเปนภาษาญี่ปุน เชน Pharmacotherapeutics ชื่อยาทั้ง
หมดก็จะถูกเขียนทับศัพทที่อานเปนภาษาญี่ปุน (ไมวาจะที่ขางกลองยา ที่ซองยา บนแผงยา หรือที่ขางขวด
ยา) ไมมีภาษาอังกฤษเลย ดังนั้น จะเปนอุปสรรคมากสําหรับชาวตางชาติที่ไมไดรูภาษาญี่ปุน ขอมูลที่
ถูกสอบถามนั้นมาจากแพทย พยาบาลและเภสัชกร มากมานอยตามลําดับ มีการจัดทําวารสารรายเดือน
ซึ่งรวมบทความนาสนใจตางๆ แจกจายไปยังทุกแผนกและทุกหอผูปวย (แมจะรูวาอาจมีทั้งผูที่สนใจอานและ
ไมอาน) ศูนยขอมูลยายังเปนแหลงสนับสนุนขอมูลดานยาใหกับคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด
โดยเฉพาะในกรณีที่มีการพิจารณาคัดเลือกยาเขาและคัดยาออกจากบัญชีของโรงพยาบาล ขอมูลการใชยา
เอกสาร แผนพับ รวมถึงสื่อตางๆ จะไดรับจากบริษัทผูผลิตยาอยางเพียงพอ โดยไมตองจัดทําขึ้นเองเพิ่มเติม
แตตองนํามาวิเคราะห ตรวจสอบความถูกตองของเอกสารทั้งหมดกอนนําออกมาแจกใหกับผูปวย
* งานใหคําปรึกษาดานยาแกผูปวย
งานดานนี้ในสวนของผูปวยนอกยังไมเดนนัก แตกรณีของผูปวยในนั้นมีจุดที่นาสนใจคือ การใหคํา
ปรึกษาดานยาแกผูปวยในกอนกลับบานสามารถสรางรายไดใหกับโรงพยาบาล คือจะไดรับเงิน 3,500 เยนตอ
การไปพบผูปวย 1 รายตอครั้งที่หอผูปวย แตจะไมเกิน 14,000 เยนตอเดือนตอผูปวย 1 ราย ทําใหผูบริหาร
โรงพยาบาลเห็นความสําคัญของบทบาทของเภสัชกร ดังนั้น เภสัชกรจะขึ้นไปบนหอผูปวยพรอมเอกสาร
กํากับยาดังที่กลาวไวในเรื่องของงานบริการผูปวยนอก นําไปใหผูปวยที่เตียงและอธิบาย พูดคุย ซักถาม
ปญหาหรือประเด็นตางๆ ที่เกี่ยวของกับการใชยาที่ผูปวยจะไดรับไปใชตอที่บาน มีการกําหนดเภสัชกรที่รับ
ผิดชอบงานดานนี้ในทุกหอผูปวยชัดเจน
* Ward Rounding
มีความพยายามผลักดันใหมีเภสัชกรรวมกับแพทยในการดูแลผูปวยบนหอผูปวยใน แตเนื่องจาก
เภสัชกรญี่ปุนขาดความชํานาญ ทักษะ และการฝกฝนในดานเภสัชกรรมคลินิกและ Pharmacotherapeutics
เภสัชกรญี่ปุนสวนใหญยังตองปฏิบัติงานประจําของตน แมวาจะมีหลักสูตรปริญญาโท Clinical Pharmacy
(แตก็ไมใชเภสัชกรทุกคนจะสนใจและเรียนดานนี้) ก็ตาม ที่ Kameda Medical Center มีเพียงเภสัชกรที่จบ
Pharm D. จากอเมริกาที่เขารวมดูแล ใหคําปรึกษาเรื่องการใชยาและรวมทํากรณีศึกษาผูปวยรวมกับแพทย
อเมริกันและกลุมแพทยญี่ปุน แตยังไมสามารถเขารวมไดอยางสม่ําเสมอ
การดูแลผูปวยที่บาน (Pharmacy Home Care Service)
ดวยรัฐบาลญี่ปุนเล็งเห็นวาผูสูงอายุกําลังมีจํานวนเพิ่มขึ้น คาใชจายในดานการดูแลรักษาพยาบาลก็
เพิ่มขึ้นเปนเงาตามตัว จึงไดปฏิรูประบบประกันสุขภาพสําหรับผูสูงอายุขึ้นเมื่อป 2543 เพื่อใหเกิดการดูแล
สุขภาพที่บานซึ่งมีคาใชจายที่ถูกกวา เภสัชกรเขารวมเปนสวนหนึ่งของทีมดูแลผูปวยที่บานและไดรับการ
ยอมรับจากแพทยและพยาบาล การเลือกผูปวยนั้นจะมีเกณฑที่ชัดเจน มีการประชุมกันอยางสม่ําเสมอ
สวนใหญเปนผูสูงอายุที่ตองกลับไปพักรักษาตอที่บาน เภสัชกรจะมีการพูดคุยกันถึงประเด็นปญหาที่อาจ
เกิดจากการใชยาเพื่อการปรับเปลี่ยนการรักษาที่เกิดประโยชนตอผูปวยสูงสุดกอนที่จะนําเสนอในทีม เภสัช
กรอาจไปเยี่ยมผูปวยเองหรือไปพรอมกับทีมก็ได
งานบริหารเวชภัณฑ
การคัดเลือกยาและเวชภัณฑจะผานทางคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด โดยมีเภสัชกรที่
ทํางานอยูที่ศูนยขอมูลยาเปนเลขาของคณะกรรมการนี้ ยาสวนใหญที่จัดซื้อดวยชื่อการคา (Brand name
drug) แทบทั้งหมด แพทย พยาบาล รวมทั้งเภสัชกรหลายคนมีความคุนเคยกับชื่อการคามากกวาชื่อสามัญ
ทางยา (Generic drug) โรงพยาบาลตองใชเงินจํานวนมากในการจัดซื้อ Brand name drug เนื่องจากยาเหลา
นี้มีราคาแพง จึงมีความพยายามที่จะเปลี่ยนมาซื้อยา Generic drug มากขึ้น เภสัชกรมิไดเปนผูสั่งซื้อยาเอง
