SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
องค์ประกอบ
ของระบบคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ทำงำนอย่ำงเป็ นระบบ (System) หมำยถึง
ภำยในระบบงำนคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยองค์ประกอบ
ย่อยที่มีหน้ำที่เฉพำะ ทำงำนประสำนสัมพันธ์กัน เพื่อให้งำน
บรรลุตำมเป้ ำหมำย ในระบบงำนคอมพิวเตอร์ กำรที่มี
เครื่องคอมพิวเตอร์เพียงอย่ำงเดียว จะยังไม่สำมำรถทำงำน
ได้ด้วยตัวเอง ซึ่งหำกจะให้คอมพิวเตอร์ทำงำนได้อย่ำงเป็ น
ระบบและมีประสิทธิภำพแล้ว ระบบคอมพิวเตอร์ควรจะ
ประกอบไปด้วยองค์ประกอบคือ บุคลำกร (People ware)
ฮำร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) ข้อมูล(Data)
สำรสนเทศ(Information) และกระบวนกำรทำงำน (
Procedure )
1. ฮำร์ดแวร์ ( Hardware ) ฮำร์ดแวร์เป็ น
องค์ประกอบของตัวเครื่องที่สำมำรถจับต้อง
ได้ ได้แก่ วงจรไฟฟ้ ำ ตัวเครื่อง จอภำพ
เครื่องพิมพ์ คีย์บอร์ด เป็ นต้นซึ่งสำมำรถแบ่ง
ส่วนพื้นฐำนของฮำร์ดแวร์เป็ น 4 หน่วยสำคั
1.1 หน่วยรับข้อมูลหรืออินพุต (
Input Unit) ทำหน้ำที่รับข้อมูลและ
โปรแกรมเข้ำ เครื่อง มีโครงสร้ำง
ดังรูป 1.3 ได้แก่ คีย์บอร์ดหรือ
แป้ นพิมพ์ เมำส์ เครื่องสแกน
เครื่องรูดบัตร Digitizer เป็ นต้น
1.2 ระบบประมวลผลกลำงหรือซีพียู(CPU : Central
Processing Unit) ทำหน้ำที่ในกำรทำงำนตำมคำสั่งที่
ปรำกฏอยู่ในโปรแกรม ปัจจุบันซีพียูของเครื่องพีซี รู้จัก
ในนำมไมโครโปรเซสเซอร์ ( Micro Processor) หรือ Chip
ไมโครโปรเซสเซอร์ มีหน้ำที่ในกำรประมวลผลข้อมูล ใน
ลักษณะของกำรคำนวณและเปรียบเทียบ โดยจะทำงำน
ตำมจังหวะเวลำที่แน่นอน เรียกว่ำสั ำณ Clock เมื่อ
มีกำรเคำะจังหวะหนึ่งครั้ง ก็จะเกิดกิจกรรม 1 ครั้ง เรำ
เรียกหน่วย ที่ใช้ในกำรวัดควำมเร็วของซีพียูว่ำ
“เฮิร์ท”(Herzt)
1.3 หน่วยเก็บข้อมูล ( Storage ) ซึ่งสำมำรถแยกตำมหน้ำที่ได้เป็ น 2
ลักษณะ คือ
1.3.1 หน่วยเก็บข้อมูลหลักหรือควำมจำหลัก (Memory ) ทำหน้ำที่
เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลที่รับมำจำกหน่วย Primary Storage หรือ Main
รับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งให้หน่วยประมวลผลกลำงทำกำรประมวลผล และ
รับผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรประมวลผลเพื่อส่งออกหน่วยแสดงข้อมูลต่อไป
ซึ่งอำจแยกได้เป็ น 2 ประเภท คือ RAM ( Random Access Memory ) ที่
สำมำรถอ่ำนและเขียนข้อมูลได้ในขณะที่เปิ ดเครื่องอยู่ แต่เมื่อปิ ดเครื่อง
ข้อมูลใน RAM จะหำยไป และ ROM ( Read Only Memory ) จะอ่ำนได้
อย่ำงเดียว เช่น BIOS (Basic Input Output system) โปรแกรมฝังไว้ใช้
ตอนสตำร์ตเครื่อง เพื่อเครื่องคอมพิวเตอร์เริ่มต้นทำงำน เป็ นต้น
1.3.2 หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (
Secondary Storage ) เป็ นหน่วยที่ทำหน้ำที่
เก็บข้อมูล หรือโปรแกรมที่จะป้ อนเข้ำสู่
หน่วยควำมจำหลักภำยในเครื่องก่อนทำ
กำรประมวลผลโดยซีพียูรวมทั้งเป็ นที่
เก็บผลลัพธ์จำกกำรประมวลผลด้วย
ปัจจุบันรู้จักในนำมฮำร์ดดิสก์ (Hard disk)
หรือแผ่น ฟร็อปปี ดิสก์ (Floppy Disk) ซึ่ง
เมื่อปิ ดเครื่องข้อมูลจะยังคงเก็บอยู่
1.4 หน่วยแสดงข้อมูลหรือเอำต์พุต ( Output Unit ) ทำ
หน้ำที่ในกำรแสดงผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรประมวลผล ได้แก่
จอภำพ และเครื่องพิมพ์ เป็ นต้น ทั้ง 4 ส่วนจะเชื่อมต่อกัน
ด้วยบัส ( Bus )
2 ซอฟต์แวร์ ( Software )
ซอฟต์แวร์ คือโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง ที่สั่ง
ให้ฮำร์ดแวร์ทำงำน รวมไปถึงกำรควบคุม
กำรทำงำน ของอุปกรณ์แวดล้อมต่ำงๆ เช่น
ฮำร์ดดิสก์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม กำร์ด
อินเตอร์เฟสต่ำง ๆ เป็ นต้น ซอฟต์แวร์ เป็ น
สิ่งที่มองไม่เห็นจับต้องไม่ได้ แต่รับรู้กำร
ทำงำนของมันได้ ซึ่งต่ำงกับ ฮำร์ดแวร์
(Hardware) ที่สำมำรถจับต้องได้ ซึ่งแบ่งเป็ น
2 ประเภท
2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ ( System Software ) คือโปรแกรม ที่ใช้ในกำรควบคุมระบบกำร ทำงำนของ
เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมด เช่น กำรบูตเครื่อง กำรสำเนำข้อมูล กำรจัดกำรระบบของดิสก์
ชุดคำสั่งที่เขียนเป็ นคำสั่งสำเร็จรูป โดยผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ และมีมำพร้อมแล้วจำก
โรงงำนผลิต กำรทำงำนหรือกำรประมวลผล ของซอฟต์แวร์เหล่ำนี้ ขึ้นกับเครื่องคอมพิวเตอร์
