SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ทำงำนอย่ำงเป็นระบบ
(System) หมำยถึงภำยในระบบงำนคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย
องค์ประกอบย่อยที่มีหน้ำที่เฉพำะ ทำงำนประสำนสัมพันธ์กัน
เพื่อให้งำนบรรลุตำมเป้ ำหมำย ในระบบงำนคอมพิวเตอร์
กำรที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์เพียงอย่ำงเดียว จะยังไม่สำมำรถทำงำนได้ด้วยตัวเอง ซึ่งหำกจะให้คอมพิวเตอร์ทำงำนได้อย่ำง
เป็นระบบและมีประสิทธิภำพแล้ว ระบบคอมพิวเตอร์ควรจะประกอบไปด้วยองค์ประกอบคือ บุคลำกร
(Peopleware)ฮำร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) ข้อมูล(Data) สำรสนเทศ(Information) และ
กระบวนกำรทำงำน ( Procedure )
1. ฮาร์ดแวร์ ( Hardware ) ฮำร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบของตัวเครื่องที่สำมำรถจับต้องได้ ได้แก่ วงจรไฟฟ้ ำ ตัวเครื่อง
จอภำพ เครื่องพิมพ์ คีร์บอร์ด เป็นต้นซึ่งสำมำรถแบ่งส่วนพื้นฐำนของฮำร์ดแวร์เป็น 4 หน่วยสำคัญ
1.1 หน่วยรับข้อมูลหรืออินพุต ( Input Unit) ทำหน้ำที่รับข้อมูลและโปรแกรมเข้ำ เครื่อง มีโครงสร้ำงดังรูป 1.3 ได้แก่
คีย์บอรืดหรือแป้ นพิมพ์ เมำส์ เครื่องสแกน เครื่องรูดบัตร Digitizer เป็นต้น
1.2 ระบบประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit) ทำหน้ำที่ในกำรทำงำนตำมคำสั่งที่ปรำกฏ
อยู่ในโปรแกรม ปัจจุบันซีพียูของเครื่องพีซี รู้จักในนำมไมโครโปรเซสเซอร์ ( Micro Processor) หรือ Chip เช่น
บริษัท Intelคือ Pentium หรือ Celelon ส่วนของบริษัท AMD คือ K6,K7(Athlon) เป็นต้น ไมโครโปรเซสเซอร์ มีหน้ำที่
ในกำรประมวลผลข้อมูล ในลักษณะของกำรคำนวณและเปรียบเทียบ โดยจะทำงำนตำมจังหวะเวลำที่แน่นอน เรียกว่ำ
สัญญำณ Clock เมื่อมีกำรเคำะจังหวะหนึ่งครั้ง ก็จะเกิดกิจกรรม 1 ครั้ง เรำเรียกหน่วย ที่ใช้ในกำรวัดควำมเร็วของซีพียู
ว่ำ “เฮิร์ท”(Herzt) หมำยถึงกำรทำงำนได้กี่ครั้งในจำนวน 1 วินำที เช่น ซีพียู Pentium4 มีควำมเร็ว 2.5 GHz หมำยถึง
ทำงำนเร็ว 2,500 ล้ำนครั้ง ในหนึ่งวินำที กรณีที่สัญญำณ Clock เร็วก็จะทำให้คอมพิวเตอร์เครื่องนั้น มีควำมเร็วสูง และ
ซีพียูที่ทำงำนเร็วมำก รำคำก็จะแพงขึ้นมำกตำมไปด้วย
1.3 หน่วยเก็บข้อมูล ( Storage ) ซึ่งสำมำรถแยกตำมหน้ำที่ได้เป็น 2 ลักษณะ คือ
1.3.1 หน่วยเก็บข้อมูลหลักหรือควำมจำหลัก ( Primary Storage หรือ Main Memory ) ทำหน้ำที่เก็บโปรแกรม
หรือข้อมูลที่รับมำจำกหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งให้หน่วยประมวลผลกลำงทำกำรประมวลผล และรับผลลัพธ์ที่ได้จำก
กำรประมวลผลเพื่อส่งออกหน่วยแสดงข้อมูลต่อไปซึ่งอำจแยกได้เป็น 2 ประเภท คือ RAM ( Random Access
Memory ) ที่สำมำรถอ่ำนและเขียนข้อมูลได้ในขณะที่เปิดเครื่องอยู่ แต่เมื่อปิดเครื่องข้อมูลใน RAM จะหำยไป
และ ROM ( Read Only Memory ) จะอ่ำนได้อย่ำงเดียว เช่น BIOS (Basic Input Output system) โปรแกรมฝังไว้
ใช้ตอนสตำร์ตเครื่อง เพื่อเครื่องคอมพิวเตอร์เริ่มต้นทำงำน เป็นต้น
1.3.2 หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง ( Secondary Storage ) เป็นหน่วยที่ทำหน้ำที่เก็บข้อมูล หรือโปรแกรมที่จะป้ อนเข้ำสู่
หน่วยควำมจำหลักภำยในเครื่องก่อนทำกำรประมวลผลโดยซีพียู รวมทั้งเป็นที่เก็บผลลัพธ์จำกกำรประมวลผลด้วย
ปัจจุบันรู้จักในนำมฮำร์ดดิสก์ (Hard disk) หรือแผ่นฟร็อปปีดิสก์ (Floppy Disk) ซึ่งเมื่อปิดเครื่องข้อมูลจะยังคงเก็บอยู่
1.4 หน่วยแสดงข้อมูลหรือเอาต์พุต ( Output Unit ) ทำหน้ำที่ในกำรแสดงผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรประมวลผล ได้แก่
จอภำพ และเครื่องพิมพ์ เป็นต้น ทั้ง 4 ส่วนจะเชื่อมต่อกันด้วยบัส ( Bus )
2 ซอฟต์แวร์ ( Software )
ซอฟต์แวร์ คือโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง ที่สั่งให้ฮำร์ดแวร์ทำงำน รวมไปถึงกำรควบคุมกำรทำงำน ของอุปกรณ์แวดล้อมต่ำงๆ
เช่น ฮำร์ดดิสก์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม กำร์ดอินเตอร์เฟสต่ำง ๆ เป็นต้น ซอฟต์แวร์ เป็นสิ่งที่มองไม่เห็นจับต้องไม่ได้ แต่รับรู้กำร
ทำงำนของมันได้ ซึ่งต่ำงกับ ฮำร์ดแวร์ (Hardware) ที่สำมำรถจับต้องได้ ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ ( System Software ) คือโปรแกรม ที่ใช้ในกำรควบคุมระบบกำร ทำงำนของเครื่องคอมพิวเตอร์
ทั้งหมด เช่น กำรบูตเครื่อง กำรสำเนำข้อมูล กำรจัดกำรระบบของดิสก์ ชุดคำสั่งที่เขียนเป็นคำสั่งสำเร็จรูป โดยผู้ผลิตเครื่อง
คอมพิวเตอร์ และมีมำพร้อมแล้วจำกโรงงำนผลิต กำรทำงำนหรือกำรประมวลผล ของซอฟต์แวร์เหล่ำนี้ขึ้นกับเครื่อง
คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ระบบของซอฟต์แวร์เหล่ำนี้ออกแบบมำเพื่อกำรปฏิบัติควบคุม และมีควำมสำมำรถในกำร
ยืดหยุ่น กำรประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 4 ประเภทคือ
2.1.1 โปรแกรมระบบปฏิบัติกำร (Operating System) เป็นโปรแกรมที่ใช้ควบคุม และติดต่อกับอุปกรณ์ต่ำง ๆ ของ
เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยเฉพำะกำรจัดกำรระบบของดิสก์ กำรบริหำรหน่วยควำมจำของระบบ กล่ำวโดยสรุปคือ หำกจะ
ทำงำนใดงำนหนึ่ง โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ ในกำรทำงำน แล้วจะต้องติดต่อกับซอฟต์แวร์ระบบก่อน ถ้ำขำด
ซอฟต์แวร์ชนิดนี้จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ไม่สำมำรถทำงำนได้ ตัวอย่ำงของซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ โปรแกรม
ระบบปฏิบัติกำร Unix Linux DOS และWindows (เวอร์ชั่นต่ำง ๆ เช่น 95 98 me 2000 NT XP Vista ) เป็นต้น
2.1.2 ตัวแปลภำษำ (Translator) จำก Source Code ให้เป็น Object Code (แปลจำกภำษำที่มนุษย์เข้ำใจ
ให้เป็นภำษำที่เครื่องเข้ำใจ เปรียบเสมือนล่ำมแปลภำษำ) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในกำรแปลภำษำระดับสูง ซึ่ง เป็นภำษำ
ใกล้เคียงภำษำมนุษย์ ให้เป็นภำษำเครื่องก่อนที่จะนำไปประมวลผล ตัวแปลภำษำแบ่งออกเป็นสองประเภทคือ
คอมไพเลอร์ (Compiler) และอินเตอร์พีทเตอร์ (Interpeter) คอมไพเลอร์จะแปลคำสั่งในโปรแกรมทั้งหมดก่อน แล้วทำ
กำรลิ้ง (Link) เพื่อให้ได้คำสั่งที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้ำใจ ส่วนอินเตอร์พีทเตอร์จะแปลทีละประโยคคำสั่ง แล้วทำงำนตำม
ประโยคคำสั่งนั้น กำรจะเลือกใช้ตัวแปลภำษำแบบใดนั้น จะขึ้นอยู่กับภำษำที่ใช้ในกำรเขียนโปรแกรม ซึ่งมี 2 แบบได้แก่
ภำษำแบบโครงสร้ำง เช่น ภำษำเบสิก (Basic) ภำษำปำสคำล (Pascal) ภำษำซี (C) ภำษำจำวำ(Java)ภำษำโคบอล
(Cobol) ภำษำ SQL ภำษำ HTML เป็นต้น ภำษำแบบเชิงวัตถุ (Visual หรือ Object Oriented
Programming) เช่น Visual Basic,Visual C หรือ Delphi เป็นต้น
2.1.3 ยูติลิตี้โปรแกรม (Utility Program) คือซอฟต์แวร์เสริมช่วยให้เครื่องทำงำนมีประสิทธิภำพ มำกขึ้น เช่น ช่วยใน
กำรตรวจสอบดิสก์ ช่วยในกำรจัดเก็บข้อมูลในดิสก์ ช่วยสำเนำข้อมูล ช่วยซ่อมอำกำรชำรุดของดิสก์ ช่วยค้นหำและกำจัด
ไวรัส ฯลฯ เป็นต้นโปรแกรมในกลุ่มนี้ได้แก่ โปรแกรม Norton Winzip Scan virus Sidekick Scandisk Screen
Saver ฯลฯ เป็นต้น
2.1.4 ติดตั้งและปรับปรุงระบบ (Diagonostic Program) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในกำรติดตั้งระบบ เพื่อให้คอมพิวเตอร์
สำมำรถติดต่อและใช้งำนอุปกรณ์ต่ำง ๆ ที่นำมำติดตั้งระบบ ได้แก่ โปรแกรม Setupและ Driver ต่ำง ๆ เช่น
โปรแกรม Setup Microsoft Office โปรแกรม Driver Sound , Driver Printer , Driver Scanner ฯลฯ เป็นต้น
2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงำนต่ำงๆ ตำมที่ผู้ใช้ต้องกำร ไม่ว่ำจะด้ำนเอกสำร บัญชี กำรจัดเก็บ
ข้อมูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สำมำรถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
