SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
องค์ประกอบของระบบ
    คอมพิวเตอร์
ความหมาย
     คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่มนุษย์
ใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการจัดการกับข้อมูลที่อาจเป็นได้
ทั้งตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนความหมาย
ในสิ่งต่าง ๆ โดยคุณสมบัตที่สำาคัญของคอมพิวเตอร์คือ
                          ิ
การที่สามารถกำาหนดชุดคำาสั่งล่วงหน้าหรือโปรแกรมได้
(programmable) นั่นคือคอมพิวเตอร์สามารถทำางานได้
หลากหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับชุดคำาสั่งที่เลือกมาใช้งาน
ทำาให้สามารถนำาคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้งานได้อย่าง
กว้างขวาง เช่น ใช้ในการตรวจคลื่นความถีของหัวใจ การ
                                         ่
ฝาก - ถอนเงินในธนาคาร การตรวจสอบสภาพเครื่องยนต์
เป็นต้น ข้อดีของคอมพิวเตอร์ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์
สามารถทำางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความถูกต้อง และ
มีความรวดเร็ว
องค์ประกอบของระบบ
    คอมพิวเตอร์
• ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
      คือลักษณะทางกายของเครื่องคอมพิวเตอร์
  ซึ่งหมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์
  รอบข้าง (peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น
  ฮาร์ดดิสก์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ฮาร์ดแวร์
  ประกอบด้วย
  – หน่วยรับข้อมูล ( input unit )
  – หน่วยประมวลผลกลาง ( central processor unit )
    หรือ CPU
  – หน่วยความจำาหลัก
  – หน่วยแสดงผลลัพธ์ (output unit )
  – หน่วยเก็บข้อมูลสำารอง (secondary storage unit )
• ซอฟต์แวร์ (Software)
      คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจาก
  โรงงานจะยังไม่สามารถทำางานใดๆ เนื่องจาก
  ต้องมี ซอฟต์แวร์ (Software) ซึ่งเป็นชุดคำาสัง
                                              ่
  หรือโปรแกรมที่สงให้ฮาร์ดแวร์ทำางานต่าง ๆ
                  ั่
  ตามต้องการ โดยชุดคำาสั่งหรือโปรแกรมนันจะ  ้
  เขียนขึ้นมาจาก ภาษาคอมพิวเตอร์
  (Programming Language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง
  และมี โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือนัก
  เขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่า
  นันเขียนซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ขึ้นมา
    ้
• บุคลากร (Peopleware)
      เครื่องคอมพิวเตอร์โดยมากต้องใช้บุคลากร
  สังให้เครื่องทำางาน เรียกบุคลากรเหล่านีว่า ผู้ใช้
    ่                                     ้
  หรือ ยูเซอร์ (user) แต่ก็มีบางชนิดที่สามารถ
  ทำางานได้เองโดยไม่ต้องใช้ผู้ควบคุม อย่างไร
  ก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็ยังคงต้องถูกออกแบบหรือ
  ดูแลรักษาโดยมนุษย์เสมอ
• ข้อมูลและสารสนเทศ (Data / Information)
      ในการทำางานต่าง ๆ จะต้องมีข้อมูลเกิดขึ้น
  ตลอดเวลา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานที่ถูกเก็บ
  รวบรวมมาประมวลผล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่
  เป็นประโยชน์ตอผู้ใช้ ซึ้งในปัจจุบันมีการนำาเอา
                 ่
  ระบบคอมพิวเตอร์มาเป็นข้อมูลในการดัดแปลง
  ข้อมูลให้ได้ประสิทธิภาพโดยแตกต่างๆระหว่าง
  ข้อมูล และ สารสนเทศ
• กระบวนการทำางาน (Procedure)
       กระบวนการทำางานหรือโพรซีเยอร์ หมายถึง
  ขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทำาตาม เพื่อให้ได้งาน
  เฉพาะอย่างจากคอมพิวเตอร์ซึ่งผู้ใช้
  คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรู้การทำางานพื้นฐานของ
  เครื่องคอมพิวเตอร์ เพือที่จะสามารถใช้งานได้
                         ่
  อย่างถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การใช้เครื่อง ฝาก-