แต่ละเครื่อง ระบบของซอฟต์แวร์เหล่ำนี้ ออกแบบมำเพื่อกำรปฏิบัติควบคุม และมีควำมสำมำรถ
ในกำรยืดหยุ่น กำรประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็ น 4 ประเภทคือ
2.1.1 โปรแกรมระบบปฏิบัติกำร (Operating
System) เป็ นโปรแกรมที่ใช้ควบคุม และติดต่อกับ
อุปกรณ์ต่ำง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์
โดยเฉพำะกำรจัดกำรระบบของดิสก์ กำรบริหำร
หน่วยควำมจำของระบบ กล่ำวโดยสรุปคือ หำกจะ
ทำงำนใดงำนหนึ่ง โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็ น
เครื่องมือ ในกำรทำงำน แล้วจะต้องติดต่อกับ
ซอฟต์แวร์ระบบก่อน ถ้ำขำดซอฟต์แวร์ชนิดนี้ จะ
ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ไม่สำมำรถทำงำนได้
ตัวอย่ำงของซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ โปรแกรม
ระบบปฏิบัติกำร Unix Linux DOS และWindows
(เวอร์ชั่นต่ำง ๆ เช่น 95 98 me 2000 NT XP
Vista ) เป็ นต้น
2.1.2 ตัวแปลภำษำ (Translator) จำก Source Code ให้เป็ น Object Code
(แปลจำกภำษำที่มนุษย์เข้ำใจ ให้เป็ นภำษำที่เครื่องเข้ำใจ เปรียบเสมือน
ล่ำมแปลภำษำ) เป็ นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในกำรแปลภำษำระดับสูง ซึ่ง เป็ น
ภำษำใกล้เคียงภำษำมนุษย์ ให้เป็ นภำษำเครื่องก่อนที่จะนำไปประมวลผล
ตัวแปลภำษำแบ่งออกเป็ นสองประเภทคือ คอมไพเลอร์ (Compiler) และ
อินเตอร์พีทเตอร์ (Interpreter) คอมไพเลอร์จะแปลคำสั่งในโปรแกรม
ทั้งหมดก่อน แล้วทำกำรลิ้ง (Link) เพื่อให้ได้คำสั่งที่เครื่องคอมพิวเตอร์
เข้ำใจ ส่วนอินเตอร์พีทเตอร์จะแปลทีละประโยคคำสั่ง แล้วทำงำนตำม
ประโยคคำสั่งนั้น กำรจะเลือกใช้ตัวแปลภำษำแบบใดนั้น จะขึ้นอยู่กับ
ภำษำที่ใช้ในกำรเขียนโปรแกรม ซึ่งมี 2 แบบได้แก่ ภำษำแบบโครงสร้ำง
เช่น ภำษำเบสิก (Basic) ภำษำปำสคำล (Pascal) ภำษำซี (C) ภำษำจำวำ
(Java)ภำษำโคบอล (Cobol) ภำษำ SQL ภำษำ HTML เป็ นต้น ภำษำแบบ
เชิงวัตถุ( Visual หรือ Object Oriented Programming ) เช่น Visual
Basic,Visual C หรือ Delphi เป็ นต้น
2.1.3 ยูติลิตี้ โปรแกรม (Utility Program) คือซอฟต์แวร์เสริม
ช่วยให้เครื่องทำงำนมีประสิทธิภำพ มำกขึ้น เช่น ช่วยในกำร
ตรวจสอบดิสก์ ช่วยในกำรจัดเก็บข้อมูลในดิสก์ ช่วยสำเนำ
ข้อมูล ช่วยซ่อมอำกำรชำรุดของดิสก์ ช่วยค้นหำและกำจัด
ไวรัส ฯลฯ เป็ นต้นโปรแกรมในกลุ่มนี้ได้แก่ โปรแกรม Norton
WinZip Scan virus Sidekick Scandisk Screen Saver ฯลฯ เป็ นต้น
2.1.4 ติดตั้งและปรับปรุง
ระบบ (Diagonostic Program)
เป็ นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในกำรติดตั้ง
ระบบ เพื่อให้คอมพิวเตอร์
สำมำรถติดต่อและใช้งำน
อุปกรณ์ต่ำง ๆ ที่นำมำติดตั้ง
ระบบ ได้แก่ โปรแกรม Setup
และ Driver ต่ำง ๆ เช่น
โปรแกรม Setup Microsoft
Office โปรแกรม Driver Sound ,
Driver Printer , Driver Scanner
ฯลฯ เป็ นต้น
2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงำนต่ำงๆ ตำมที่ผู้ใช้ต้องกำร ไม่
ว่ำจะด้ำนเอกสำร บั ชี กำรจัดเก็บข้อมูล เป็ นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สำมำรถจำแนก
ได้เป็ น 2 ประเภท คือ
2.2.1 ซอฟต์แวร์สำหรับงำนเฉพำะด้ำน (Special
Purpose Software) คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อ
กำรทำงำนเฉพำะอย่ำงที่เรำต้องกำร บำงที่
เรียกว่ำ User’s Program เช่น โปรแกรมกำรทำ
บั ชีจ่ำยเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่ำซื้อ
โปรแกรมกำรทำสินค้ำคงคลัง เป็ นต้น ซึ่งแต่ละ
โปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอร์ม
แตกต่ำงกันออกไปตำมควำมต้องกำร หรือ
กฎเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงำนที่ใช้ ซึ่งสำมำรถ
ดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบำงส่วน
ของโปรแกรมได้ เพื่อให้ตรงกับควำมต้องกำรของ
ผู้ใช้ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วน
ให ่มักใช้ภำษำระดับสูงเป็ นตัวพัฒนำ
2.2.2 ซอฟต์แวร์สำหรับงำนทั่วไป (General Purpose Software) เป็ นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้
เพื่อใช้ในกำรทำงำนประเภทต่ำงๆ ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สำมำรถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับ
ข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สำมำรถทำกำรดัดแปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้ ผู้ใช้ไม่จำเป็ นต้องเขียน