2.2.1 ซอฟต์แวร์สำหรับงำนเฉพำะด้ำน (Special Purpose Software) คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อกำรทำงำน
เฉพำะอย่ำงที่เรำต้องกำร บำงที่เรียกว่ำ User’s Program เช่น โปรแกรมกำรทำบัญชีจ่ำยเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่ำซื้อ
โปรแกรมกำรทำสินค้ำคงคลัง เป็นต้น ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอร์มแตกต่ำงกันออกไปตำมควำม
ต้องกำร หรือกฏเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงำนที่ใช้ ซึ่งสำมำรถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบำงส่วนของ
โปรแกรมได้ เพื่อให้ตรงกับควำมต้องกำรของผู้ใช้ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภำษำระดับสูง
เป็นตัวพัฒนำ
2.2.2 ซอฟต์แวร์สำหรับงำนทั่วไป (General Purpose Software) เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้ เพื่อใช้ใน
กำรทำงำนประเภทต่ำงๆ ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สำมำรถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สำมำรถ
ทำกำรดัดแปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้ ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเป็นกำรประหยัดเวลำ แรงงำน และ
ค่ำใช้จ่ำยในกำรเขียนโปรแกรม นอกจำกนี้ยังไม่ต้องเวลำมำกในกำรฝึกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสำเร็จรูปนี้มักจะมีกำรใช้
งำนในหน่วยงำน ซึ่งขำดบุคลำกรที่มีควำมชำนำญเป็นพิเศษในกำรเขียนโปรแกรม ดังนั้น กำรใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจึงเป็น
สิ่งที่อำนวยควำมสะดวกและเป็นประโยชน์อย่ำงยิ่ง ตัวอย่ำงโปรแกรมสำเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่ MS-Office, Lotus,
Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่ำงๆ เป็นต้น
3 บุคลากร ( Peopleware )
บุคลำกรจะเป็นสิ่งสำคัญที่จะเป็นตัวกำหนดถึงประสิทธิภำพถึงควำมสำเร็จและควำมคุ้มค่ำในกำรใช้งำน
คอมพิวเตอร์ ซึ่งสำมำรถแบ่งบุคลำกรตำมหน้ำที่เกี่ยวข้องตำมลักษณะงำนได้ 6 ด้ำน ดังนี้
3.1 นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (Systems Analyst and Designer : SA ) ทำหน้ำที่ศึกษำและรวบรวมควำม
ต้องกำรของผู้ใช้ระบบ และทำหน้ำที่เป็นสื่อกลำงระหว่ำงผู้ใช้ระบบและนักเขียนโปรแกรม (Programmer) หรือปรับปรุง
คุณภำพงำนเดิม นักวิเครำะห์ระบบต้องมีควำมรู้เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ พื้นฐำนกำรเขียนโปรแกรม และควรจะเป็นผู้
มีควำมคิดริเริ่มสร้ำงสรรค์มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี
3.2 โปรแกรมเมอร์ ( Programmer ) คือบุคคลที่ทำหน้ำที่เขียนซอฟต์แวร์ต่ำงๆ(Software )หรือเขียนโปรแกรมเพื่อ
สั่งงำนให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงำนตำมควำมต้องกำรของผู้ใช้ โดยเขียนตำมแผนผังที่นักวิเครำะห์ระบบได้เขียนไว้
3.3 ผู้ใช้ ( User ) เป็นผู้ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะเป็นผู้ปฏิบัติหรือกำหนดควำมต้องกำรในกำรใช้ระบบคอมพิวเตอร์ว่ำ
ทำงำนอะไรได้บ้ำง ผู้ใช้งำนคอมพิวเตอร์ทั่วไป จะต้องเรียนรู้วิธีกำรใช้เครื่อง และวิธีกำรใช้งำนโปรแกรม เพื่อให้
โปรแกรมที่มีอยู่สำมำรถทำงำนได้ตำมที่ต้องกำร
3.4 ผู้ปฏิบัติการ (Operator ) สำหรับระบบขนำดใหญ่ เช่น เมนเฟรม จะต้องมีเจ้ำหน้ำที่คอมพิวเตอร์ที่คอยปิดและ
เปิดเครื่อง และเฝ้ ำดูจอภำพเมื่อมีปัญหำซึ่งอำจเกิดขัดข้อง จะต้องแจ้ง System Programmer ซึ่งเป็นผู้ดูแลตรวจสอบ
แก้ไขโปรแกรมระบบควบคุมเครื่อง (System Software) อีกทีหนึ่ง
3.5 ผู้บริหารฐานข้อมูล ( Database Administrator : DBA ) กลุ่มบุคคลที่ทำหน้ำที่ดูแลข้อมูลผ่ำนระบบจัดกำร
ฐำนข้อมูล ซึ่งจะควบคุมให้กำรทำงำนเป็นไปอย่ำงรำบรื่น นอกจำกนี้ยังทำหน้ำที่กำหนดสิทธิกำรใช้งำนข้อมูล กำหนดใน
เรื่องควำมปลอดภัยของกำรใช้งำน พร้อมทั้งดูแลดำต้ำเบสเซิร์ฟเวอร์ (Database Server) ให้ทำงำนอย่ำงปกติด้วย
3.6 ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วำงนโยบำยกำรใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตำมเป้ ำหมำยของ
หน่วยงำน เป็นผู้ที่มีควำมหมำยต่อควำมสำเร็จหรือล้มเหลวของกำรนำระบบคอมพิวเตอร์เข้ำมำใช้งำนเป็นอย่ำงมำก
และแบ่งบุคลำกรออกเป็น 3 กลุ่มด้วยกัน มีดังนี้
1. กลุ่มผุ้ใช้งำนทั่วไป
ผู้ใช้งำนคอมพิวเตอร์ (User/End User) เป็นผู้ใช้งำนระดับต่ำสุด ไม่จำเป็นต้องมีควำมเชี่ยวชำญมำกนักก็ใช้งำนได้
โดยทำกำรศึกษำจะคู่มือกำรปฏิบัติงำนหรือคู่มือกำรใช้งำนโปรแกรมที่นำมำใช้
2. กลุ่มผู้เชี่ยวชำญ
- ช่ำงเทคนิคคอมพิวเตอร์ (Computer Operator/Computer Technician) คนกลุ่มนี้จะต้องมีทักษะและ
ประสบกำรณ์ในกำรแก้ปัญหำเฉพำะหน้ำได้เป็นอย่ำงดี ไม่ว่ำจะเป็นปัญหำทำงด้ำนฮำร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ก็ตำม
- นักวิเครำะห์ระบบ (System Analyst) มีหน้ำที่วิเครำะห์ควำมต้องกำรของผู้ใช้รวมไปถึงผู้บริหำรของหน่วยงำน
นั้นๆ ด้วย ว่ำต้องกำรระบบโปรแกรมหรือลักษณะงำนแบบไหน อย่ำงไร เพื่อจะพัฒนำระบบงำนให้ตรงตำมควำมต้องกำร
มำกที่สุด
- นักเขียนโปรแรกม (Programmer) จะอำศัยภำษำคอมพิวเตอร์ตำมที่ตนเองถนัด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับควำมเหมำะสม
และควำมซับซ้อนของลักษณะงำน ปกติแล้วจะมีหน้ำที่และตำแหน่งเรียกแตกต่ำงกันไป ขึ้นอยู่กับลักษณะงำนที่ปฏิบัติ
เช่น
1. web programmer หรือนักเขียนโปรแกรมบนเว็บไซต์
2. application programmer หรือนักเขียนโปรแกรมสำหรับใช้งำนเฉพำะอย่ำง
3. system programmer หรือนักเขียนโปรแรกมระบบ เป็นต้น
- วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineer) ทำหน้ำที่ในกำรวิเครำะห์และตรวจสอบซอฟต์แวร์ี่พัฒนำอย่ำงมีแบบ
แผน โดยอำศัยหลักกำรทำงวิศวกรรมศำสตร์มำช่วย เช่น วัดค่ำควำมซับซ้อนของซอฟต์แวร์ที่ทำว่ำใช้บรรทัดคำสั่ง (line
of code) ในกำรเขียนโปรแกรมมำกน้อยเพียงใด
- กลุ่มดูแลเน็ตเวิร์ก (Network Administrator) มีหน้ำที่ดูแลและบริหำรระบบเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ขององค์กร
จะต้องมีควำมชำนำญเกี่ยวกับระบบเครือข่ำยคอมพิวเตอร์เป็นอย่ำงดีและต้องมีทักษะในกำรแก้ไขปัญหำที่เกิดขึ้นได้อย่ำง
ทันท่วงที
3. กลุ่มผู้บริหำร
- ผู้บริหำรสูงสุดด้ำนสำรสนเทศและคอมพิวเตอร์ (CIO - Chief Information Officer) ทำหน้ำที่กำหนดทิศทำง
นโยบำยและแผนงำนทำงคอมพิวเตอร์ในองค์กรทั้งหมดว่ำควรเป็นไปในรูปแบบใด กำรขยำำยงำนทำงด้ำนธุรกิจของ
องค์กรที่รวดเร็ว ควรมีกำรปรับ เพิ่ม ลด องค์ประกอบทำงด้ำนคอมพิวเตอร์ส่วนใดอีกบ้ำง
- หัวหน้ำงำนด้ำนคอมพิวเตอร์ (Computer Center Manager/Information Technology Manager) เป็น
ผู้จัดกำรด้ำนคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสำรสนเทศขององค์กร มีหน้ำที่ดูแลและกำกับงำนทำงด้ำนคอมพิวเตอร์ให้บรรลุ
เป้ ำหมำยตำมแผนงำนและทิศทำงที่วำงไว้โดย CIO
4. ข้อมูลและสารสนเทศ
4.1 ข้อมูล (Data) หมำยถึง ข้อเท็จจริงหรือเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้น แล้วใช้ตัวเลขตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ ต่ำงๆ ทำ
ควำมหมำยแทนสิ่งเหล่ำนั้น เช่น
· คะแนนสอบวิชำภำษำไทยของนักเรียน
· อำยุของพนักงำนในบริษัทชินวัตรจำกัด
· รำคำขำยของหนังสือในร้ำนหนังสือดอกหญ้ำ
· คำตอบที่ผู้ถูกสำรวจตอบในแบบสอบถำม
4.2 สารสนเทศ (Information) หมำยถึง ข้อสรุปต่ำงๆ ที่ได้จำกกำรนำข้อมูลมำทำกำรวิเครำะห์ หรือผ่ำนวิธีกำรที่ ได้
กำหนดขึ้น ทั้งนี้เพื่อนำข้อสรุปไปใช้งำนหรืออ้ำงอิง เช่น
· เกรดเฉลี่ยของวิชำภำษำไทยของนักเรียน
· อำยุเฉลี่ยของพนักงำนในบริษัทชินวัตรจำกัด
· รำคำขำยสูงสุดของหนังสือในร้ำนหนังสือดอกหญ้ำ
· ข้อสรุปจำกกำรสำรวจคำตอบในแบบสอบถำม
ข้อมูลที่จะนำมำใช้กับคอมพิวเตอร์ได้นั้น โดยปกติจะต้องมีกำรแปลงรูปบบหรือสถำนะให้คอมพิวเตอร์เข้ำใจเสียก่อน ซึ่ง