เพียงแตแจงรายการยาที่ไดตกลงจากคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด ใหบริษัทขายสง (Wholesaler)
ที่เปนคนกลางในการตอรองราคาและจัดซื้อ/จัดหาจากบริษัทผูผลิตยา ซึ่งบริษัทขายสงนี้มีสํานักงานอยูใน
โรงพยาบาล ดําเนินการจัดซื้อยาทุกวัน เนื่องจากยาสามารถจัดสงจากบริษัทผูผลิตยามาถึงโรงพยาบาลภาย
ในวันเดียวเทานั้น จึงไมจําเปนตองสํารองยาไวในปริมาณมาก (เพียงแค 2-3 วัน) และไมจําเปนตองใชพื้นที่
มากในเก็บรักษายา เจาหนาที่ของบริษัทขายสงจะเปนผูดูแลคลังสํารองยา รวมถึงการเขาไปตรวจสอบ
จํานวนของยาที่มีสํารองไวที่หองยาจายยาผูปวยนอกและหองยาจายยาผูปวยใน ถายาต่ํากวาระดับที่ตั้งไว ก็
จะนํามาเติมใหครบทุกวัน แตที่ Kameda Medical Center มีระบบพิเศษที่เพิ่งเริ่มนํามาใชที่คลังสํารองยาของ
หองจายยาผูปวยนอกเปนที่แรก คือ การรับยาเขาและตัดออกจากคลังจะมีเครื่องตรวจสอบจากบารโคดขาง
กลองบรรจุยา ระบบจะเชื่อมตรงสูบริษัทขายสงในโรงพยาบาล ซึ่งจะสงขอมูลจํานวนยาที่เหลือในแตละวัน
ใหกับบริษัทรับทราบ และบริษัทจะนํามายาเพิ่มใหถาจํานวนยาอยูในระดับต่ํากวาที่ตั้งไว คอนขางสะดวก
มากที่ไมตองสงคนมาตรวจสอบและไมตองใชเอกสารในการเก็บขอมูล
ปจจุบันถึงแมวางานบริหารเวชภัณฑในประเทศญี่ปุน เภสัชกรไมมีบทบาทมากนักเพราะการคัด
เลือกยา การจัดซื้อ/จัดหา และการดูแลเก็บรักษาคลังเวชภัณฑไมไดอยูในความรับผิดชอบ การที่เภสัชกรใน
ฐานะผูเชี่ยวชาญดานยาที่คนควาและติดตามขอมูลขาวสารดานยาอยูเสมอ เพื่อนํามาเปนขอมูลในการจัดหา
และกําหนดหลักเกณฑในการพิจารณาใหทันสมัยมิไดเปนผูคัดเลือกยา ดวยเหตุนี้ อาจทําใหจัดซื้อ/จัดหายา
จากบริษัทขายสงไดยาที่ไมตรงคุณลักษณะเฉพาะตามหลักวิชาการเนื่องจากยาที่ผลิตโดยตางบริษัทจะมี
แหลงวัตถุดิบหรือกรรมวิธีการผลิตที่แตกตางกัน ซึ่งมีผลตอประสิทธิภาพการรักษา จึงมีแนวคิดที่โรง
พยาบาลจะเปนผูจัดซื้อ/จัดหายากับบริษัทผูผลิตยาโดยไมผานบริษัทขายสงดังกลาว เนื่องจากวาจะไดยาที่มี
ราคาถูกกวาโดยไมตองมีสวนตางที่เกิดขึ้น และเภสัชกรก็จะเขามามีบทบาทเพิ่มขึ้นในสวนนี้ โดยเฉพาะการ
คัดเลือกยา แตสวนตัวผมกลับมองวาการที่เภสัชกรไมตองรับผิดชอบการบริหารจัดการนั้น นาจะเปนขอดี
ที่ทําใหเรามีเวลาในการพัฒนางานในสวนอื่นๆ ไดมากขึ้นดวย เชน งานเภสัชกรรมคลินิก
สวนผูแทนยานั้น มีหนาที่สนับสนุนเอกสารขอมูลยา ไมมีอํานาจในการตอรองราคากับลูกคาเหมือน
อยางในประเทศไทยแตอยางใดและอีกหนาที่หนึ่งคือ การมาเยี่ยมแพทยและเภสัชกร(บอยมากๆ) เขาถือวา
เปนการเอาใจใสตอลูกคา ยิ่งไดพบลูกคาบอยมากเทาไรยิ่งดี (บางครั้งมีของขวัญเล็กๆ นอยๆ มามอบให ก็
คลายๆ กับบานเรา) ดังนั้น บริษัทยาในญี่ปุนจะจางผูแทนยาเปนจํานวนมาก เชน บริษัท Takeda มีเครือขาย
มากที่สุดในญี่ปุน
งานผลิตยา
ที่ Kameda Medical Center มีการเตรียมยาหลายรูปแบบ เชน ยาน้ํา ยาครีม ยาผง ยาสมุนไพร
ปริมาณ ขนาด น้ําหนักของยาแตละชนิดจะถูกคํานวณมาเรียบรอยแลวในคอมพิวเตอร และเปนการผลิตยา
สําหรับผูปวยตอคนตามใบสั่งแพทย มีเครื่องมือบรรจุยาอัตโนมัติ อุปกรณตางๆ และหองเตรียมยามีความ
พรอมมาก จากการสังเกตจุดที่อาจทําใหเกิดความลาชาทําใหผูปวยนอกรอรับยานานคือ การเตรียม/ผลิตยา
(โดยเฉพาะยาน้ําสมุนไพร) เนื่องจากเปนการผลิตตอรายตามใบสั่งแพทย มิไดมีการเตรียมสํารองไว ขั้นตอน
ในการทําคอนขางพิถีพิถัน มีการตรวจสอบหลายขั้นตอนซึ่งมากกวาการจัดยาเม็ดในชั้นวางมาใสตะกรา
กรณียาน้ําสมุนไพร ใชเวลาในการผลิตนานกวา 1-2 ชั่วโมง ทําใหผูปวยไมสามารถรอรับยาไดเลย
จึงทําใหเกิดระบบการบริการอีกรูปแบบหนึ่งที่นาสนใจคือ การบริการสงยาไปที่บานโดยบริษัทขนสงเอกชน
(เชน Yamato Transport Co.,Ltd. เปนบริษัทขนสงที่มีชื่อเสียงแหงหนึ่ง) ชวยเพิ่มความสะดวกใหกับผูปวย