โปรแกรมเอง ซึ่งเป็ นกำรประหยัดเวลำ แรงงำน และค่ำใช้จ่ำยในกำรเขียนโปรแกรม นอกจำกนี้ ยัง
ไม่ต้องเวลำมำกในกำรฝึ กและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสำเร็จรูปนี้ มักจะมีกำรใช้งำนในหน่วยงำน ซึ่ง
ขำดบุคลำกรที่มีควำมชำนำ เป็ นพิเศษในกำรเขียนโปรแกรม ดังนั้น กำรใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจึง
เป็ นสิ่งที่อำนวยควำมสะดวกและเป็ นประโยชน์อย่ำงยิ่ง ตัวอย่ำงโปรแกรมสำเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่
MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่ำงๆ เป็ นต้น
3 บุคลำกร ( People ware )
บุคลำกรจะเป็ นสิ่งสำคั ที่จะเป็ นตัวกำหนดถึงประสิทธิภำพถึง
ควำมสำเร็จและควำมคุ้มค่ำในกำรใช้งำนคอมพิวเตอร์ ซึ่งสำมำรถแบ่งบุคลำกร
ตำมหน้ำที่เกี่ยวข้องตำมลักษณะงำนได้ 6 ด้ำน ดังนี้
3.1 นักวิเครำะห์และออกแบบระบบ (Systems Analyst and Designer : SA ) ทำ
หน้ำที่ศึกษำและรวบรวมควำมต้องกำรของผู้ใช้ระบบ และทำหน้ำที่เป็ นสื่อกลำง
ระหว่ำงผู้ใช้ระบบและนักเขียนโปรแกรม (Programmer) หรือปรับปรุงคุณภำพงำน
เดิม นักวิเครำะห์ระบบต้องมีควำมรู้เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ พื้นฐำนกำรเขียน
โปรแกรม และควรจะเป็ นผู้มีควำมคิดริเริ่มสร้ำงสรรค์มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี
3.2 โปรแกรมเมอร์ ( Programmer )
คือบุคคลที่ทำหน้ำที่เขียนซอฟต์แวร์
ต่ำงๆ(Software )หรือเขียนโปรแกรม
เพื่อสั่งงำนให้เครื่องคอมพิวเตอร์
ทำงำนตำมควำมต้องกำรของผู้ใช้
โดยเขียนตำมแผนผังที่นักวิเครำะห์
ระบบได้เขียนไว้
3.3 ผู้ใช้ ( User ) เป็ นผู้ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะเป็ นผู้ปฏิบัติหรือ
กำหนดควำมต้องกำรในกำรใช้ระบบคอมพิวเตอร์ว่ำทำงำนอะไรได้
บ้ำง ผู้ใช้งำนคอมพิวเตอร์ทั่วไป จะต้องเรียนรู้วิธีกำรใช้เครื่อง และ
วิธีกำรใช้งำนโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สำมำรถทำงำนได้
ตำมที่ต้องกำร
3.4 ผู้ปฏิบัติกำร (Operator ) สำหรับระบบขนำดให ่ เช่น เมนเฟรม
จะต้องมีเจ้ำหน้ำที่คอมพิวเตอร์ที่คอยปิ ดและเปิ ดเครื่อง และเฝ้ ำดู
จอภำพเมื่อมีปั หำซึ่งอำจเกิดขัดข้อง จะต้องแจ้ง System
Programmer ซึ่งเป็ นผู้ดูแลตรวจสอบแก้ไขโปรแกรมระบบควบคุม
เครื่อง (System Software) อีกทีหนึ่ง
3.5 ผู้บริหำรฐำนข้อมูล ( Database
Administrator : DBA ) กลุ่มบุคคลที่ทำ
หน้ำที่ดูแลข้อมูลผ่ำนระบบจัดกำร
ฐำนข้อมูล ซึ่งจะควบคุมให้กำรทำงำน
เป็ นไปอย่ำงรำบรื่น นอกจำกนี้ยังทำ
หน้ำที่กำหนดสิทธิกำรใช้งำนข้อมูล
กำหนดในเรื่องควำมปลอดภัยของกำร
ใช้งำน พร้อมทั้งดูแลดำต้ำเบส
เซิร์ฟเวอร์ (Database Server) ให้ทำงำน
อย่ำงปกติด้วย
3.6 ผู้จัดกำรระบบ (System
Manager) คือ ผู้วำงนโยบำยกำรใช้
คอมพิวเตอร์ให้เป็ นไปตำมเป้ ำหมำย
ของหน่วยงำน เป็ นผู้ที่มีควำมหมำย
ต่อควำมสำเร็จหรือล้มเหลวของกำร
นำระบบคอมพิวเตอร์เข้ำมำใช้งำน
เป็ นอย่ำงมำก
4. ข้อมูลและสำรสนเทศ
4.1 ข้อมูล (Data) หมำยถึง ข้อเท็จจริงหรือเหตุกำรณ์ที่
เกิดขึ้น แล้วใช้ตัวเลขตัวอักษร หรือสั ลักษณ์ ต่ำงๆ ทำ
ควำมหมำยแทนสิ่งเหล่ำนั้น เช่น
- คะแนนสอบวิชำภำษำไทยของนักเรียน
- อำยุของพนักงำนในบริษัทชินวัตรจำกัด
- รำคำขำยของหนังสือในร้ำนหนังสือดอกห ้ำ
- คำตอบที่ผู้ถูกสำรวจตอบในแบบสอบถำม
4.2 สำรสนเทศ (Information) หมำยถึง ข้อสรุป
ต่ำงๆ ที่ได้จำกกำรนำข้อมูลมำทำกำรวิเครำะห์
หรือผ่ำนวิธีกำรที่ ได้กำหนดขึ้น ทั้งนี้เพื่อนำ
ข้อสรุปไปใช้งำนหรืออ้ำงอิง เช่น
· เกรดเฉลี่ยของวิชำภำษำไทยของนักเรียน
· อำยุเฉลี่ยของพนักงำนในบริษัทชินวัตร
จำกัด
· รำคำขำยสูงสุดของหนังสือในร้ำนหนังสือ
ดอกห ้ำ
· ข้อสรุปจำกกำรสำรวจคำตอบใน
แบบสอบถำม
5. กระบวนกำรทำงำน ( Procedure )
องค์ประกอบด้ำนนี้หมำยถึงกระบวนกำรทำงำนเพื่อให้ได้ผลลัพธ์
ตำมต้องกำร ในกำรทำงำนกับคอมพิวเตอร์ผู้ใช้จำเป็ นต้องทรำบ
ขั้นตอนกำรทำงำนเพื่อให้ได้งำนที่ถูกต้องและมีประสิทธิภำพ ซึ่ง
อำจจะมีขั้นตอนสลับซับซ้อนหลำยขั้นตอน ดังนั้นจึงมีควำม
จำเป็ นต้องมีคู่มือปฏิบัติงำน เช่น คู่มือผู้ใช้ ( user manual ) หรือ
คู่มือผู้ดูแลระบบ ( operation manual ) เป็ นต้น
อ้ำงอิง
http://tps.comsci.info/programming/lesson1.html
https://www.youtube.com/watch?v=4Lv4IHmzvno
https://www.youtube.com/watch?v=lcC3J_iZDvY
ผู้จัดทำ
นำงสำวเกวลิน ปงชำคำ ม.5/1 เลขที่ 24
นำงสำวนภสร วงศ์ปรีชำสวัสดิ์ ม.5/1 เลขที่ 32