สถำนะที่กล่ำวนี้คือ "สถำนะดิจิตอล" จะมี 2 สถำนะเท่ำนั้นคือ เปิด (1) และ ปิด (0)
ภาพ : สถำนะกำรทำงำนแบบดิจิตอลของคอมพิวเตอร์ในระบบเลขฐำนสอง
กลุ่มตัวเลขฐำนสองต่ำงๆ ที่นำเอำมำใช้นี้จะมีองค์กรที่กำหนดมำตรฐำนให้ใช้บนระบบคอมพิวเตอร์อยู่หลำย
มำตรฐำน หลำยองค์กร แต่ที่รู้จักกันดีและเป็นที่นิยมอย่ำงแพร่หลำยคือ มำตรฐำนของสถำบันมำตรฐำนแห่ง
สหรัฐอเมริกำร ที่เรียกว่ำ รหัสแอสกี (ASCII : American Standard Code for Information Interchange)
กระบวนการแปลงข้อมูล
ภาพ : กระบวนกำรแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบเลขฐำนสอง
หน่วยวัดความจุ
การนาข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์
กำรนำเข้ำข้อมูลในปัจจุบันแบ่งได้เป็น 2 วิธีด้วยกันคือ
วิธีที่ 1 กำรนำเข้ำโดยผ่ำนอุปกรณ์นำเข้ำ (Input Device)
- คีย์บอร์ด (keyboard) ป้ อนข้อมูลประเภทตัวอักษร ตัวเลขหรืออักขระพิเศษอื่นๆ
- สแกนเนอร์ (scanner) นำเข้ำข้อมูลประเภทภำพถ่ำย
- ไมโครโฟน (microphone) นำเข้ำข้อมูลประเภทเสียง
วิธีที่ 2 กำรนำเข้ำโดยใช้สื่อเก็บบันทึกข้อมูลสำรอง (Secondary Storage)
อำจดึงเอำข้อมูลที่ได้บันทึกหรือเก็บข้อมูลไว้ก่อนแล้วจำกสื่อบันทึกข้อมูลอย่ำงหนึ่งมำ เช่น ฮำร์ดดิสก์ ดิสเก็ตต์
หรือซีดี เป็นต้น
กิจกรรมและความสัมพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบ
ในกำรทำงำนจริงของระบบคอมพิวเตอร์ จะมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันระหว่ำงองค์ประกอบแต่ละส่วนอยู่เสมอ
กิจกรรมเหล่ำนี้จะเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่กำรนำเข้ำข้อมูล (input) จนถึงขั้นตอนกำรแสดงผลลัพธ์ (output)
ภาพ : ขั้นตอนของกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบแต่ละส่วน
พื้นฐานการทางานของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์โดยทั่วไปตำมแนวสถำปัตยกรรมของจอห์น วอน นิวแมนน์ ที่เน้นให้มีกำรติดตั้งชุดคำสั่ง
โปรแกรมเก็บไว้ในเครื่องได้นั้น(stored program concept) มีหลักกำรทำงำนซึ่งประกอบด้วยหน่วยที่เกี่ยวข้องแบ่งออก
ได้เป็น 5 หน่วยดั้งนี้
หน่วยประมวลผลกลำง(Central Processing Unit)
หน่วยควำมจำหลัก (Primary Storage)
หน่วยควำมจำสำรอง (Secondary Storage)
หน่วยรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output Unit)
ทำงเดินของระบบ (System Bus)
1. หน่วยประมวลผลกลาง (central processing unit)
ส่วนประกอบที่สำคัญภำยในของซีพียู แบ่งออกได้ดังนี้
1.หน่วยควบคุม (Control Unit)
2.หน่วยคำนวณและตรรกะ (ALU : Arithmetic and Logic Unit)
3. รีจิสเตอร์ (Register)
1. หน่วยควบคุม (Control Unit)ทำหน้ำที่ควบคุมกำรทำงำนของทุกๆหน่วยในซีพียูรวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงเริ่มตั้งแต่กำร
แปลคำสั่งที่ป้ อนเข้ำไป โดยกำรไปดึงคำสั่งและข้อมูลจำกหน่วยควำมจำมำแล้วแปลควำมหมำยของคำสั่งจำกนั้นส่ง
ควำมหมำยที่ได้ไปให้หน่วยคำนวณและตรรกะเพื่อคำนวณและตัดสินใจว่ำจะให้เก็บข้อมูลไว้ที่ใด
2. หน่วยคำนวณและตรรกะ (ALU : Arithmetic and Logic Unit)ทำ
หน้ำที่ในกำรคำนวณทำงคณิตศำสตร์ (arithmetic) เช่น กำรคูณ ลบ บวก
หำร เปรียบเทียบข้อมูลทำงตรรกศำสตร์ (logical) ว่ำเป็นจริงหรือเท็จ อำศัย
ตัวปฏิบัติกำรเปรียบเทียบพื้นฐำน 3 ค่ำ คือ มำกกว่ำ น้อยกว่ำและ เท่ำกับ
3. รีจิสเตอร์ (Register)
พื้นที่สำหรับเก็บพักข้อมูลชุดคำสั่ง ผลลัพธ์ และข้อมูลที่เกิดขึ้นขณะที่ซีพียูประมวลผลเพียงชั่วครำวไม่ถือว่ำเป็น
หน่วยควำมจำรับส่งข้อมูลด้วยควำมเร็วสูง และทำงำนภำยใต้กำรควบคุมของหน่วยควบคุมเช่นเดียวกับหน่วยอื่นๆ
รีจิสเตอร์ที่สาคัญโดยทั่วไป (อาจแตกต่างกันออกไปตามรุ่นของซีพียู) มีดังนี้
 Accumulate Register ใช้เก็บผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรคำนวณ
 Storage Register เก็บข้อมูลและคำสั่งชั่วครำวที่ผ่ำนจำกหน่วยควำมจำหลัก หรือรอส่งกลับไปที่หน่วยควำมจำ
หลัก
 Instruction Register ใช้เก็บคำสั่งในกำรประมวลผล
 Address Register บอกตำแหน่งของข้อมูลและคำสั่งในหน่วยควำมจำ
2. หน่วยความจาหลัก (primary storage)
ทำหน้ำที่เก็บข้อมูลและคำสั่งตลอดจนผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรประมวลผลของซีพียูเพียงชั่วครำวเช่นเดียวกันปกติจะมี
ตำแหน่งของกำรเก็บข้อมูลที่ไม่ซ้ำกันที่เรียกว่ำ “แอดเดรส” (address) ต่ำงจำกรีจิสเตอร์ตรงที่เป็นกำรเก็บมูลและคำสั่ง
เพื่อที่จะ เรียกใช้ได้ในอนำคตอันใกล้ (ไม่เหมือนกับรีจิสเตอร์ที่เป็นเพียงแหล่งพักข้อมูลซึ่งเกิดขึ้นขณะที่ซีพียูประมวลผล
เท่ำนั้น) แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
2.1 รอม (ROM : Read Only Memory) หน่วยควำมจำที่อ่ำนได้อย่ำงเดียว ไม่สำมำรถเขียนหรือบันทึกเพิ่มเติมได้ใช้
เก็บคำสั่งที่ใช้บ่อยและเป็นคำสั่งเฉพำะข้อมูลใน ROM จะอยู่กับเครื่องอย่ำงถำวร ถึงแม้ไฟจะดับหรือปิดเครื่องไปก็ไม่
สำมำรถทำให้ข้อมูลหรือคำสั่งในกำรทำงำนต่ำงๆหำยไปได้นิยมเรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำ nonvolatile memory มีหลำย
ชนิดเช่น PROM, EPROM, EEPROM เป็นต้น
2.2 แรม (RAM : Random Access Memory)หน่วยควำมจำที่จดจำข้อมูลคำสั่งในระหว่ำงที่ระบบกำลังทำงำนอยู่
สำมำรถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ตลอดเวลำหำกไฟดับหรือมีกำรปิดเครื่อง ข้อมูลในหน่วยควำมจำนี้จะถูกลบเลือนหำยไป
หมดนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่ำ volatile memoryมีหลำยชนิดเช่น SDRAM, DDR SDRAM, RDRAM
3. หน่วยความจาสารอง (Secondary Storage)
ใช้สำหรับเก็บและบันทึกข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์ เพื่อเรียกข้อมูลนั้นใช้ในภำยหลังได้ (เก็บไว้ใช้ได้ในอนำคต) มีหลำยชนิด
มำก เช่น
 ฮำร์ดดิสก์
 ฟล็อปปี้ดิสก์
 Flash Drive
 CD
 ฯลฯ
3. หน่วยรับข้อมูลและคาสั่ง (Input Unit) /หน่วยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit)
หน่วยรับข้อมูลและคำสั่ง (Input Unit) คอมพิวเตอร์ทั่วไปจะมีหน่วยรับข้อมูลและคำสั่งเข้ำสู่ระบบแปลงข้อมูลผ่ำน
อุปกรณ์นำข้อมูลเข้ำ เช่น คีย์บอร์ด เมำส์ สแกนเนอร์ เป็นต้นส่งต่อข้อมูลที่ป้ อนเข้ำให้กับส่วนของหน่วยประมวลผลกลำง
เพื่อทำหน้ำที่ตำมคำสั่งที่ได้รับมำหำกขำดส่วนรับข้อมูลและคำสั่ง มนุษย์จะไม่สำมำรถติดต่อสั่งงำนคอมพิวเตอร์ได้
หน่วยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit)แสดงผลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (เรียกว่ำ soft copy) เช่น จอภำพคอมพิวเตอร์หรือ
อยู่ในรูปแบบของ hard copy เช่น พิมพ์ออกมำเป็น กระดำษออกทำงเครื่องพิมพ์อำจอำศัยอุปกรณ์อื่นๆ เช่น ลำโพง
สำหรับกำรแสดงผลที่เป็นเสียงได้
4. ทางเดินระบบ (System Bus)
เส้นทำงผ่ำนของสัญญำณเพื่อให้อุปกรณ์ระหว่ำงหน่วยประมวลผลกลำงและหน่วยควำมจำในระบบสำมำรถเชื่อมต่อกัน
ได้เปรียบกับถนนที่ให้รถยนต์วิ่งไปยังสถำนที่ใดที่หนึ่ง หำกถนนกว้ำงหรือมีมำกเท่ำใด กำรส่งข้อมูลต่อครั้งก็ยิ่งเร็วและมำก
ขึ้นเท่ำนั้น
จำนวนเส้นทำงที่ใช้วิ่งบนทำงเดินระบบ เรียกว่ำ บิต (เปรียบเทียบได้กับเลนบนถนน)
วงรอบการทางานของซีพียู
โดยปกติหน่วยประมวลผลกลำงหรือซีพียูจะสำมำรถประมวลผลคำสั่งได้เพียงทีล่ะคำสั่งเท่ำนั้นแต่ก็ทำงำนด้วยควำมเร็ว
สูงมำก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับควำมเร็วของซีพียูด้วย เมื่อซีพียูทำงำนแต่ละคำสั่งจนหมดก็จะไปเรียกคำสั่งถัดไปมำประมวลผลต่อ
วนทำงำนแบบนี้ไปเรื่อยๆเรำเรียกกระบวนกำรนี้ว่ำ วงรอบกำรทำงำนของซีพียู หรือ machine cycle
จัดทำโดย ยุคนธร มณีพลอยเพ็ชร ม.6/1 เลขที่ 15
http://tps.comsci.info/programming/lesson1.htm
http://kongkoynoy.blogspot.com/2013/04/chapter-02-4-2.html
http://roomlearning.blogspot.com/2012/04/2.html
http://viriii41099.wordpress.com/2013/06/26/หน่วยกำรทำงำนของคอมพิว/