เปนอยางมาก แตตองมีการตกลงยินยอมจากผูปวยเสียกอน เพราะการบริการนี้ตองเสียเงินดวย
Investigational Drugs
การพัฒนายาใหมเปนเปนขบวนการที่ยุงยากซับซอนและใชเวลานาน ตองมีการศึกษาวิจัยในสัตว
ทดลองและการศึกษาในคน จึงมีเฉพาะในโรงพยาบาลขนาดใหญและมีบุคลากรทางการแพทยหลายสาขา
ในสวนของ Kameda Medical Center ไดรับการสนับสนุนใหเปนแหลงศึกษาวิจัยยาใหมหรือ protocol จาก
บริษัทผูผลิตยา มีเภสัชกรทํางานอยูในทีมวิจัยทางคลินิก เปนผูประสานงานในการรวบรวมวิเคราะหขอมูล
และบริหารจัดการยาใหมหรือ protocol การจัดเก็บยาใหมหรือ protocol นั้นจะแยกเก็บพิเศษไปจากยาทั่วไป
ในหองยาผูปวยนอก โดยระบุชื่อยาดวยรหัส และจะมีการจายเฉพาะเมื่อมีการสั่งจากแพทยผูทําการวิจัยเทา
นั้น จะมีการประชุมหารือเกี่ยวกับคุณสมบัติทางเภสัชจลนศาสตร การดูดซึม การกระจายตัว การเปลี่ยน
แปลง และการขับถาย รวมถึงขอมูลเกี่ยวกับฤทธิ์ อาการไมพึงประสงค ประสิทธิภาพ และความปลอดภัยใน
การใชยา เพื่อนําขอมูลเหลานี้มาเสนอตอคณะกรรมการที่มีชื่อวา Institutional Review Board (IRB) ประกอบ
ไปดวยแพทยเฉพาะทางหลายสาขา เภสัชกร พยาบาล และบุคลากรทางการแพทยอื่นๆ ที่เกี่ยวของ นอกจาก
นั้นยังประกอบดวยผูที่อยูนอกวงการสาธารณสุขดวยเชน นิติกร แมบาน ครู ฯ โดยคณะกรรมการนี้จะมีการ
พูดคุยกันเปนประจําถึงปญหาหรือผลที่เกิดขึ้นจากการนํายาใหมหรือ protocol ชนิดนั้นๆ มาใชกับผูปวยที่
สมัครใจ ซึ่งผูปวยที่สมัคใจเขารวมการศึกษาพัฒนายาใหมนี้สามารถยุติการเขารวมทดลองเมื่อไรก็ได ดั้ง
นั้น จํานวนผูปวยที่สมัครใจรวมทดลองอาจไมมากนัก
นอกจากบทบาทหนาที่ที่กลาวมาทั้งหมดขางบน เภสัชกรยังมีบทบาทรวมใน Palliative Care Team
ซึ่งประกอบไปดวยแพทย พยาบาล และนักจิตวิยา รวมถึงการนําบาทหลวงหรือพระทางศาสนา มาเขา
รวมทีมดูแลผูปวย โดยเฉพาะผูปวยที่อยูในระยะสุดทายของโรคเรื้อรังตางๆ เชน โรคมะเร็ง ผูปวยเหลานี้
จะมีชีวิตอยูไดไมนาน สภาพจิตใจไมสูดีนัก การดูแลผูปวยจึงไมเนนการใหการรักษาทางกายเพียงอยางเดียว
แตชวยเติมความเขมแข็งทางจิตใจใหผูปวยดวย งานดานนี้ยังอยูในระยะเริ่มตน แตก็ถือวาเปนความพยายาม
ที่จะเพิ่มคุณภาพชีวิตผูปวยใหมากที่สุด
โรคบางชนิดที่มีผลมาจากการบริโภคสารอาหารมากเกินหรือขาดสารอาหารหรือไมสมดุล ซึ่งตอง
อาศัยความรูทางดานเภสัชกรรมรวมดวยนั้น จึงมีเภสัชกรรวมใน Nutrition Support Team (NST) ชวยให
คําปรึกษาดานการปรับขนาดยาในผูปวยที่มีความผิดปกติของตับหรือไต รวมประเมินภาวะโภชนาการและ
ความตองการสารอาหาร เสนอการปรับเปลี่ยนสูตรอาหารและยา รวมถึงแนวทางการใหสารอาหารและยา
รวมกับนักโภชนาการ แมวาเภสัชกรเปนผูเชี่ยวชาญดานยาก็ตาม แตบทบาทดานนี้ก็เปนอีกสวนหนึ่งที่เรา
สามารถกอประโยชนใหกับผูปวยได เพียงตองไดรับความรูเกี่ยวกับการดูแลเรื่องอาหารและยา พรอมทั้งมี
การฝกปฏิบัติเพื่อใหเกิดความชํานาญอยางสม่ําเสมอ
ทั้งหมดนี้เปนสิ่งที่อยากนําเสนอใหกับพี่นองเภสัชกรเพื่อใหเห็นภาพของระบบเภสัชกรรมโรง
พยาบาลในประเทศญี่ปุน จะเห็นวาทุกกระบวนการในระบบเภสัชกรรมตองปฏิบัติโดยเภสัชกรทุกขั้นตอน
เภสัชกรมีบทบาทในการดูแลผูปวยและไดรับการยอมรับจากบุคลากรทางการแพทยอื่นๆ มีการใชเครื่องมือที่
ทันสมัยและระบบโปรแกรมคอมพิวเตอรมาชวยเพิ่มความสะดวกในการทํางาน และความพยายามที่จะ
พัฒนาวิชาชีพเภสัชกรรมในบทบาทและมุมมองใหมๆ เชน ดานเภสัชกรรมคลินิก ทั้งนี้เพื่อยึดผลประโยชน
ตอผูปวยเปนสําคัญ ผมอยากใหอานบทความวิชาการที่เกี่ยวของกับระบบเภสัชกรรมในประเทศญี่ปุนของ
ภญ.จันทิมา โยธาพิทักษ เพิ่มเติมดวยครับ โดยหาอานไดที่
http://grad.pha.nu.ac.th/dis/articles/japan.pdf และถาหากทานผูอานมีขอสงสัยหรือตองการขอมูล
เพิ่มเติมสามารถติดตอไดที่ firstclass2518@hotmail.com