  ถอนเงินอัตโนมัติ ถ้าต้องการถอนเงินจะต้อง
  ผ่านกระบวนการต่าง ๆ
ประเภทของซอฟต์แวร์
สามารถแบ่งได้ 2 ประเภทคือ ซอฟต์แวร์ระบบ (System
  Software)
 และซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เป็น
  โปรแกรมหรือชุดคำาสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อควบคุมการ
  ทำางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ประสานกัน และ
  ควบคุมลำาดับขันตอนการทำางานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ใน
                ้
  ระบบคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ระบบที่นิยมแพร่หลาย
  ได้แก่ DOS, UNIX, WINDOWS, SUN, OS/2, NET
  WARE เป็นต้น
  โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating Systems : OS)
  หรือ Supervisory Programs หรือ Monitors
  Programs เป็นโปรแกรมที่สำาคัญที่สุดอีกประการหนึ่ง
  และมีความสลับซับซ้อนมาก ช่วยให้คอมพิวเตอร์
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
      หมายถึง โปรแกรมที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้
  เขียนมาใช้งานเอง เพื่อสังให้คอมพิวเตอร์
                          ่
  ทำางานอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่ต้องการ
ความแตกต่างระหว่างข้อมูลกับ
        สารสนเทศ
ข้อมูล (Data)
        ข้อมูล คือ เหตุการณ์จริงทีเกิดขึนประจำาวัน
                                  ่     ้
  ในการดำาเนินธุรกิจขององค์กร เช่น รายการสั่งซื้อ
  สินค้าจากลูกค้า รายการส่งสินค้า ชื่อที่อยู่ลูกค้า
  ยอดขายในแต่ละวัน เป็นต้น ข้อมูลอาจเป็นได้
  หลายชนิด เช่น ตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ รูปถ่าย
  หรือแม้กระทังเสียง
               ่
สารสนเทศ (Information)
        สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ผ่านกระบวนการเก็บ
  รวบรวมและเรียบเรียง เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลที่เป็น
  ประโยชน์ต่อผู้ใช้
          สารสนเทศที่ดี จะช่วยให้ผบริหารสามารถ
                                    ู้
  ตัดสินใจได้ถูกต้องแม่นยำาขึ้น และช่วยให้การ
ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของ
          ระบบคอมพิวเตอร์
  องค์ประกอบต่าง ๆ ในระบบคอมพิวเตอร์ที่แต่ละ
องค์ประกอบจะมีความสำาคัญ แต่ละองค์ประกอบนี้จะมี
ความสัมพันธ์กันขององค์ประกอบต่าง ๆ ได้ดังนี้
บุคลากรในที่นี้อาจหมายถึงตัวเราเองหรืออาจเป็นบุคคล
ที่ต้องยุ่งเกี่ยวกับการทำางานของระบบคอมพิวเตอร์ โดย
จะเป็นผู้สร้าง พัฒนา หรือใช้งานโปรแกรมซึงอาจเป็น
                                           ่
โปรแกรมประยุกต์หรือโปรแกรมสำาเร็จรูปอย่างใดอย่าง
หนึ่งที่มีการปฏิบิตการอยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่ใช้อาจเป็นเครื่องระดังไมโครคอมพิวเตอร์
มินิ หรือเมนเฟรมก็ได้ ซึงแน่นอนว่าจะต้องมีโปรแกรม
                          ่
ระบบคอยควบคุมการทำางานของเครื่องให้สามารถ
ทำางานได้อย่างราบรื่น
โปรแกรมที่ถกพัฒนาหรือใช้งานนี้จะต้องถูกนำาเข้าสู่
              ู
ระบบคอมพิวเตอร์โดยผ่านทางหน่วยนำาข้อมูลเข้า เช่น
แป้นพิมพ์ และเมือจะมีการประมวลผลโปรแกรมจาก
                   ่
หน่วยประมวลผลหรือซีพียู จะมีการนำาเข้าข้อมูลที่ต้อง
ใช้ในโปรแกรมผ่านทางหน่วยนำาข้อมูลเข้า ข้อมูลนี้จะ
ถูกส่งไปประมวลผลพร้อมกับโปรแกรม โปรแกรมหรือ
ข้อมูลนี้ยังสามารถถูกนำาไปเก็บสำารองไว้ในสื่อบันทึก
ข้อมูลที่เรียกว่าเป็นหน่วยเก็บข้อมูลสำารอง เช่น ดิสก์
หรือ เทป ได้อก เพื่อให้สามารถเรียกใช้งานโปรแกรม
                ี
หรือข้อมูลนั้นได้อีกในภายหลังเมื่อมีการประมวลผล
ข้อมูลจากหน่วยประมวลกลางเสร็จ ก็จะแสดงผลลัพธ์
ออกทางหน่วยนำาข้อมูลออก เช่นเครื่องพิมพ์ หรือ
จอภาพ เป็นต้น จะเห็นได้ว่าองค์ประกอบทุกองค์ประ
กอลบจะมีความสัมพันธ์กันหมด ดังนั้นการจะใช้งาน
ระบบคอมพิวเตอร์นั้น จะต้องประกอบด้วยองค์ประกอบ
องค์ประกอบของ Computer