More Related Content

What's hot

งานใหม่3
งานใหม่3งานใหม่3
งานใหม่3kukkik1234
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีtee0533
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศFfurn Leawtakoon
 
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์Tieno Karan
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1mod2may
 
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์Nu Mai Praphatson
 
10690853 802176079875550 1375392355_n
10690853 802176079875550 1375392355_n10690853 802176079875550 1375392355_n
10690853 802176079875550 1375392355_nSumeth Tong-on
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศjanny5655
 
1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟท์แวร์และการเลือกใช้
1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟท์แวร์และการเลือกใช้1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟท์แวร์และการเลือกใช้
1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟท์แวร์และการเลือกใช้ครู อินดี้
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้ครู อินดี้
 
Software
SoftwareSoftware
Softwaresa
 

What's hot (18)

งานใหม่3
งานใหม่3งานใหม่3
งานใหม่3
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
Work3 48
Work3 48Work3 48
Work3 48
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1
 
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
10690853 802176079875550 1375392355_n
10690853 802176079875550 1375392355_n10690853 802176079875550 1375392355_n
10690853 802176079875550 1375392355_n
 
Lab
LabLab
Lab
 
Word3
Word3Word3
Word3
 
Work3 19
Work3 19Work3 19
Work3 19
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟท์แวร์และการเลือกใช้
1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟท์แวร์และการเลือกใช้1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟท์แวร์และการเลือกใช้
1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟท์แวร์และการเลือกใช้
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
Work3 41
Work3 41Work3 41
Work3 41
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 