More Related Content

What's hot

คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง
คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง
คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง Vorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...Vorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...Vorawut Wongumpornpinit
 
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...Vorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013Vorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...Vorawut Wongumpornpinit
 
คำให้การตอประชาชน Final r2
คำให้การตอประชาชน Final r2คำให้การตอประชาชน Final r2
คำให้การตอประชาชน Final r2Sopit Pairo
 
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545Utai Sukviwatsirikul
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...Vorawut Wongumpornpinit
 
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP Vorawut Wongumpornpinit
 
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...Utai Sukviwatsirikul
 
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)Utai Sukviwatsirikul
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60Paradee Plodpai
 
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์Utai Sukviwatsirikul
 
การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1
การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1
การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (19)

คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง
คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง
คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง
 
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
 
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...
 
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
 
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
 
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
 
คำให้การตอประชาชน Final r2
คำให้การตอประชาชน Final r2คำให้การตอประชาชน Final r2
คำให้การตอประชาชน Final r2
 
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
 
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
 
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
 
News 2011 Pseudo/tripro tablets
News 2011 Pseudo/tripro tabletsNews 2011 Pseudo/tripro tablets
News 2011 Pseudo/tripro tablets
 
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
 
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
 
Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555
 
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1
การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1
การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1
 

Similar to Japan

การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfpraphan khunti
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆTuanthon Boonlue
 
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Wila Khongcheema
 
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1Sarachai Sookprasong
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised Nithimar Or
 
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทยทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทยUtai Sukviwatsirikul
 
การเฝ้าระวัง AEFI
การเฝ้าระวัง AEFIการเฝ้าระวัง AEFI
การเฝ้าระวัง AEFISambushi Kritsada
 
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฯ กระทรวงสาธารณสุข ดูระบบงาน IT
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฯ กระทรวงสาธารณสุข ดูระบบงาน ITศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฯ กระทรวงสาธารณสุข ดูระบบงาน IT
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฯ กระทรวงสาธารณสุข ดูระบบงาน ITPongsa Pongsathorn
 
5.เครื่องสำอางใหม่
5.เครื่องสำอางใหม่5.เครื่องสำอางใหม่
5.เครื่องสำอางใหม่Prapakorn Srisawangwong
 
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประ...
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประ...การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประ...
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประ...Utai Sukviwatsirikul
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรียสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรียนายสามารถ เฮียงสุข
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออกสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออกนายสามารถ เฮียงสุข
 
4 makarak
4 makarak4 makarak
4 makarakyim2009
 

Similar to Japan (20)

การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
 
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
 
2011 drug system_report
2011 drug system_report2011 drug system_report
2011 drug system_report
 
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
 
antidote y57
antidote y57antidote y57
antidote y57
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
 
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทยทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
 
Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555
 
การเฝ้าระวัง AEFI
การเฝ้าระวัง AEFIการเฝ้าระวัง AEFI
การเฝ้าระวัง AEFI
 
สปสช.การบริหารAsthma&copd57
สปสช.การบริหารAsthma&copd57สปสช.การบริหารAsthma&copd57
สปสช.การบริหารAsthma&copd57
 