More Related Content

What's hot (11)

แผ่นผับ
แผ่นผับแผ่นผับ
แผ่นผับ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
computer
computercomputer
computer
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
Week02
Week02Week02
Week02
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 

Viewers also liked

Secuencia didáctica
Secuencia didácticaSecuencia didáctica
Secuencia didácticaAnha Rivera
 
Guía nadal 16 17
Guía nadal 16 17Guía nadal 16 17
Guía nadal 16 17luis425
 
Purpose of a film opening
Purpose of a film openingPurpose of a film opening
Purpose of a film openingarshriya3
 
Access to Research Data - Westminster Briefing
Access to Research Data - Westminster BriefingAccess to Research Data - Westminster Briefing
Access to Research Data - Westminster BriefingDanny Kingsley
 
The value of embracing unknown unknowns
The value of embracing unknown unknownsThe value of embracing unknown unknowns
The value of embracing unknown unknownsDanny Kingsley
 
MGNREGA on rural employment and migration
MGNREGA on rural employment and migrationMGNREGA on rural employment and migration
MGNREGA on rural employment and migrationDevesh Shukla
 
DETERMINANTS OF MOBILE COMMERCE CUSTOMER LOYALTY IN MALAYSIA
DETERMINANTS OF MOBILE COMMERCE  CUSTOMER LOYALTY IN MALAYSIADETERMINANTS OF MOBILE COMMERCE  CUSTOMER LOYALTY IN MALAYSIA
DETERMINANTS OF MOBILE COMMERCE CUSTOMER LOYALTY IN MALAYSIADevesh Shukla
 
Quadro_explicativo_sofistas
Quadro_explicativo_sofistasQuadro_explicativo_sofistas
Quadro_explicativo_sofistasIsabel Moura
 
Exploring the potential for LPWAN for agri-tech
Exploring the potential for LPWAN for agri-techExploring the potential for LPWAN for agri-tech
Exploring the potential for LPWAN for agri-techDigital Catapult
 
LPWAN London Meetup: Securing your IoT products
LPWAN London Meetup: Securing your IoT productsLPWAN London Meetup: Securing your IoT products
LPWAN London Meetup: Securing your IoT productsDigital Catapult
 
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556Vorawut Wongumpornpinit
 
Media evaluation question 6
Media evaluation question 6Media evaluation question 6
Media evaluation question 6mitali solanki
 
Pitch deck slides business infographic (1)
Pitch deck slides business infographic (1)Pitch deck slides business infographic (1)
Pitch deck slides business infographic (1)Zeel Jetwha
 
碎形(Fractal)藝術 謝惠雯
碎形(Fractal)藝術 謝惠雯碎形(Fractal)藝術 謝惠雯
碎形(Fractal)藝術 謝惠雯csshart
 
Food Security: an information provider’s view
Food Security: an information provider’s viewFood Security: an information provider’s view
Food Security: an information provider’s viewElsevier
 