Viewers also liked

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ranoopook
 
Multiprogramming&timesharing
Multiprogramming&timesharingMultiprogramming&timesharing
Multiprogramming&timesharingTanuj Tyagi
 
6 multiprogramming & time sharing
6 multiprogramming & time sharing6 multiprogramming & time sharing
6 multiprogramming & time sharingmyrajendra
 
Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1Nuth Otanasap
 

Viewers also liked (6)

B2
B2B2
B2
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
Multiprogramming&timesharing
Multiprogramming&timesharingMultiprogramming&timesharing
Multiprogramming&timesharing
 
6 multiprogramming & time sharing
6 multiprogramming & time sharing6 multiprogramming & time sharing
6 multiprogramming & time sharing
 
Multitasking
MultitaskingMultitasking
Multitasking
 
Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1
 

Similar to องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ Khunakon Thanatee
 
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์rungtip boontiengtam
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1Kriangx Ch
 
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ThanThai Sangwong
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ ComputerSPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์SPipe Pantaweesak
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์1
โปรแกรมคอมพิวเตอร์1โปรแกรมคอมพิวเตอร์1
โปรแกรมคอมพิวเตอร์1Worapod Khomkham
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์sapol tamgsongcharoen
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์sapol tamgsongcharoen
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Worapod Khomkham
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Worapod Khomkham
 
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์บทที่ 2 คอมพิวเตอร์
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์Nattapon
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net Saharat Yimpakdee
 

Similar to องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (20)

สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ
 
Software
Software Software
Software
 
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
 
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์1
โปรแกรมคอมพิวเตอร์1โปรแกรมคอมพิวเตอร์1
โปรแกรมคอมพิวเตอร์1
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
2p
2p2p
2p
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
Computer maintenance
Computer maintenanceComputer maintenance
Computer maintenance
 
Act1
Act1Act1
Act1
 
IT-2-55
IT-2-55IT-2-55
IT-2-55
 
Act1 m2-software
Act1 m2-softwareAct1 m2-software
Act1 m2-software
 
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์บทที่ 2 คอมพิวเตอร์
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net
 