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฯ กระทรวงสาธารณสุข ดูระบบงาน IT
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฯ กระทรวงสาธารณสุข ดูระบบงาน ITศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฯ กระทรวงสาธารณสุข ดูระบบงาน IT
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฯ กระทรวงสาธารณสุข ดูระบบงาน IT
 
5.เครื่องสำอางใหม่
5.เครื่องสำอางใหม่5.เครื่องสำอางใหม่
5.เครื่องสำอางใหม่
 
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประ...
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประ...การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประ...
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประ...
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรียสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออกสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
 
Paraqaut
ParaqautParaqaut
Paraqaut
 
Rdu book
Rdu bookRdu book
Rdu book
 
4 makarak
4 makarak4 makarak
4 makarak
 

Japan

  • 1. จากเนื้อหาของระบบเภสัชกรรมโรงพยาบาลในประเทศญี่ปุนฉบับที่ผานมาไดกลาวถึงงานบริการ เภสัชกรรมในสวนของงานบริการผูปวยนอก ดังนั้นในขาวสารฯ ฉบับนี้ทางกองบรรณาธิการจะกลาวถึงเนื้อ หาตอจากฉบับที่ผานมาในสวนของงานดานเภสัชกรรมคลินิก , การบริหารเวชภัณฑ และ การผลิตยา ดังเนื้อ หาตอไปนี้คะ ระบบเภสัชกรรมโรงพยาบาลในประเทศญี่ปุน (ตอ) งานเภสัชกรรมคลินิค * งานติดตามอาการอันไมพึงประสงคจากการใชยา การติดตามอาการไมพึงประสงคจากการใชยา แมวามีระบบการรายงานที่ชัดเจนโดยโรงพยาบาลจะ รายงานผานตรงไปยังกระทรวงสาธารณสุข ดวยแบบฟอรมตางสีระหวางยากับผลิตภัณฑอื่นๆ เชน เครื่อง สําอาง วัสดุการแพทย ฯ สวนใหญอัตราการรายงานจากโรงพยาบาลมีนอยเมื่อเทียบกับการรายงานจาก บริษัทผูผลิตยา ดังนั้น บริษัทผูผลิตยาจะเตรียมขอมูลและรายละเอียดของยาแตละรายการใหกับโรงพยาบาล อยางละเอียด * งานบริการขอมูลขาวสารดานยา การใหบริการขอมูลขาวสารดานยาแกบุคลากรทางการแพทย และผูมารับบริการ ขอมูลที่ไดทั้ง หมดมาจากทั้งทางอินเตอรเนต ตําราวิชาการ และจากบริษัทผูผลิตยา ศูนยขอมูลมีเภสัชกรรับผิดชอบและเจา พนักงานเภสัชกรรมชวยงานดานเอกสาร ทุกวันจะมีการสงขาวสั้นๆ ที่เกี่ยวของกับทางการแพทยและเภสัช ศาสตรที่ไดจากการคนควาทางอินเตอรเนตและสงโทรสารไปยังหนวยตางๆ ของกลุมงานเภสัชกรรมและ บนหอผูปวย ซึ่งทําใหบุคลากรทางการแพทยทุกคนไดรับทราบขอมูลความเคลื่อนไหวที่เปนปจจุบัน ตําราวิชาการและวารสารทางการแพทยและเภสัชศาสตรที่ใชอางอิงเปนภาษาญี่ปุนเกือบทั้งหมด มี ตําราอางอิงที่เปนภาษาอังกฤษนอย ทําใหเภสัชกรญี่ปุนไมคอยมีความคุนเคยในการอานตําราภาษาอังกฤษ มากนัก และมีการนําตําราวิชาการภาษาอังกฤษมาแปลเปนภาษาญี่ปุน เชน Pharmacotherapeutics ชื่อยาทั้ง หมดก็จะถูกเขียนทับศัพทที่อานเปนภาษาญี่ปุน (ไมวาจะที่ขางกลองยา ที่ซองยา บนแผงยา หรือที่ขางขวด ยา) ไมมีภาษาอังกฤษเลย ดังนั้น จะเปนอุปสรรคมากสําหรับชาวตางชาติที่ไมไดรูภาษาญี่ปุน ขอมูลที่ ถูกสอบถามนั้นมาจากแพทย พยาบาลและเภสัชกร มากมานอยตามลําดับ มีการจัดทําวารสารรายเดือน ซึ่งรวมบทความนาสนใจตางๆ แจกจายไปยังทุกแผนกและทุกหอผูปวย (แมจะรูวาอาจมีทั้งผูที่สนใจอานและ ไมอาน) ศูนยขอมูลยายังเปนแหลงสนับสนุนขอมูลดานยาใหกับคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด โดยเฉพาะในกรณีที่มีการพิจารณาคัดเลือกยาเขาและคัดยาออกจากบัญชีของโรงพยาบาล ขอมูลการใชยา เอกสาร แผนพับ รวมถึงสื่อตางๆ จะไดรับจากบริษัทผูผลิตยาอยางเพียงพอ โดยไมตองจัดทําขึ้นเองเพิ่มเติม แตตองนํามาวิเคราะห ตรวจสอบความถูกตองของเอกสารทั้งหมดกอนนําออกมาแจกใหกับผูปวย