Viewers also liked (20)

Chudinov_PhD_IMEMO
Chudinov_PhD_IMEMOChudinov_PhD_IMEMO
Chudinov_PhD_IMEMO
 
Secuencia didáctica
Secuencia didácticaSecuencia didáctica
Secuencia didáctica
 
Ramnath_Resume
Ramnath_ResumeRamnath_Resume
Ramnath_Resume
 
sathish[1]
sathish[1]sathish[1]
sathish[1]
 
Guía nadal 16 17
Guía nadal 16 17Guía nadal 16 17
Guía nadal 16 17
 
Purpose of a film opening
Purpose of a film openingPurpose of a film opening
Purpose of a film opening
 
Access to Research Data - Westminster Briefing
Access to Research Data - Westminster BriefingAccess to Research Data - Westminster Briefing
Access to Research Data - Westminster Briefing
 
The value of embracing unknown unknowns
The value of embracing unknown unknownsThe value of embracing unknown unknowns
The value of embracing unknown unknowns
 
MGNREGA on rural employment and migration
MGNREGA on rural employment and migrationMGNREGA on rural employment and migration
MGNREGA on rural employment and migration
 
DETERMINANTS OF MOBILE COMMERCE CUSTOMER LOYALTY IN MALAYSIA
DETERMINANTS OF MOBILE COMMERCE  CUSTOMER LOYALTY IN MALAYSIADETERMINANTS OF MOBILE COMMERCE  CUSTOMER LOYALTY IN MALAYSIA
DETERMINANTS OF MOBILE COMMERCE CUSTOMER LOYALTY IN MALAYSIA
 
Quadro_explicativo_sofistas
Quadro_explicativo_sofistasQuadro_explicativo_sofistas
Quadro_explicativo_sofistas
 
Exploring the potential for LPWAN for agri-tech
Exploring the potential for LPWAN for agri-techExploring the potential for LPWAN for agri-tech
Exploring the potential for LPWAN for agri-tech
 
LPWAN London Meetup: Securing your IoT products
LPWAN London Meetup: Securing your IoT productsLPWAN London Meetup: Securing your IoT products
LPWAN London Meetup: Securing your IoT products
 
A study on E-Finance
A study on E-FinanceA study on E-Finance
A study on E-Finance
 
Shooting script
Shooting scriptShooting script
Shooting script
 
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
 
Media evaluation question 6
Media evaluation question 6Media evaluation question 6
Media evaluation question 6
 
Pitch deck slides business infographic (1)
Pitch deck slides business infographic (1)Pitch deck slides business infographic (1)
Pitch deck slides business infographic (1)
 
碎形(Fractal)藝術 謝惠雯
碎形(Fractal)藝術 謝惠雯碎形(Fractal)藝術 謝惠雯
碎形(Fractal)藝術 謝惠雯
 
Food Security: an information provider’s view
Food Security: an information provider’s viewFood Security: an information provider’s view
Food Security: an information provider’s view
 

Similar to องค์ประกอบของ Computer

แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net Saharat Yimpakdee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ Peem Jirayut
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1mod2may
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Tonkaw Napassorn
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Tonkaw Napassorn
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardwarestandbyme mj
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศFfurn Leawtakoon
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์เทวัญ ภูพานทอง
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Worapod Khomkham
 

Similar to องค์ประกอบของ Computer (20)

แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardware
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
Whatiscomputer
WhatiscomputerWhatiscomputer
Whatiscomputer
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
Learnning02
Learnning02Learnning02
Learnning02
 