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

  • 1. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ทำงำนอย่ำงเป็นระบบ (System) หมำยถึงภำยในระบบงำนคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย องค์ประกอบย่อยที่มีหน้ำที่เฉพำะ ทำงำนประสำนสัมพันธ์กัน เพื่อให้งำนบรรลุตำมเป้ ำหมำย ในระบบงำนคอมพิวเตอร์ กำรที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์เพียงอย่ำงเดียว จะยังไม่สำมำรถทำงำนได้ด้วยตัวเอง ซึ่งหำกจะให้คอมพิวเตอร์ทำงำนได้อย่ำง เป็นระบบและมีประสิทธิภำพแล้ว ระบบคอมพิวเตอร์ควรจะประกอบไปด้วยองค์ประกอบคือ บุคลำกร (Peopleware)ฮำร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) ข้อมูล(Data) สำรสนเทศ(Information) และ กระบวนกำรทำงำน ( Procedure ) 1. ฮาร์ดแวร์ ( Hardware ) ฮำร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบของตัวเครื่องที่สำมำรถจับต้องได้ ได้แก่ วงจรไฟฟ้ ำ ตัวเครื่อง จอภำพ เครื่องพิมพ์ คีร์บอร์ด เป็นต้นซึ่งสำมำรถแบ่งส่วนพื้นฐำนของฮำร์ดแวร์เป็น 4 หน่วยสำคัญ 1.1 หน่วยรับข้อมูลหรืออินพุต ( Input Unit) ทำหน้ำที่รับข้อมูลและโปรแกรมเข้ำ เครื่อง มีโครงสร้ำงดังรูป 1.3 ได้แก่ คีย์บอรืดหรือแป้ นพิมพ์ เมำส์ เครื่องสแกน เครื่องรูดบัตร Digitizer เป็นต้น 1.2 ระบบประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit) ทำหน้ำที่ในกำรทำงำนตำมคำสั่งที่ปรำกฏ อยู่ในโปรแกรม ปัจจุบันซีพียูของเครื่องพีซี รู้จักในนำมไมโครโปรเซสเซอร์ ( Micro Processor) หรือ Chip เช่น บริษัท Intelคือ Pentium หรือ Celelon ส่วนของบริษัท AMD คือ K6,K7(Athlon) เป็นต้น ไมโครโปรเซสเซอร์ มีหน้ำที่ ในกำรประมวลผลข้อมูล ในลักษณะของกำรคำนวณและเปรียบเทียบ โดยจะทำงำนตำมจังหวะเวลำที่แน่นอน เรียกว่ำ สัญญำณ Clock เมื่อมีกำรเคำะจังหวะหนึ่งครั้ง ก็จะเกิดกิจกรรม 1 ครั้ง เรำเรียกหน่วย ที่ใช้ในกำรวัดควำมเร็วของซีพียู ว่ำ “เฮิร์ท”(Herzt) หมำยถึงกำรทำงำนได้กี่ครั้งในจำนวน 1 วินำที เช่น ซีพียู Pentium4 มีควำมเร็ว 2.5 GHz หมำยถึง ทำงำนเร็ว 2,500 ล้ำนครั้ง ในหนึ่งวินำที กรณีที่สัญญำณ Clock เร็วก็จะทำให้คอมพิวเตอร์เครื่องนั้น มีควำมเร็วสูง และ ซีพียูที่ทำงำนเร็วมำก รำคำก็จะแพงขึ้นมำกตำมไปด้วย 1.3 หน่วยเก็บข้อมูล ( Storage ) ซึ่งสำมำรถแยกตำมหน้ำที่ได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1.3.1 หน่วยเก็บข้อมูลหลักหรือควำมจำหลัก ( Primary Storage หรือ Main Memory ) ทำหน้ำที่เก็บโปรแกรม หรือข้อมูลที่รับมำจำกหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งให้หน่วยประมวลผลกลำงทำกำรประมวลผล และรับผลลัพธ์ที่ได้จำก กำรประมวลผลเพื่อส่งออกหน่วยแสดงข้อมูลต่อไปซึ่งอำจแยกได้เป็น 2 ประเภท คือ RAM ( Random Access Memory ) ที่สำมำรถอ่ำนและเขียนข้อมูลได้ในขณะที่เปิดเครื่องอยู่ แต่เมื่อปิดเครื่องข้อมูลใน RAM จะหำยไป และ ROM ( Read Only Memory ) จะอ่ำนได้อย่ำงเดียว เช่น BIOS (Basic Input Output system) โปรแกรมฝังไว้ ใช้ตอนสตำร์ตเครื่อง เพื่อเครื่องคอมพิวเตอร์เริ่มต้นทำงำน เป็นต้น
  • 2. 1.3.2 หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง ( Secondary Storage ) เป็นหน่วยที่ทำหน้ำที่เก็บข้อมูล หรือโปรแกรมที่จะป้ อนเข้ำสู่ หน่วยควำมจำหลักภำยในเครื่องก่อนทำกำรประมวลผลโดยซีพียู รวมทั้งเป็นที่เก็บผลลัพธ์จำกกำรประมวลผลด้วย ปัจจุบันรู้จักในนำมฮำร์ดดิสก์ (Hard disk) หรือแผ่นฟร็อปปีดิสก์ (Floppy Disk) ซึ่งเมื่อปิดเครื่องข้อมูลจะยังคงเก็บอยู่ 1.4 หน่วยแสดงข้อมูลหรือเอาต์พุต ( Output Unit ) ทำหน้ำที่ในกำรแสดงผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรประมวลผล ได้แก่ จอภำพ และเครื่องพิมพ์ เป็นต้น ทั้ง 4 ส่วนจะเชื่อมต่อกันด้วยบัส ( Bus ) 2 ซอฟต์แวร์ ( Software ) ซอฟต์แวร์ คือโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง ที่สั่งให้ฮำร์ดแวร์ทำงำน รวมไปถึงกำรควบคุมกำรทำงำน ของอุปกรณ์แวดล้อมต่ำงๆ เช่น ฮำร์ดดิสก์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม กำร์ดอินเตอร์เฟสต่ำง ๆ เป็นต้น ซอฟต์แวร์ เป็นสิ่งที่มองไม่เห็นจับต้องไม่ได้ แต่รับรู้กำร ทำงำนของมันได้ ซึ่งต่ำงกับ ฮำร์ดแวร์ (Hardware) ที่สำมำรถจับต้องได้ ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ ( System Software ) คือโปรแกรม ที่ใช้ในกำรควบคุมระบบกำร ทำงำนของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งหมด เช่น กำรบูตเครื่อง กำรสำเนำข้อมูล กำรจัดกำรระบบของดิสก์ ชุดคำสั่งที่เขียนเป็นคำสั่งสำเร็จรูป โดยผู้ผลิตเครื่อง คอมพิวเตอร์ และมีมำพร้อมแล้วจำกโรงงำนผลิต กำรทำงำนหรือกำรประมวลผล ของซอฟต์แวร์เหล่ำนี้ขึ้นกับเครื่อง คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ระบบของซอฟต์แวร์เหล่ำนี้ออกแบบมำเพื่อกำรปฏิบัติควบคุม และมีควำมสำมำรถในกำร ยืดหยุ่น กำรประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 4 ประเภทคือ 2.1.1 โปรแกรมระบบปฏิบัติกำร (Operating System) เป็นโปรแกรมที่ใช้ควบคุม และติดต่อกับอุปกรณ์ต่ำง ๆ ของ เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยเฉพำะกำรจัดกำรระบบของดิสก์ กำรบริหำรหน่วยควำมจำของระบบ กล่ำวโดยสรุปคือ หำกจะ ทำงำนใดงำนหนึ่ง โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ ในกำรทำงำน แล้วจะต้องติดต่อกับซอฟต์แวร์ระบบก่อน ถ้ำขำด ซอฟต์แวร์ชนิดนี้จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ไม่สำมำรถทำงำนได้ ตัวอย่ำงของซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ โปรแกรม ระบบปฏิบัติกำร Unix Linux DOS และWindows (เวอร์ชั่นต่ำง ๆ เช่น 95 98 me 2000 NT XP Vista ) เป็นต้น 2.1.2 ตัวแปลภำษำ (Translator) จำก Source Code ให้เป็น Object Code (แปลจำกภำษำที่มนุษย์เข้ำใจ ให้เป็นภำษำที่เครื่องเข้ำใจ เปรียบเสมือนล่ำมแปลภำษำ) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในกำรแปลภำษำระดับสูง ซึ่ง เป็นภำษำ ใกล้เคียงภำษำมนุษย์ ให้เป็นภำษำเครื่องก่อนที่จะนำไปประมวลผล ตัวแปลภำษำแบ่งออกเป็นสองประเภทคือ คอมไพเลอร์ (Compiler) และอินเตอร์พีทเตอร์ (Interpeter) คอมไพเลอร์จะแปลคำสั่งในโปรแกรมทั้งหมดก่อน แล้วทำ กำรลิ้ง (Link) เพื่อให้ได้คำสั่งที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้ำใจ ส่วนอินเตอร์พีทเตอร์จะแปลทีละประโยคคำสั่ง แล้วทำงำนตำม ประโยคคำสั่งนั้น กำรจะเลือกใช้ตัวแปลภำษำแบบใดนั้น จะขึ้นอยู่กับภำษำที่ใช้ในกำรเขียนโปรแกรม ซึ่งมี 2 แบบได้แก่ ภำษำแบบโครงสร้ำง เช่น ภำษำเบสิก (Basic) ภำษำปำสคำล (Pascal) ภำษำซี (C) ภำษำจำวำ(Java)ภำษำโคบอล