  • 2. * งานใหคําปรึกษาดานยาแกผูปวย งานดานนี้ในสวนของผูปวยนอกยังไมเดนนัก แตกรณีของผูปวยในนั้นมีจุดที่นาสนใจคือ การใหคํา ปรึกษาดานยาแกผูปวยในกอนกลับบานสามารถสรางรายไดใหกับโรงพยาบาล คือจะไดรับเงิน 3,500 เยนตอ การไปพบผูปวย 1 รายตอครั้งที่หอผูปวย แตจะไมเกิน 14,000 เยนตอเดือนตอผูปวย 1 ราย ทําใหผูบริหาร โรงพยาบาลเห็นความสําคัญของบทบาทของเภสัชกร ดังนั้น เภสัชกรจะขึ้นไปบนหอผูปวยพรอมเอกสาร กํากับยาดังที่กลาวไวในเรื่องของงานบริการผูปวยนอก นําไปใหผูปวยที่เตียงและอธิบาย พูดคุย ซักถาม ปญหาหรือประเด็นตางๆ ที่เกี่ยวของกับการใชยาที่ผูปวยจะไดรับไปใชตอที่บาน มีการกําหนดเภสัชกรที่รับ ผิดชอบงานดานนี้ในทุกหอผูปวยชัดเจน * Ward Rounding มีความพยายามผลักดันใหมีเภสัชกรรวมกับแพทยในการดูแลผูปวยบนหอผูปวยใน แตเนื่องจาก เภสัชกรญี่ปุนขาดความชํานาญ ทักษะ และการฝกฝนในดานเภสัชกรรมคลินิกและ Pharmacotherapeutics เภสัชกรญี่ปุนสวนใหญยังตองปฏิบัติงานประจําของตน แมวาจะมีหลักสูตรปริญญาโท Clinical Pharmacy (แตก็ไมใชเภสัชกรทุกคนจะสนใจและเรียนดานนี้) ก็ตาม ที่ Kameda Medical Center มีเพียงเภสัชกรที่จบ Pharm D. จากอเมริกาที่เขารวมดูแล ใหคําปรึกษาเรื่องการใชยาและรวมทํากรณีศึกษาผูปวยรวมกับแพทย อเมริกันและกลุมแพทยญี่ปุน แตยังไมสามารถเขารวมไดอยางสม่ําเสมอ การดูแลผูปวยที่บาน (Pharmacy Home Care Service) ดวยรัฐบาลญี่ปุนเล็งเห็นวาผูสูงอายุกําลังมีจํานวนเพิ่มขึ้น คาใชจายในดานการดูแลรักษาพยาบาลก็ เพิ่มขึ้นเปนเงาตามตัว จึงไดปฏิรูประบบประกันสุขภาพสําหรับผูสูงอายุขึ้นเมื่อป 2543 เพื่อใหเกิดการดูแล สุขภาพที่บานซึ่งมีคาใชจายที่ถูกกวา เภสัชกรเขารวมเปนสวนหนึ่งของทีมดูแลผูปวยที่บานและไดรับการ ยอมรับจากแพทยและพยาบาล การเลือกผูปวยนั้นจะมีเกณฑที่ชัดเจน มีการประชุมกันอยางสม่ําเสมอ สวนใหญเปนผูสูงอายุที่ตองกลับไปพักรักษาตอที่บาน เภสัชกรจะมีการพูดคุยกันถึงประเด็นปญหาที่อาจ เกิดจากการใชยาเพื่อการปรับเปลี่ยนการรักษาที่เกิดประโยชนตอผูปวยสูงสุดกอนที่จะนําเสนอในทีม เภสัช กรอาจไปเยี่ยมผูปวยเองหรือไปพรอมกับทีมก็ได งานบริหารเวชภัณฑ การคัดเลือกยาและเวชภัณฑจะผานทางคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด โดยมีเภสัชกรที่ ทํางานอยูที่ศูนยขอมูลยาเปนเลขาของคณะกรรมการนี้ ยาสวนใหญที่จัดซื้อดวยชื่อการคา (Brand name drug) แทบทั้งหมด แพทย พยาบาล รวมทั้งเภสัชกรหลายคนมีความคุนเคยกับชื่อการคามากกวาชื่อสามัญ ทางยา (Generic drug) โรงพยาบาลตองใชเงินจํานวนมากในการจัดซื้อ Brand name drug เนื่องจากยาเหลา นี้มีราคาแพง จึงมีความพยายามที่จะเปลี่ยนมาซื้อยา Generic drug มากขึ้น เภสัชกรมิไดเปนผูสั่งซื้อยาเอง เพียงแตแจงรายการยาที่ไดตกลงจากคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด ใหบริษัทขายสง (Wholesaler) ที่เปนคนกลางในการตอรองราคาและจัดซื้อ/จัดหาจากบริษัทผูผลิตยา ซึ่งบริษัทขายสงนี้มีสํานักงานอยูใน โรงพยาบาล ดําเนินการจัดซื้อยาทุกวัน เนื่องจากยาสามารถจัดสงจากบริษัทผูผลิตยามาถึงโรงพยาบาลภาย