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...Suphot Chaichana
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาWilawun Wisanuvekin
 
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาOhm Tarit
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพวSircom Smarnbua
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจNATTAWANKONGBURAN
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2wifi5822
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงานPhanuwat Somvongs
 
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย2-ม2
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย2-ม2แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย2-ม2
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย2-ม2Ko Kung
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...suree189
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์supatra2011
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย2-ม2
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย2-ม2แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย2-ม2
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย2-ม2
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 

Similar to องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Yu Maneeploypeth
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์SittichaiSppd
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)SittichaiSppd
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2ment1823
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)mayochikijo
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ ComputerSPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์SPipe Pantaweesak
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net Saharat Yimpakdee
 
Software
SoftwareSoftware
Softwaresa
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศFfurn Leawtakoon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ Peem Jirayut
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
งานใหม่3
งานใหม่3งานใหม่3
งานใหม่3kukkik1234
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1mod2may
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Thanawut Rattanadon
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์sapol tamgsongcharoen
 
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์บทที่ 2 คอมพิวเตอร์
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์Nattapon
 

Similar to องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (20)

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
 
work3-57
work3-57work3-57
work3-57
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
งานใหม่3
งานใหม่3งานใหม่3
งานใหม่3
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1
 
Lab
LabLab
Lab
 
Lab
LabLab
Lab
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์บทที่ 2 คอมพิวเตอร์
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์
 

More from Tonkaw Napassorn

ใบงาน เรื่อง วิเคราะห์ข่าวที่กระทำความผิด พรบ.คอมพิวเตอร์ ปี 2560
ใบงาน เรื่อง วิเคราะห์ข่าวที่กระทำความผิด พรบ.คอมพิวเตอร์ ปี 2560ใบงาน เรื่อง วิเคราะห์ข่าวที่กระทำความผิด พรบ.คอมพิวเตอร์ ปี 2560
ใบงาน เรื่อง วิเคราะห์ข่าวที่กระทำความผิด พรบ.คอมพิวเตอร์ ปี 2560Tonkaw Napassorn
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลTonkaw Napassorn
 