  • 3. (Cobol) ภำษำ SQL ภำษำ HTML เป็นต้น ภำษำแบบเชิงวัตถุ (Visual หรือ Object Oriented Programming) เช่น Visual Basic,Visual C หรือ Delphi เป็นต้น 2.1.3 ยูติลิตี้โปรแกรม (Utility Program) คือซอฟต์แวร์เสริมช่วยให้เครื่องทำงำนมีประสิทธิภำพ มำกขึ้น เช่น ช่วยใน กำรตรวจสอบดิสก์ ช่วยในกำรจัดเก็บข้อมูลในดิสก์ ช่วยสำเนำข้อมูล ช่วยซ่อมอำกำรชำรุดของดิสก์ ช่วยค้นหำและกำจัด ไวรัส ฯลฯ เป็นต้นโปรแกรมในกลุ่มนี้ได้แก่ โปรแกรม Norton Winzip Scan virus Sidekick Scandisk Screen Saver ฯลฯ เป็นต้น 2.1.4 ติดตั้งและปรับปรุงระบบ (Diagonostic Program) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในกำรติดตั้งระบบ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ สำมำรถติดต่อและใช้งำนอุปกรณ์ต่ำง ๆ ที่นำมำติดตั้งระบบ ได้แก่ โปรแกรม Setupและ Driver ต่ำง ๆ เช่น โปรแกรม Setup Microsoft Office โปรแกรม Driver Sound , Driver Printer , Driver Scanner ฯลฯ เป็นต้น 2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงำนต่ำงๆ ตำมที่ผู้ใช้ต้องกำร ไม่ว่ำจะด้ำนเอกสำร บัญชี กำรจัดเก็บ ข้อมูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สำมำรถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ 2.2.1 ซอฟต์แวร์สำหรับงำนเฉพำะด้ำน (Special Purpose Software) คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อกำรทำงำน เฉพำะอย่ำงที่เรำต้องกำร บำงที่เรียกว่ำ User’s Program เช่น โปรแกรมกำรทำบัญชีจ่ำยเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่ำซื้อ โปรแกรมกำรทำสินค้ำคงคลัง เป็นต้น ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอร์มแตกต่ำงกันออกไปตำมควำม ต้องกำร หรือกฏเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงำนที่ใช้ ซึ่งสำมำรถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบำงส่วนของ โปรแกรมได้ เพื่อให้ตรงกับควำมต้องกำรของผู้ใช้ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภำษำระดับสูง เป็นตัวพัฒนำ 2.2.2 ซอฟต์แวร์สำหรับงำนทั่วไป (General Purpose Software) เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้ เพื่อใช้ใน กำรทำงำนประเภทต่ำงๆ ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สำมำรถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สำมำรถ ทำกำรดัดแปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้ ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเป็นกำรประหยัดเวลำ แรงงำน และ ค่ำใช้จ่ำยในกำรเขียนโปรแกรม นอกจำกนี้ยังไม่ต้องเวลำมำกในกำรฝึกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสำเร็จรูปนี้มักจะมีกำรใช้ งำนในหน่วยงำน ซึ่งขำดบุคลำกรที่มีควำมชำนำญเป็นพิเศษในกำรเขียนโปรแกรม ดังนั้น กำรใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจึงเป็น สิ่งที่อำนวยควำมสะดวกและเป็นประโยชน์อย่ำงยิ่ง ตัวอย่ำงโปรแกรมสำเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่ MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่ำงๆ เป็นต้น
  • 4. 3 บุคลากร ( Peopleware ) บุคลำกรจะเป็นสิ่งสำคัญที่จะเป็นตัวกำหนดถึงประสิทธิภำพถึงควำมสำเร็จและควำมคุ้มค่ำในกำรใช้งำน คอมพิวเตอร์ ซึ่งสำมำรถแบ่งบุคลำกรตำมหน้ำที่เกี่ยวข้องตำมลักษณะงำนได้ 6 ด้ำน ดังนี้ 3.1 นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (Systems Analyst and Designer : SA ) ทำหน้ำที่ศึกษำและรวบรวมควำม ต้องกำรของผู้ใช้ระบบ และทำหน้ำที่เป็นสื่อกลำงระหว่ำงผู้ใช้ระบบและนักเขียนโปรแกรม (Programmer) หรือปรับปรุง คุณภำพงำนเดิม นักวิเครำะห์ระบบต้องมีควำมรู้เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ พื้นฐำนกำรเขียนโปรแกรม และควรจะเป็นผู้ มีควำมคิดริเริ่มสร้ำงสรรค์มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี 3.2 โปรแกรมเมอร์ ( Programmer ) คือบุคคลที่ทำหน้ำที่เขียนซอฟต์แวร์ต่ำงๆ(Software )หรือเขียนโปรแกรมเพื่อ สั่งงำนให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงำนตำมควำมต้องกำรของผู้ใช้ โดยเขียนตำมแผนผังที่นักวิเครำะห์ระบบได้เขียนไว้ 3.3 ผู้ใช้ ( User ) เป็นผู้ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะเป็นผู้ปฏิบัติหรือกำหนดควำมต้องกำรในกำรใช้ระบบคอมพิวเตอร์ว่ำ ทำงำนอะไรได้บ้ำง ผู้ใช้งำนคอมพิวเตอร์ทั่วไป จะต้องเรียนรู้วิธีกำรใช้เครื่อง และวิธีกำรใช้งำนโปรแกรม เพื่อให้ โปรแกรมที่มีอยู่สำมำรถทำงำนได้ตำมที่ต้องกำร 3.4 ผู้ปฏิบัติการ (Operator ) สำหรับระบบขนำดใหญ่ เช่น เมนเฟรม จะต้องมีเจ้ำหน้ำที่คอมพิวเตอร์ที่คอยปิดและ เปิดเครื่อง และเฝ้ ำดูจอภำพเมื่อมีปัญหำซึ่งอำจเกิดขัดข้อง จะต้องแจ้ง System Programmer ซึ่งเป็นผู้ดูแลตรวจสอบ แก้ไขโปรแกรมระบบควบคุมเครื่อง (System Software) อีกทีหนึ่ง 3.5 ผู้บริหารฐานข้อมูล ( Database Administrator : DBA ) กลุ่มบุคคลที่ทำหน้ำที่ดูแลข้อมูลผ่ำนระบบจัดกำร ฐำนข้อมูล ซึ่งจะควบคุมให้กำรทำงำนเป็นไปอย่ำงรำบรื่น นอกจำกนี้ยังทำหน้ำที่กำหนดสิทธิกำรใช้งำนข้อมูล กำหนดใน เรื่องควำมปลอดภัยของกำรใช้งำน พร้อมทั้งดูแลดำต้ำเบสเซิร์ฟเวอร์ (Database Server) ให้ทำงำนอย่ำงปกติด้วย 3.6 ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วำงนโยบำยกำรใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตำมเป้ ำหมำยของ หน่วยงำน เป็นผู้ที่มีควำมหมำยต่อควำมสำเร็จหรือล้มเหลวของกำรนำระบบคอมพิวเตอร์เข้ำมำใช้งำนเป็นอย่ำงมำก และแบ่งบุคลำกรออกเป็น 3 กลุ่มด้วยกัน มีดังนี้ 1. กลุ่มผุ้ใช้งำนทั่วไป ผู้ใช้งำนคอมพิวเตอร์ (User/End User) เป็นผู้ใช้งำนระดับต่ำสุด ไม่จำเป็นต้องมีควำมเชี่ยวชำญมำกนักก็ใช้งำนได้ โดยทำกำรศึกษำจะคู่มือกำรปฏิบัติงำนหรือคู่มือกำรใช้งำนโปรแกรมที่นำมำใช้ 2. กลุ่มผู้เชี่ยวชำญ
  • 5. - ช่ำงเทคนิคคอมพิวเตอร์ (Computer Operator/Computer Technician) คนกลุ่มนี้จะต้องมีทักษะและ ประสบกำรณ์ในกำรแก้ปัญหำเฉพำะหน้ำได้เป็นอย่ำงดี ไม่ว่ำจะเป็นปัญหำทำงด้ำนฮำร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ก็ตำม - นักวิเครำะห์ระบบ (System Analyst) มีหน้ำที่วิเครำะห์ควำมต้องกำรของผู้ใช้รวมไปถึงผู้บริหำรของหน่วยงำน นั้นๆ ด้วย ว่ำต้องกำรระบบโปรแกรมหรือลักษณะงำนแบบไหน อย่ำงไร เพื่อจะพัฒนำระบบงำนให้ตรงตำมควำมต้องกำร มำกที่สุด - นักเขียนโปรแรกม (Programmer) จะอำศัยภำษำคอมพิวเตอร์ตำมที่ตนเองถนัด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับควำมเหมำะสม และควำมซับซ้อนของลักษณะงำน ปกติแล้วจะมีหน้ำที่และตำแหน่งเรียกแตกต่ำงกันไป ขึ้นอยู่กับลักษณะงำนที่ปฏิบัติ เช่น 1. web programmer หรือนักเขียนโปรแกรมบนเว็บไซต์ 2. application programmer หรือนักเขียนโปรแกรมสำหรับใช้งำนเฉพำะอย่ำง 3. system programmer หรือนักเขียนโปรแรกมระบบ เป็นต้น - วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineer) ทำหน้ำที่ในกำรวิเครำะห์และตรวจสอบซอฟต์แวร์ี่พัฒนำอย่ำงมีแบบ แผน โดยอำศัยหลักกำรทำงวิศวกรรมศำสตร์มำช่วย เช่น วัดค่ำควำมซับซ้อนของซอฟต์แวร์ที่ทำว่ำใช้บรรทัดคำสั่ง (line of code) ในกำรเขียนโปรแกรมมำกน้อยเพียงใด - กลุ่มดูแลเน็ตเวิร์ก (Network Administrator) มีหน้ำที่ดูแลและบริหำรระบบเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ขององค์กร จะต้องมีควำมชำนำญเกี่ยวกับระบบเครือข่ำยคอมพิวเตอร์เป็นอย่ำงดีและต้องมีทักษะในกำรแก้ไขปัญหำที่เกิดขึ้นได้อย่ำง ทันท่วงที 3. กลุ่มผู้บริหำร - ผู้บริหำรสูงสุดด้ำนสำรสนเทศและคอมพิวเตอร์ (CIO - Chief Information Officer) ทำหน้ำที่กำหนดทิศทำง นโยบำยและแผนงำนทำงคอมพิวเตอร์ในองค์กรทั้งหมดว่ำควรเป็นไปในรูปแบบใด กำรขยำำยงำนทำงด้ำนธุรกิจของ องค์กรที่รวดเร็ว ควรมีกำรปรับ เพิ่ม ลด องค์ประกอบทำงด้ำนคอมพิวเตอร์ส่วนใดอีกบ้ำง - หัวหน้ำงำนด้ำนคอมพิวเตอร์ (Computer Center Manager/Information Technology Manager) เป็น ผู้จัดกำรด้ำนคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสำรสนเทศขององค์กร มีหน้ำที่ดูแลและกำกับงำนทำงด้ำนคอมพิวเตอร์ให้บรรลุ เป้ ำหมำยตำมแผนงำนและทิศทำงที่วำงไว้โดย CIO
  • 6. 4. ข้อมูลและสารสนเทศ 4.1 ข้อมูล (Data) หมำยถึง ข้อเท็จจริงหรือเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้น แล้วใช้ตัวเลขตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ ต่ำงๆ ทำ ควำมหมำยแทนสิ่งเหล่ำนั้น เช่น · คะแนนสอบวิชำภำษำไทยของนักเรียน · อำยุของพนักงำนในบริษัทชินวัตรจำกัด · รำคำขำยของหนังสือในร้ำนหนังสือดอกหญ้ำ · คำตอบที่ผู้ถูกสำรวจตอบในแบบสอบถำม 4.2 สารสนเทศ (Information) หมำยถึง ข้อสรุปต่ำงๆ ที่ได้จำกกำรนำข้อมูลมำทำกำรวิเครำะห์ หรือผ่ำนวิธีกำรที่ ได้ กำหนดขึ้น ทั้งนี้เพื่อนำข้อสรุปไปใช้งำนหรืออ้ำงอิง เช่น · เกรดเฉลี่ยของวิชำภำษำไทยของนักเรียน · อำยุเฉลี่ยของพนักงำนในบริษัทชินวัตรจำกัด · รำคำขำยสูงสุดของหนังสือในร้ำนหนังสือดอกหญ้ำ · ข้อสรุปจำกกำรสำรวจคำตอบในแบบสอบถำม ข้อมูลที่จะนำมำใช้กับคอมพิวเตอร์ได้นั้น โดยปกติจะต้องมีกำรแปลงรูปบบหรือสถำนะให้คอมพิวเตอร์เข้ำใจเสียก่อน ซึ่ง สถำนะที่กล่ำวนี้คือ "สถำนะดิจิตอล" จะมี 2 สถำนะเท่ำนั้นคือ เปิด (1) และ ปิด (0) ภาพ : สถำนะกำรทำงำนแบบดิจิตอลของคอมพิวเตอร์ในระบบเลขฐำนสอง