  • 3. ในวันเดียวเทานั้น จึงไมจําเปนตองสํารองยาไวในปริมาณมาก (เพียงแค 2-3 วัน) และไมจําเปนตองใชพื้นที่ มากในเก็บรักษายา เจาหนาที่ของบริษัทขายสงจะเปนผูดูแลคลังสํารองยา รวมถึงการเขาไปตรวจสอบ จํานวนของยาที่มีสํารองไวที่หองยาจายยาผูปวยนอกและหองยาจายยาผูปวยใน ถายาต่ํากวาระดับที่ตั้งไว ก็ จะนํามาเติมใหครบทุกวัน แตที่ Kameda Medical Center มีระบบพิเศษที่เพิ่งเริ่มนํามาใชที่คลังสํารองยาของ หองจายยาผูปวยนอกเปนที่แรก คือ การรับยาเขาและตัดออกจากคลังจะมีเครื่องตรวจสอบจากบารโคดขาง กลองบรรจุยา ระบบจะเชื่อมตรงสูบริษัทขายสงในโรงพยาบาล ซึ่งจะสงขอมูลจํานวนยาที่เหลือในแตละวัน ใหกับบริษัทรับทราบ และบริษัทจะนํามายาเพิ่มใหถาจํานวนยาอยูในระดับต่ํากวาที่ตั้งไว คอนขางสะดวก มากที่ไมตองสงคนมาตรวจสอบและไมตองใชเอกสารในการเก็บขอมูล ปจจุบันถึงแมวางานบริหารเวชภัณฑในประเทศญี่ปุน เภสัชกรไมมีบทบาทมากนักเพราะการคัด เลือกยา การจัดซื้อ/จัดหา และการดูแลเก็บรักษาคลังเวชภัณฑไมไดอยูในความรับผิดชอบ การที่เภสัชกรใน ฐานะผูเชี่ยวชาญดานยาที่คนควาและติดตามขอมูลขาวสารดานยาอยูเสมอ เพื่อนํามาเปนขอมูลในการจัดหา และกําหนดหลักเกณฑในการพิจารณาใหทันสมัยมิไดเปนผูคัดเลือกยา ดวยเหตุนี้ อาจทําใหจัดซื้อ/จัดหายา จากบริษัทขายสงไดยาที่ไมตรงคุณลักษณะเฉพาะตามหลักวิชาการเนื่องจากยาที่ผลิตโดยตางบริษัทจะมี แหลงวัตถุดิบหรือกรรมวิธีการผลิตที่แตกตางกัน ซึ่งมีผลตอประสิทธิภาพการรักษา จึงมีแนวคิดที่โรง พยาบาลจะเปนผูจัดซื้อ/จัดหายากับบริษัทผูผลิตยาโดยไมผานบริษัทขายสงดังกลาว เนื่องจากวาจะไดยาที่มี ราคาถูกกวาโดยไมตองมีสวนตางที่เกิดขึ้น และเภสัชกรก็จะเขามามีบทบาทเพิ่มขึ้นในสวนนี้ โดยเฉพาะการ คัดเลือกยา แตสวนตัวผมกลับมองวาการที่เภสัชกรไมตองรับผิดชอบการบริหารจัดการนั้น นาจะเปนขอดี ที่ทําใหเรามีเวลาในการพัฒนางานในสวนอื่นๆ ไดมากขึ้นดวย เชน งานเภสัชกรรมคลินิก สวนผูแทนยานั้น มีหนาที่สนับสนุนเอกสารขอมูลยา ไมมีอํานาจในการตอรองราคากับลูกคาเหมือน อยางในประเทศไทยแตอยางใดและอีกหนาที่หนึ่งคือ การมาเยี่ยมแพทยและเภสัชกร(บอยมากๆ) เขาถือวา เปนการเอาใจใสตอลูกคา ยิ่งไดพบลูกคาบอยมากเทาไรยิ่งดี (บางครั้งมีของขวัญเล็กๆ นอยๆ มามอบให ก็ คลายๆ กับบานเรา) ดังนั้น บริษัทยาในญี่ปุนจะจางผูแทนยาเปนจํานวนมาก เชน บริษัท Takeda มีเครือขาย มากที่สุดในญี่ปุน งานผลิตยา ที่ Kameda Medical Center มีการเตรียมยาหลายรูปแบบ เชน ยาน้ํา ยาครีม ยาผง ยาสมุนไพร ปริมาณ ขนาด น้ําหนักของยาแตละชนิดจะถูกคํานวณมาเรียบรอยแลวในคอมพิวเตอร และเปนการผลิตยา สําหรับผูปวยตอคนตามใบสั่งแพทย มีเครื่องมือบรรจุยาอัตโนมัติ อุปกรณตางๆ และหองเตรียมยามีความ พรอมมาก จากการสังเกตจุดที่อาจทําใหเกิดความลาชาทําใหผูปวยนอกรอรับยานานคือ การเตรียม/ผลิตยา (โดยเฉพาะยาน้ําสมุนไพร) เนื่องจากเปนการผลิตตอรายตามใบสั่งแพทย มิไดมีการเตรียมสํารองไว ขั้นตอน ในการทําคอนขางพิถีพิถัน มีการตรวจสอบหลายขั้นตอนซึ่งมากกวาการจัดยาเม็ดในชั้นวางมาใสตะกรา กรณียาน้ําสมุนไพร ใชเวลาในการผลิตนานกวา 1-2 ชั่วโมง ทําใหผูปวยไมสามารถรอรับยาไดเลย