อุปกรณ์เก็บข้อมูล
อุปกรณ์เก็บข้อมูลอุปกรณ์เก็บข้อมูล
อุปกรณ์เก็บข้อมูลTonkaw Napassorn
 
อุปกรณ์เก็บข้อมูล
อุปกรณ์เก็บข้อมูลอุปกรณ์เก็บข้อมูล
อุปกรณ์เก็บข้อมูลTonkaw Napassorn
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Tonkaw Napassorn
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อนสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อนสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อนสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อนสนับสนุนการตัดสินใจTonkaw Napassorn
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อนสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อนสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อนสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อนสนับสนุนการตัดสินใจTonkaw Napassorn
 

More from Tonkaw Napassorn (10)

ใบงาน เรื่อง วิเคราะห์ข่าวที่กระทำความผิด พรบ.คอมพิวเตอร์ ปี 2560
ใบงาน เรื่อง วิเคราะห์ข่าวที่กระทำความผิด พรบ.คอมพิวเตอร์ ปี 2560ใบงาน เรื่อง วิเคราะห์ข่าวที่กระทำความผิด พรบ.คอมพิวเตอร์ ปี 2560
ใบงาน เรื่อง วิเคราะห์ข่าวที่กระทำความผิด พรบ.คอมพิวเตอร์ ปี 2560
 
Instax share
Instax shareInstax share
Instax share
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
 
อุปกรณ์เก็บข้อมูล
อุปกรณ์เก็บข้อมูลอุปกรณ์เก็บข้อมูล
อุปกรณ์เก็บข้อมูล
 
อุปกรณ์เก็บข้อมูล
อุปกรณ์เก็บข้อมูลอุปกรณ์เก็บข้อมูล
อุปกรณ์เก็บข้อมูล
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อนสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อนสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อนสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อนสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อนสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อนสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อนสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อนสนับสนุนการตัดสินใจ
 