  • 7. กลุ่มตัวเลขฐำนสองต่ำงๆ ที่นำเอำมำใช้นี้จะมีองค์กรที่กำหนดมำตรฐำนให้ใช้บนระบบคอมพิวเตอร์อยู่หลำย มำตรฐำน หลำยองค์กร แต่ที่รู้จักกันดีและเป็นที่นิยมอย่ำงแพร่หลำยคือ มำตรฐำนของสถำบันมำตรฐำนแห่ง สหรัฐอเมริกำร ที่เรียกว่ำ รหัสแอสกี (ASCII : American Standard Code for Information Interchange) กระบวนการแปลงข้อมูล ภาพ : กระบวนกำรแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบเลขฐำนสอง หน่วยวัดความจุ
  • 8. การนาข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ กำรนำเข้ำข้อมูลในปัจจุบันแบ่งได้เป็น 2 วิธีด้วยกันคือ วิธีที่ 1 กำรนำเข้ำโดยผ่ำนอุปกรณ์นำเข้ำ (Input Device) - คีย์บอร์ด (keyboard) ป้ อนข้อมูลประเภทตัวอักษร ตัวเลขหรืออักขระพิเศษอื่นๆ - สแกนเนอร์ (scanner) นำเข้ำข้อมูลประเภทภำพถ่ำย - ไมโครโฟน (microphone) นำเข้ำข้อมูลประเภทเสียง วิธีที่ 2 กำรนำเข้ำโดยใช้สื่อเก็บบันทึกข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) อำจดึงเอำข้อมูลที่ได้บันทึกหรือเก็บข้อมูลไว้ก่อนแล้วจำกสื่อบันทึกข้อมูลอย่ำงหนึ่งมำ เช่น ฮำร์ดดิสก์ ดิสเก็ตต์ หรือซีดี เป็นต้น กิจกรรมและความสัมพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบ ในกำรทำงำนจริงของระบบคอมพิวเตอร์ จะมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันระหว่ำงองค์ประกอบแต่ละส่วนอยู่เสมอ กิจกรรมเหล่ำนี้จะเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่กำรนำเข้ำข้อมูล (input) จนถึงขั้นตอนกำรแสดงผลลัพธ์ (output) ภาพ : ขั้นตอนของกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบแต่ละส่วน พื้นฐานการทางานของคอมพิวเตอร์
  • 9. คอมพิวเตอร์โดยทั่วไปตำมแนวสถำปัตยกรรมของจอห์น วอน นิวแมนน์ ที่เน้นให้มีกำรติดตั้งชุดคำสั่ง โปรแกรมเก็บไว้ในเครื่องได้นั้น(stored program concept) มีหลักกำรทำงำนซึ่งประกอบด้วยหน่วยที่เกี่ยวข้องแบ่งออก ได้เป็น 5 หน่วยดั้งนี้ หน่วยประมวลผลกลำง(Central Processing Unit) หน่วยควำมจำหลัก (Primary Storage) หน่วยควำมจำสำรอง (Secondary Storage) หน่วยรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output Unit) ทำงเดินของระบบ (System Bus) 1. หน่วยประมวลผลกลาง (central processing unit) ส่วนประกอบที่สำคัญภำยในของซีพียู แบ่งออกได้ดังนี้ 1.หน่วยควบคุม (Control Unit) 2.หน่วยคำนวณและตรรกะ (ALU : Arithmetic and Logic Unit) 3. รีจิสเตอร์ (Register)
  • 10. 1. หน่วยควบคุม (Control Unit)ทำหน้ำที่ควบคุมกำรทำงำนของทุกๆหน่วยในซีพียูรวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงเริ่มตั้งแต่กำร แปลคำสั่งที่ป้ อนเข้ำไป โดยกำรไปดึงคำสั่งและข้อมูลจำกหน่วยควำมจำมำแล้วแปลควำมหมำยของคำสั่งจำกนั้นส่ง ควำมหมำยที่ได้ไปให้หน่วยคำนวณและตรรกะเพื่อคำนวณและตัดสินใจว่ำจะให้เก็บข้อมูลไว้ที่ใด 2. หน่วยคำนวณและตรรกะ (ALU : Arithmetic and Logic Unit)ทำ หน้ำที่ในกำรคำนวณทำงคณิตศำสตร์ (arithmetic) เช่น กำรคูณ ลบ บวก หำร เปรียบเทียบข้อมูลทำงตรรกศำสตร์ (logical) ว่ำเป็นจริงหรือเท็จ อำศัย ตัวปฏิบัติกำรเปรียบเทียบพื้นฐำน 3 ค่ำ คือ มำกกว่ำ น้อยกว่ำและ เท่ำกับ 3. รีจิสเตอร์ (Register) พื้นที่สำหรับเก็บพักข้อมูลชุดคำสั่ง ผลลัพธ์ และข้อมูลที่เกิดขึ้นขณะที่ซีพียูประมวลผลเพียงชั่วครำวไม่ถือว่ำเป็น หน่วยควำมจำรับส่งข้อมูลด้วยควำมเร็วสูง และทำงำนภำยใต้กำรควบคุมของหน่วยควบคุมเช่นเดียวกับหน่วยอื่นๆ รีจิสเตอร์ที่สาคัญโดยทั่วไป (อาจแตกต่างกันออกไปตามรุ่นของซีพียู) มีดังนี้  Accumulate Register ใช้เก็บผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรคำนวณ  Storage Register เก็บข้อมูลและคำสั่งชั่วครำวที่ผ่ำนจำกหน่วยควำมจำหลัก หรือรอส่งกลับไปที่หน่วยควำมจำ หลัก  Instruction Register ใช้เก็บคำสั่งในกำรประมวลผล  Address Register บอกตำแหน่งของข้อมูลและคำสั่งในหน่วยควำมจำ 2. หน่วยความจาหลัก (primary storage) ทำหน้ำที่เก็บข้อมูลและคำสั่งตลอดจนผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรประมวลผลของซีพียูเพียงชั่วครำวเช่นเดียวกันปกติจะมี ตำแหน่งของกำรเก็บข้อมูลที่ไม่ซ้ำกันที่เรียกว่ำ “แอดเดรส” (address) ต่ำงจำกรีจิสเตอร์ตรงที่เป็นกำรเก็บมูลและคำสั่ง เพื่อที่จะ เรียกใช้ได้ในอนำคตอันใกล้ (ไม่เหมือนกับรีจิสเตอร์ที่เป็นเพียงแหล่งพักข้อมูลซึ่งเกิดขึ้นขณะที่ซีพียูประมวลผล เท่ำนั้น) แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 2.1 รอม (ROM : Read Only Memory) หน่วยควำมจำที่อ่ำนได้อย่ำงเดียว ไม่สำมำรถเขียนหรือบันทึกเพิ่มเติมได้ใช้ เก็บคำสั่งที่ใช้บ่อยและเป็นคำสั่งเฉพำะข้อมูลใน ROM จะอยู่กับเครื่องอย่ำงถำวร ถึงแม้ไฟจะดับหรือปิดเครื่องไปก็ไม่ สำมำรถทำให้ข้อมูลหรือคำสั่งในกำรทำงำนต่ำงๆหำยไปได้นิยมเรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำ nonvolatile memory มีหลำย ชนิดเช่น PROM, EPROM, EEPROM เป็นต้น 2.2 แรม (RAM : Random Access Memory)หน่วยควำมจำที่จดจำข้อมูลคำสั่งในระหว่ำงที่ระบบกำลังทำงำนอยู่ สำมำรถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ตลอดเวลำหำกไฟดับหรือมีกำรปิดเครื่อง ข้อมูลในหน่วยควำมจำนี้จะถูกลบเลือนหำยไป หมดนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่ำ volatile memoryมีหลำยชนิดเช่น SDRAM, DDR SDRAM, RDRAM
  • 11. 3. หน่วยความจาสารอง (Secondary Storage) ใช้สำหรับเก็บและบันทึกข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์ เพื่อเรียกข้อมูลนั้นใช้ในภำยหลังได้ (เก็บไว้ใช้ได้ในอนำคต) มีหลำยชนิด มำก เช่น  ฮำร์ดดิสก์  ฟล็อปปี้ดิสก์  Flash Drive  CD  ฯลฯ 3. หน่วยรับข้อมูลและคาสั่ง (Input Unit) /หน่วยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit) หน่วยรับข้อมูลและคำสั่ง (Input Unit) คอมพิวเตอร์ทั่วไปจะมีหน่วยรับข้อมูลและคำสั่งเข้ำสู่ระบบแปลงข้อมูลผ่ำน อุปกรณ์นำข้อมูลเข้ำ เช่น คีย์บอร์ด เมำส์ สแกนเนอร์ เป็นต้นส่งต่อข้อมูลที่ป้ อนเข้ำให้กับส่วนของหน่วยประมวลผลกลำง เพื่อทำหน้ำที่ตำมคำสั่งที่ได้รับมำหำกขำดส่วนรับข้อมูลและคำสั่ง มนุษย์จะไม่สำมำรถติดต่อสั่งงำนคอมพิวเตอร์ได้ หน่วยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit)แสดงผลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (เรียกว่ำ soft copy) เช่น จอภำพคอมพิวเตอร์หรือ อยู่ในรูปแบบของ hard copy เช่น พิมพ์ออกมำเป็น กระดำษออกทำงเครื่องพิมพ์อำจอำศัยอุปกรณ์อื่นๆ เช่น ลำโพง สำหรับกำรแสดงผลที่เป็นเสียงได้ 4. ทางเดินระบบ (System Bus) เส้นทำงผ่ำนของสัญญำณเพื่อให้อุปกรณ์ระหว่ำงหน่วยประมวลผลกลำงและหน่วยควำมจำในระบบสำมำรถเชื่อมต่อกัน ได้เปรียบกับถนนที่ให้รถยนต์วิ่งไปยังสถำนที่ใดที่หนึ่ง หำกถนนกว้ำงหรือมีมำกเท่ำใด กำรส่งข้อมูลต่อครั้งก็ยิ่งเร็วและมำก ขึ้นเท่ำนั้น จำนวนเส้นทำงที่ใช้วิ่งบนทำงเดินระบบ เรียกว่ำ บิต (เปรียบเทียบได้กับเลนบนถนน) วงรอบการทางานของซีพียู โดยปกติหน่วยประมวลผลกลำงหรือซีพียูจะสำมำรถประมวลผลคำสั่งได้เพียงทีล่ะคำสั่งเท่ำนั้นแต่ก็ทำงำนด้วยควำมเร็ว สูงมำก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับควำมเร็วของซีพียูด้วย เมื่อซีพียูทำงำนแต่ละคำสั่งจนหมดก็จะไปเรียกคำสั่งถัดไปมำประมวลผลต่อ วนทำงำนแบบนี้ไปเรื่อยๆเรำเรียกกระบวนกำรนี้ว่ำ วงรอบกำรทำงำนของซีพียู หรือ machine cycle จัดทำโดย ยุคนธร มณีพลอยเพ็ชร ม.6/1 เลขที่ 15