องค์ประกอบของ Computer

  • 1. องค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์
  • 2. ความหมาย คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่มนุษย์ ใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการจัดการกับข้อมูลที่อาจเป็นได้ ทั้งตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนความหมาย ในสิ่งต่าง ๆ โดยคุณสมบัตที่สำาคัญของคอมพิวเตอร์คือ ิ การที่สามารถกำาหนดชุดคำาสั่งล่วงหน้าหรือโปรแกรมได้ (programmable) นั่นคือคอมพิวเตอร์สามารถทำางานได้ หลากหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับชุดคำาสั่งที่เลือกมาใช้งาน ทำาให้สามารถนำาคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้งานได้อย่าง กว้างขวาง เช่น ใช้ในการตรวจคลื่นความถีของหัวใจ การ ่ ฝาก - ถอนเงินในธนาคาร การตรวจสอบสภาพเครื่องยนต์ เป็นต้น ข้อดีของคอมพิวเตอร์ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถทำางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความถูกต้อง และ มีความรวดเร็ว
  • 3. องค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์
  • 4. • ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือลักษณะทางกายของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์ รอบข้าง (peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ฮาร์ดแวร์ ประกอบด้วย – หน่วยรับข้อมูล ( input unit ) – หน่วยประมวลผลกลาง ( central processor unit ) หรือ CPU – หน่วยความจำาหลัก – หน่วยแสดงผลลัพธ์ (output unit ) – หน่วยเก็บข้อมูลสำารอง (secondary storage unit )
  • 5. • ซอฟต์แวร์ (Software) คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจาก โรงงานจะยังไม่สามารถทำางานใดๆ เนื่องจาก ต้องมี ซอฟต์แวร์ (Software) ซึ่งเป็นชุดคำาสัง ่ หรือโปรแกรมที่สงให้ฮาร์ดแวร์ทำางานต่าง ๆ ั่ ตามต้องการ โดยชุดคำาสั่งหรือโปรแกรมนันจะ ้ เขียนขึ้นมาจาก ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง และมี โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือนัก เขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่า นันเขียนซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ขึ้นมา ้
  • 6. • บุคลากร (Peopleware) เครื่องคอมพิวเตอร์โดยมากต้องใช้บุคลากร สังให้เครื่องทำางาน เรียกบุคลากรเหล่านีว่า ผู้ใช้ ่ ้ หรือ ยูเซอร์ (user) แต่ก็มีบางชนิดที่สามารถ ทำางานได้เองโดยไม่ต้องใช้ผู้ควบคุม อย่างไร ก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็ยังคงต้องถูกออกแบบหรือ ดูแลรักษาโดยมนุษย์เสมอ
  • 7. • ข้อมูลและสารสนเทศ (Data / Information) ในการทำางานต่าง ๆ จะต้องมีข้อมูลเกิดขึ้น ตลอดเวลา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานที่ถูกเก็บ รวบรวมมาประมวลผล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ เป็นประโยชน์ตอผู้ใช้ ซึ้งในปัจจุบันมีการนำาเอา ่ ระบบคอมพิวเตอร์มาเป็นข้อมูลในการดัดแปลง ข้อมูลให้ได้ประสิทธิภาพโดยแตกต่างๆระหว่าง ข้อมูล และ สารสนเทศ
  • 8. • กระบวนการทำางาน (Procedure) กระบวนการทำางานหรือโพรซีเยอร์ หมายถึง ขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทำาตาม เพื่อให้ได้งาน เฉพาะอย่างจากคอมพิวเตอร์ซึ่งผู้ใช้ คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรู้การทำางานพื้นฐานของ เครื่องคอมพิวเตอร์ เพือที่จะสามารถใช้งานได้ ่ อย่างถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การใช้เครื่อง ฝาก- ถอนเงินอัตโนมัติ ถ้าต้องการถอนเงินจะต้อง ผ่านกระบวนการต่าง ๆ