Course Outline
Course OutlineCourse Outline
Course Outline
 
E commerce
E commerceE commerce
E commerce
 

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

  • 2. คอมพิวเตอร์ทำงำนอย่ำงเป็ นระบบ (System) หมำยถึง ภำยในระบบงำนคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยองค์ประกอบ ย่อยที่มีหน้ำที่เฉพำะ ทำงำนประสำนสัมพันธ์กัน เพื่อให้งำน บรรลุตำมเป้ ำหมำย ในระบบงำนคอมพิวเตอร์ กำรที่มี เครื่องคอมพิวเตอร์เพียงอย่ำงเดียว จะยังไม่สำมำรถทำงำน ได้ด้วยตัวเอง ซึ่งหำกจะให้คอมพิวเตอร์ทำงำนได้อย่ำงเป็ น ระบบและมีประสิทธิภำพแล้ว ระบบคอมพิวเตอร์ควรจะ ประกอบไปด้วยองค์ประกอบคือ บุคลำกร (People ware) ฮำร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) ข้อมูล(Data) สำรสนเทศ(Information) และกระบวนกำรทำงำน ( Procedure )
  • 3. 1. ฮำร์ดแวร์ ( Hardware ) ฮำร์ดแวร์เป็ น องค์ประกอบของตัวเครื่องที่สำมำรถจับต้อง ได้ ได้แก่ วงจรไฟฟ้ ำ ตัวเครื่อง จอภำพ เครื่องพิมพ์ คีย์บอร์ด เป็ นต้นซึ่งสำมำรถแบ่ง ส่วนพื้นฐำนของฮำร์ดแวร์เป็ น 4 หน่วยสำคั
  • 4. 1.1 หน่วยรับข้อมูลหรืออินพุต ( Input Unit) ทำหน้ำที่รับข้อมูลและ โปรแกรมเข้ำ เครื่อง มีโครงสร้ำง ดังรูป 1.3 ได้แก่ คีย์บอร์ดหรือ แป้ นพิมพ์ เมำส์ เครื่องสแกน เครื่องรูดบัตร Digitizer เป็ นต้น
  • 5. 1.2 ระบบประมวลผลกลำงหรือซีพียู(CPU : Central Processing Unit) ทำหน้ำที่ในกำรทำงำนตำมคำสั่งที่ ปรำกฏอยู่ในโปรแกรม ปัจจุบันซีพียูของเครื่องพีซี รู้จัก ในนำมไมโครโปรเซสเซอร์ ( Micro Processor) หรือ Chip ไมโครโปรเซสเซอร์ มีหน้ำที่ในกำรประมวลผลข้อมูล ใน ลักษณะของกำรคำนวณและเปรียบเทียบ โดยจะทำงำน ตำมจังหวะเวลำที่แน่นอน เรียกว่ำสั ำณ Clock เมื่อ มีกำรเคำะจังหวะหนึ่งครั้ง ก็จะเกิดกิจกรรม 1 ครั้ง เรำ เรียกหน่วย ที่ใช้ในกำรวัดควำมเร็วของซีพียูว่ำ “เฮิร์ท”(Herzt)
  • 6. 1.3 หน่วยเก็บข้อมูล ( Storage ) ซึ่งสำมำรถแยกตำมหน้ำที่ได้เป็ น 2 ลักษณะ คือ 1.3.1 หน่วยเก็บข้อมูลหลักหรือควำมจำหลัก (Memory ) ทำหน้ำที่ เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลที่รับมำจำกหน่วย Primary Storage หรือ Main รับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งให้หน่วยประมวลผลกลำงทำกำรประมวลผล และ รับผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรประมวลผลเพื่อส่งออกหน่วยแสดงข้อมูลต่อไป ซึ่งอำจแยกได้เป็ น 2 ประเภท คือ RAM ( Random Access Memory ) ที่ สำมำรถอ่ำนและเขียนข้อมูลได้ในขณะที่เปิ ดเครื่องอยู่ แต่เมื่อปิ ดเครื่อง ข้อมูลใน RAM จะหำยไป และ ROM ( Read Only Memory ) จะอ่ำนได้ อย่ำงเดียว เช่น BIOS (Basic Input Output system) โปรแกรมฝังไว้ใช้ ตอนสตำร์ตเครื่อง เพื่อเครื่องคอมพิวเตอร์เริ่มต้นทำงำน เป็ นต้น
  • 7. 1.3.2 หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง ( Secondary Storage ) เป็ นหน่วยที่ทำหน้ำที่ เก็บข้อมูล หรือโปรแกรมที่จะป้ อนเข้ำสู่ หน่วยควำมจำหลักภำยในเครื่องก่อนทำ กำรประมวลผลโดยซีพียูรวมทั้งเป็ นที่ เก็บผลลัพธ์จำกกำรประมวลผลด้วย ปัจจุบันรู้จักในนำมฮำร์ดดิสก์ (Hard disk) หรือแผ่น ฟร็อปปี ดิสก์ (Floppy Disk) ซึ่ง เมื่อปิ ดเครื่องข้อมูลจะยังคงเก็บอยู่
  • 8. 1.4 หน่วยแสดงข้อมูลหรือเอำต์พุต ( Output Unit ) ทำ หน้ำที่ในกำรแสดงผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรประมวลผล ได้แก่ จอภำพ และเครื่องพิมพ์ เป็ นต้น ทั้ง 4 ส่วนจะเชื่อมต่อกัน ด้วยบัส ( Bus )
  • 9. 2 ซอฟต์แวร์ ( Software ) ซอฟต์แวร์ คือโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง ที่สั่ง ให้ฮำร์ดแวร์ทำงำน รวมไปถึงกำรควบคุม กำรทำงำน ของอุปกรณ์แวดล้อมต่ำงๆ เช่น ฮำร์ดดิสก์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม กำร์ด อินเตอร์เฟสต่ำง ๆ เป็ นต้น ซอฟต์แวร์ เป็ น สิ่งที่มองไม่เห็นจับต้องไม่ได้ แต่รับรู้กำร ทำงำนของมันได้ ซึ่งต่ำงกับ ฮำร์ดแวร์ (Hardware) ที่สำมำรถจับต้องได้ ซึ่งแบ่งเป็ น 2 ประเภท
  • 10. 2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ ( System Software ) คือโปรแกรม ที่ใช้ในกำรควบคุมระบบกำร ทำงำนของ เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมด เช่น กำรบูตเครื่อง กำรสำเนำข้อมูล กำรจัดกำรระบบของดิสก์ ชุดคำสั่งที่เขียนเป็ นคำสั่งสำเร็จรูป โดยผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ และมีมำพร้อมแล้วจำก โรงงำนผลิต กำรทำงำนหรือกำรประมวลผล ของซอฟต์แวร์เหล่ำนี้ ขึ้นกับเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่อง ระบบของซอฟต์แวร์เหล่ำนี้ ออกแบบมำเพื่อกำรปฏิบัติควบคุม และมีควำมสำมำรถ ในกำรยืดหยุ่น กำรประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็ น 4 ประเภทคือ