  • 4. จึงทําใหเกิดระบบการบริการอีกรูปแบบหนึ่งที่นาสนใจคือ การบริการสงยาไปที่บานโดยบริษัทขนสงเอกชน (เชน Yamato Transport Co.,Ltd. เปนบริษัทขนสงที่มีชื่อเสียงแหงหนึ่ง) ชวยเพิ่มความสะดวกใหกับผูปวย เปนอยางมาก แตตองมีการตกลงยินยอมจากผูปวยเสียกอน เพราะการบริการนี้ตองเสียเงินดวย Investigational Drugs การพัฒนายาใหมเปนเปนขบวนการที่ยุงยากซับซอนและใชเวลานาน ตองมีการศึกษาวิจัยในสัตว ทดลองและการศึกษาในคน จึงมีเฉพาะในโรงพยาบาลขนาดใหญและมีบุคลากรทางการแพทยหลายสาขา ในสวนของ Kameda Medical Center ไดรับการสนับสนุนใหเปนแหลงศึกษาวิจัยยาใหมหรือ protocol จาก บริษัทผูผลิตยา มีเภสัชกรทํางานอยูในทีมวิจัยทางคลินิก เปนผูประสานงานในการรวบรวมวิเคราะหขอมูล และบริหารจัดการยาใหมหรือ protocol การจัดเก็บยาใหมหรือ protocol นั้นจะแยกเก็บพิเศษไปจากยาทั่วไป ในหองยาผูปวยนอก โดยระบุชื่อยาดวยรหัส และจะมีการจายเฉพาะเมื่อมีการสั่งจากแพทยผูทําการวิจัยเทา นั้น จะมีการประชุมหารือเกี่ยวกับคุณสมบัติทางเภสัชจลนศาสตร การดูดซึม การกระจายตัว การเปลี่ยน แปลง และการขับถาย รวมถึงขอมูลเกี่ยวกับฤทธิ์ อาการไมพึงประสงค ประสิทธิภาพ และความปลอดภัยใน การใชยา เพื่อนําขอมูลเหลานี้มาเสนอตอคณะกรรมการที่มีชื่อวา Institutional Review Board (IRB) ประกอบ ไปดวยแพทยเฉพาะทางหลายสาขา เภสัชกร พยาบาล และบุคลากรทางการแพทยอื่นๆ ที่เกี่ยวของ นอกจาก นั้นยังประกอบดวยผูที่อยูนอกวงการสาธารณสุขดวยเชน นิติกร แมบาน ครู ฯ โดยคณะกรรมการนี้จะมีการ พูดคุยกันเปนประจําถึงปญหาหรือผลที่เกิดขึ้นจากการนํายาใหมหรือ protocol ชนิดนั้นๆ มาใชกับผูปวยที่ สมัครใจ ซึ่งผูปวยที่สมัคใจเขารวมการศึกษาพัฒนายาใหมนี้สามารถยุติการเขารวมทดลองเมื่อไรก็ได ดั้ง นั้น จํานวนผูปวยที่สมัครใจรวมทดลองอาจไมมากนัก นอกจากบทบาทหนาที่ที่กลาวมาทั้งหมดขางบน เภสัชกรยังมีบทบาทรวมใน Palliative Care Team ซึ่งประกอบไปดวยแพทย พยาบาล และนักจิตวิยา รวมถึงการนําบาทหลวงหรือพระทางศาสนา มาเขา รวมทีมดูแลผูปวย โดยเฉพาะผูปวยที่อยูในระยะสุดทายของโรคเรื้อรังตางๆ เชน โรคมะเร็ง ผูปวยเหลานี้ จะมีชีวิตอยูไดไมนาน สภาพจิตใจไมสูดีนัก การดูแลผูปวยจึงไมเนนการใหการรักษาทางกายเพียงอยางเดียว แตชวยเติมความเขมแข็งทางจิตใจใหผูปวยดวย งานดานนี้ยังอยูในระยะเริ่มตน แตก็ถือวาเปนความพยายาม ที่จะเพิ่มคุณภาพชีวิตผูปวยใหมากที่สุด โรคบางชนิดที่มีผลมาจากการบริโภคสารอาหารมากเกินหรือขาดสารอาหารหรือไมสมดุล ซึ่งตอง อาศัยความรูทางดานเภสัชกรรมรวมดวยนั้น จึงมีเภสัชกรรวมใน Nutrition Support Team (NST) ชวยให คําปรึกษาดานการปรับขนาดยาในผูปวยที่มีความผิดปกติของตับหรือไต รวมประเมินภาวะโภชนาการและ ความตองการสารอาหาร เสนอการปรับเปลี่ยนสูตรอาหารและยา รวมถึงแนวทางการใหสารอาหารและยา รวมกับนักโภชนาการ แมวาเภสัชกรเปนผูเชี่ยวชาญดานยาก็ตาม แตบทบาทดานนี้ก็เปนอีกสวนหนึ่งที่เรา สามารถกอประโยชนใหกับผูปวยได เพียงตองไดรับความรูเกี่ยวกับการดูแลเรื่องอาหารและยา พรอมทั้งมี การฝกปฏิบัติเพื่อใหเกิดความชํานาญอยางสม่ําเสมอ
  • 5. ทั้งหมดนี้เปนสิ่งที่อยากนําเสนอใหกับพี่นองเภสัชกรเพื่อใหเห็นภาพของระบบเภสัชกรรมโรง พยาบาลในประเทศญี่ปุน จะเห็นวาทุกกระบวนการในระบบเภสัชกรรมตองปฏิบัติโดยเภสัชกรทุกขั้นตอน เภสัชกรมีบทบาทในการดูแลผูปวยและไดรับการยอมรับจากบุคลากรทางการแพทยอื่นๆ มีการใชเครื่องมือที่ ทันสมัยและระบบโปรแกรมคอมพิวเตอรมาชวยเพิ่มความสะดวกในการทํางาน และความพยายามที่จะ พัฒนาวิชาชีพเภสัชกรรมในบทบาทและมุมมองใหมๆ เชน ดานเภสัชกรรมคลินิก ทั้งนี้เพื่อยึดผลประโยชน ตอผูปวยเปนสําคัญ ผมอยากใหอานบทความวิชาการที่เกี่ยวของกับระบบเภสัชกรรมในประเทศญี่ปุนของ ภญ.จันทิมา โยธาพิทักษ เพิ่มเติมดวยครับ โดยหาอานไดที่ http://grad.pha.nu.ac.th/dis/articles/japan.pdf และถาหากทานผูอานมีขอสงสัยหรือตองการขอมูล เพิ่มเติมสามารถติดตอไดที่ firstclass2518@hotmail.com