  • 9. ประเภทของซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งได้ 2 ประเภทคือ ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) และซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) 1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เป็น โปรแกรมหรือชุดคำาสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อควบคุมการ ทำางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ประสานกัน และ ควบคุมลำาดับขันตอนการทำางานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ใน ้ ระบบคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ระบบที่นิยมแพร่หลาย ได้แก่ DOS, UNIX, WINDOWS, SUN, OS/2, NET WARE เป็นต้น โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating Systems : OS) หรือ Supervisory Programs หรือ Monitors Programs เป็นโปรแกรมที่สำาคัญที่สุดอีกประการหนึ่ง และมีความสลับซับซ้อนมาก ช่วยให้คอมพิวเตอร์
  • 10. 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) หมายถึง โปรแกรมที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้ เขียนมาใช้งานเอง เพื่อสังให้คอมพิวเตอร์ ่ ทำางานอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่ต้องการ
  • 11. ความแตกต่างระหว่างข้อมูลกับ สารสนเทศ ข้อมูล (Data) ข้อมูล คือ เหตุการณ์จริงทีเกิดขึนประจำาวัน ่ ้ ในการดำาเนินธุรกิจขององค์กร เช่น รายการสั่งซื้อ สินค้าจากลูกค้า รายการส่งสินค้า ชื่อที่อยู่ลูกค้า ยอดขายในแต่ละวัน เป็นต้น ข้อมูลอาจเป็นได้ หลายชนิด เช่น ตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ รูปถ่าย หรือแม้กระทังเสียง ่ สารสนเทศ (Information) สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ผ่านกระบวนการเก็บ รวบรวมและเรียบเรียง เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ต่อผู้ใช้ สารสนเทศที่ดี จะช่วยให้ผบริหารสามารถ ู้ ตัดสินใจได้ถูกต้องแม่นยำาขึ้น และช่วยให้การ
  • 12. ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของ ระบบคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบต่าง ๆ ในระบบคอมพิวเตอร์ที่แต่ละ องค์ประกอบจะมีความสำาคัญ แต่ละองค์ประกอบนี้จะมี ความสัมพันธ์กันขององค์ประกอบต่าง ๆ ได้ดังนี้ บุคลากรในที่นี้อาจหมายถึงตัวเราเองหรืออาจเป็นบุคคล ที่ต้องยุ่งเกี่ยวกับการทำางานของระบบคอมพิวเตอร์ โดย จะเป็นผู้สร้าง พัฒนา หรือใช้งานโปรแกรมซึงอาจเป็น ่ โปรแกรมประยุกต์หรือโปรแกรมสำาเร็จรูปอย่างใดอย่าง หนึ่งที่มีการปฏิบิตการอยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ใช้อาจเป็นเครื่องระดังไมโครคอมพิวเตอร์ มินิ หรือเมนเฟรมก็ได้ ซึงแน่นอนว่าจะต้องมีโปรแกรม ่ ระบบคอยควบคุมการทำางานของเครื่องให้สามารถ ทำางานได้อย่างราบรื่น
  • 13. โปรแกรมที่ถกพัฒนาหรือใช้งานนี้จะต้องถูกนำาเข้าสู่ ู ระบบคอมพิวเตอร์โดยผ่านทางหน่วยนำาข้อมูลเข้า เช่น แป้นพิมพ์ และเมือจะมีการประมวลผลโปรแกรมจาก ่ หน่วยประมวลผลหรือซีพียู จะมีการนำาเข้าข้อมูลที่ต้อง ใช้ในโปรแกรมผ่านทางหน่วยนำาข้อมูลเข้า ข้อมูลนี้จะ ถูกส่งไปประมวลผลพร้อมกับโปรแกรม โปรแกรมหรือ ข้อมูลนี้ยังสามารถถูกนำาไปเก็บสำารองไว้ในสื่อบันทึก ข้อมูลที่เรียกว่าเป็นหน่วยเก็บข้อมูลสำารอง เช่น ดิสก์ หรือ เทป ได้อก เพื่อให้สามารถเรียกใช้งานโปรแกรม ี หรือข้อมูลนั้นได้อีกในภายหลังเมื่อมีการประมวลผล ข้อมูลจากหน่วยประมวลกลางเสร็จ ก็จะแสดงผลลัพธ์ ออกทางหน่วยนำาข้อมูลออก เช่นเครื่องพิมพ์ หรือ จอภาพ เป็นต้น จะเห็นได้ว่าองค์ประกอบทุกองค์ประ กอลบจะมีความสัมพันธ์กันหมด ดังนั้นการจะใช้งาน ระบบคอมพิวเตอร์นั้น จะต้องประกอบด้วยองค์ประกอบ