  • 11. 2.1.1 โปรแกรมระบบปฏิบัติกำร (Operating System) เป็ นโปรแกรมที่ใช้ควบคุม และติดต่อกับ อุปกรณ์ต่ำง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยเฉพำะกำรจัดกำรระบบของดิสก์ กำรบริหำร หน่วยควำมจำของระบบ กล่ำวโดยสรุปคือ หำกจะ ทำงำนใดงำนหนึ่ง โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็ น เครื่องมือ ในกำรทำงำน แล้วจะต้องติดต่อกับ ซอฟต์แวร์ระบบก่อน ถ้ำขำดซอฟต์แวร์ชนิดนี้ จะ ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ไม่สำมำรถทำงำนได้ ตัวอย่ำงของซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ โปรแกรม ระบบปฏิบัติกำร Unix Linux DOS และWindows (เวอร์ชั่นต่ำง ๆ เช่น 95 98 me 2000 NT XP Vista ) เป็ นต้น
  • 12. 2.1.2 ตัวแปลภำษำ (Translator) จำก Source Code ให้เป็ น Object Code (แปลจำกภำษำที่มนุษย์เข้ำใจ ให้เป็ นภำษำที่เครื่องเข้ำใจ เปรียบเสมือน ล่ำมแปลภำษำ) เป็ นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในกำรแปลภำษำระดับสูง ซึ่ง เป็ น ภำษำใกล้เคียงภำษำมนุษย์ ให้เป็ นภำษำเครื่องก่อนที่จะนำไปประมวลผล ตัวแปลภำษำแบ่งออกเป็ นสองประเภทคือ คอมไพเลอร์ (Compiler) และ อินเตอร์พีทเตอร์ (Interpreter) คอมไพเลอร์จะแปลคำสั่งในโปรแกรม ทั้งหมดก่อน แล้วทำกำรลิ้ง (Link) เพื่อให้ได้คำสั่งที่เครื่องคอมพิวเตอร์ เข้ำใจ ส่วนอินเตอร์พีทเตอร์จะแปลทีละประโยคคำสั่ง แล้วทำงำนตำม ประโยคคำสั่งนั้น กำรจะเลือกใช้ตัวแปลภำษำแบบใดนั้น จะขึ้นอยู่กับ ภำษำที่ใช้ในกำรเขียนโปรแกรม ซึ่งมี 2 แบบได้แก่ ภำษำแบบโครงสร้ำง เช่น ภำษำเบสิก (Basic) ภำษำปำสคำล (Pascal) ภำษำซี (C) ภำษำจำวำ (Java)ภำษำโคบอล (Cobol) ภำษำ SQL ภำษำ HTML เป็ นต้น ภำษำแบบ เชิงวัตถุ( Visual หรือ Object Oriented Programming ) เช่น Visual Basic,Visual C หรือ Delphi เป็ นต้น
  • 13. 2.1.3 ยูติลิตี้ โปรแกรม (Utility Program) คือซอฟต์แวร์เสริม ช่วยให้เครื่องทำงำนมีประสิทธิภำพ มำกขึ้น เช่น ช่วยในกำร ตรวจสอบดิสก์ ช่วยในกำรจัดเก็บข้อมูลในดิสก์ ช่วยสำเนำ ข้อมูล ช่วยซ่อมอำกำรชำรุดของดิสก์ ช่วยค้นหำและกำจัด ไวรัส ฯลฯ เป็ นต้นโปรแกรมในกลุ่มนี้ได้แก่ โปรแกรม Norton WinZip Scan virus Sidekick Scandisk Screen Saver ฯลฯ เป็ นต้น
  • 14. 2.1.4 ติดตั้งและปรับปรุง ระบบ (Diagonostic Program) เป็ นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในกำรติดตั้ง ระบบ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ สำมำรถติดต่อและใช้งำน อุปกรณ์ต่ำง ๆ ที่นำมำติดตั้ง ระบบ ได้แก่ โปรแกรม Setup และ Driver ต่ำง ๆ เช่น โปรแกรม Setup Microsoft Office โปรแกรม Driver Sound , Driver Printer , Driver Scanner ฯลฯ เป็ นต้น
  • 15. 2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงำนต่ำงๆ ตำมที่ผู้ใช้ต้องกำร ไม่ ว่ำจะด้ำนเอกสำร บั ชี กำรจัดเก็บข้อมูล เป็ นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สำมำรถจำแนก ได้เป็ น 2 ประเภท คือ
  • 16. 2.2.1 ซอฟต์แวร์สำหรับงำนเฉพำะด้ำน (Special Purpose Software) คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อ กำรทำงำนเฉพำะอย่ำงที่เรำต้องกำร บำงที่ เรียกว่ำ User’s Program เช่น โปรแกรมกำรทำ บั ชีจ่ำยเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่ำซื้อ โปรแกรมกำรทำสินค้ำคงคลัง เป็ นต้น ซึ่งแต่ละ โปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอร์ม แตกต่ำงกันออกไปตำมควำมต้องกำร หรือ กฎเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงำนที่ใช้ ซึ่งสำมำรถ ดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบำงส่วน ของโปรแกรมได้ เพื่อให้ตรงกับควำมต้องกำรของ ผู้ใช้ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วน ให ่มักใช้ภำษำระดับสูงเป็ นตัวพัฒนำ
  • 17. 2.2.2 ซอฟต์แวร์สำหรับงำนทั่วไป (General Purpose Software) เป็ นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้ เพื่อใช้ในกำรทำงำนประเภทต่ำงๆ ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สำมำรถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับ ข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สำมำรถทำกำรดัดแปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้ ผู้ใช้ไม่จำเป็ นต้องเขียน โปรแกรมเอง ซึ่งเป็ นกำรประหยัดเวลำ แรงงำน และค่ำใช้จ่ำยในกำรเขียนโปรแกรม นอกจำกนี้ ยัง ไม่ต้องเวลำมำกในกำรฝึ กและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสำเร็จรูปนี้ มักจะมีกำรใช้งำนในหน่วยงำน ซึ่ง ขำดบุคลำกรที่มีควำมชำนำ เป็ นพิเศษในกำรเขียนโปรแกรม ดังนั้น กำรใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจึง เป็ นสิ่งที่อำนวยควำมสะดวกและเป็ นประโยชน์อย่ำงยิ่ง ตัวอย่ำงโปรแกรมสำเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่ MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่ำงๆ เป็ นต้น
  • 18. 3 บุคลำกร ( People ware ) บุคลำกรจะเป็ นสิ่งสำคั ที่จะเป็ นตัวกำหนดถึงประสิทธิภำพถึง ควำมสำเร็จและควำมคุ้มค่ำในกำรใช้งำนคอมพิวเตอร์ ซึ่งสำมำรถแบ่งบุคลำกร ตำมหน้ำที่เกี่ยวข้องตำมลักษณะงำนได้ 6 ด้ำน ดังนี้
  • 19. 3.1 นักวิเครำะห์และออกแบบระบบ (Systems Analyst and Designer : SA ) ทำ หน้ำที่ศึกษำและรวบรวมควำมต้องกำรของผู้ใช้ระบบ และทำหน้ำที่เป็ นสื่อกลำง ระหว่ำงผู้ใช้ระบบและนักเขียนโปรแกรม (Programmer) หรือปรับปรุงคุณภำพงำน เดิม นักวิเครำะห์ระบบต้องมีควำมรู้เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ พื้นฐำนกำรเขียน โปรแกรม และควรจะเป็ นผู้มีควำมคิดริเริ่มสร้ำงสรรค์มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี
  • 20. 3.2 โปรแกรมเมอร์ ( Programmer ) คือบุคคลที่ทำหน้ำที่เขียนซอฟต์แวร์ ต่ำงๆ(Software )หรือเขียนโปรแกรม เพื่อสั่งงำนให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ทำงำนตำมควำมต้องกำรของผู้ใช้ โดยเขียนตำมแผนผังที่นักวิเครำะห์ ระบบได้เขียนไว้
  • 21. 3.3 ผู้ใช้ ( User ) เป็ นผู้ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะเป็ นผู้ปฏิบัติหรือ กำหนดควำมต้องกำรในกำรใช้ระบบคอมพิวเตอร์ว่ำทำงำนอะไรได้ บ้ำง ผู้ใช้งำนคอมพิวเตอร์ทั่วไป จะต้องเรียนรู้วิธีกำรใช้เครื่อง และ วิธีกำรใช้งำนโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สำมำรถทำงำนได้ ตำมที่ต้องกำร
  • 22. 3.4 ผู้ปฏิบัติกำร (Operator ) สำหรับระบบขนำดให ่ เช่น เมนเฟรม จะต้องมีเจ้ำหน้ำที่คอมพิวเตอร์ที่คอยปิ ดและเปิ ดเครื่อง และเฝ้ ำดู จอภำพเมื่อมีปั หำซึ่งอำจเกิดขัดข้อง จะต้องแจ้ง System Programmer ซึ่งเป็ นผู้ดูแลตรวจสอบแก้ไขโปรแกรมระบบควบคุม เครื่อง (System Software) อีกทีหนึ่ง
  • 23. 3.5 ผู้บริหำรฐำนข้อมูล ( Database Administrator : DBA ) กลุ่มบุคคลที่ทำ หน้ำที่ดูแลข้อมูลผ่ำนระบบจัดกำร ฐำนข้อมูล ซึ่งจะควบคุมให้กำรทำงำน เป็ นไปอย่ำงรำบรื่น นอกจำกนี้ยังทำ หน้ำที่กำหนดสิทธิกำรใช้งำนข้อมูล กำหนดในเรื่องควำมปลอดภัยของกำร ใช้งำน พร้อมทั้งดูแลดำต้ำเบส เซิร์ฟเวอร์ (Database Server) ให้ทำงำน อย่ำงปกติด้วย
  • 24. 3.6 ผู้จัดกำรระบบ (System Manager) คือ ผู้วำงนโยบำยกำรใช้ คอมพิวเตอร์ให้เป็ นไปตำมเป้ ำหมำย ของหน่วยงำน เป็ นผู้ที่มีควำมหมำย ต่อควำมสำเร็จหรือล้มเหลวของกำร นำระบบคอมพิวเตอร์เข้ำมำใช้งำน เป็ นอย่ำงมำก
  • 25. 4. ข้อมูลและสำรสนเทศ 4.1 ข้อมูล (Data) หมำยถึง ข้อเท็จจริงหรือเหตุกำรณ์ที่ เกิดขึ้น แล้วใช้ตัวเลขตัวอักษร หรือสั ลักษณ์ ต่ำงๆ ทำ ควำมหมำยแทนสิ่งเหล่ำนั้น เช่น - คะแนนสอบวิชำภำษำไทยของนักเรียน - อำยุของพนักงำนในบริษัทชินวัตรจำกัด - รำคำขำยของหนังสือในร้ำนหนังสือดอกห ้ำ - คำตอบที่ผู้ถูกสำรวจตอบในแบบสอบถำม
  • 26. 4.2 สำรสนเทศ (Information) หมำยถึง ข้อสรุป ต่ำงๆ ที่ได้จำกกำรนำข้อมูลมำทำกำรวิเครำะห์ หรือผ่ำนวิธีกำรที่ ได้กำหนดขึ้น ทั้งนี้เพื่อนำ ข้อสรุปไปใช้งำนหรืออ้ำงอิง เช่น · เกรดเฉลี่ยของวิชำภำษำไทยของนักเรียน · อำยุเฉลี่ยของพนักงำนในบริษัทชินวัตร จำกัด · รำคำขำยสูงสุดของหนังสือในร้ำนหนังสือ ดอกห ้ำ · ข้อสรุปจำกกำรสำรวจคำตอบใน แบบสอบถำม
  • 27. 5. กระบวนกำรทำงำน ( Procedure ) องค์ประกอบด้ำนนี้หมำยถึงกระบวนกำรทำงำนเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ ตำมต้องกำร ในกำรทำงำนกับคอมพิวเตอร์ผู้ใช้จำเป็ นต้องทรำบ ขั้นตอนกำรทำงำนเพื่อให้ได้งำนที่ถูกต้องและมีประสิทธิภำพ ซึ่ง อำจจะมีขั้นตอนสลับซับซ้อนหลำยขั้นตอน ดังนั้นจึงมีควำม จำเป็ นต้องมีคู่มือปฏิบัติงำน เช่น คู่มือผู้ใช้ ( user manual ) หรือ คู่มือผู้ดูแลระบบ ( operation manual ) เป็ นต้น
  • 29. ผู้จัดทำ นำงสำวเกวลิน ปงชำคำ ม.5/1 เลขที่ 24 นำงสำวนภสร วงศ์ปรีชำสวัสดิ์ ม.5/1 เลขที่ 32