SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
ใบความรู้
                                 เรื่ององค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
        ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ 5 ส่ วนด้วยกัน คือ




                                    องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
           ฮาร์ ดแวร์ (Hardware)
           คือลักษณะทางกายของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมายถึงตัวเครื่ องคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์รอบข้าง
(peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ ดดิสก์ เครื่ องพิมพ์ เป็ นต้น ฮาร์ ดแวร์ประกอบด้วย      หน่วยรับข้อมูล (
input unit )
                         หน่วยประมวลผลกลาง หรื อ CPU
                         หน่วยความจาหลัก
                         หน่วยแสดงผลลัพธ์
                         หน่วยเก็บข้อมูลสารอง
           หน่วยรับข้อมูล จะเป็ นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับข้อมูลต่าง ๆ เข้าสู่ คอมพิวเตอร์ จากนั้น หน่วย
ประมวลผลกลาง จะนาไปประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมากให้ผใช้รับทราบทาง หน่วยแสดงู้
ผลลัพธ์
           หน่วยความจาหลัก จะทาหน้าที่เสมือนเก็บข้อมูลชัวคราวที่มีขนาดไม่สูงมากนัก การที่ฮาร์ดแวร์ จะ
                                                                   ่
                                         ่ ั
ทาหน้าที่ได้มีประสิ ทธิ ภาพนั้น ขึ้นอยูกบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ ส่ วนการทางานได้มากน้อยเพียงใด จะ
       ่ ั
ขึ้นอยูกบหน่วยความจาหลักของเครื่ องนั้น ๆ ข้อเสี ยของหน่วยความจาหลักคือ หากปิ ดเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่
     ่                                                        ่
อยูในหน่วยความจาหลักจะหายไป ในขณะที่ขอมูลอยูที่ หน่วยเก็บข้อมูลสารอง จะไม่สูญหายตราบเท่าที่
                                                     ้
ผูใช้ไม่ทาการลบข้อมูลนั้น รวมทั้งหน่วยเก็บข้อมูลสารองยังมีความจุที่สูงมาก จึงเหมาะสาหรับการเก็บ
   ้
ข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ หรื อเก็บข้อมูลไว้ใช้ในภายหลัง ข้อเสี ยของหน่วยเก็บข้อมูลสารอง คือ การเรี ยกใช้
ข้อมูลจะช้ากว่าหน่วยความจาหลักมาก
ฮาร์ดแวร์ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์
         ซอฟต์ แวร์ (Software)
         คอมพิวเตอร์ ฮาร์ ดแวร์ ที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทางานใดๆ เนื่องจากต้องมี
ซอฟต์แวร์ (Software) ซึ่ งเป็ นชุดคาสังหรื อโปรแกรมที่สังให้ฮาร์ ดแวร์ ทางานต่าง ๆ ตามต้องการ โดย
                                      ่                 ่
ชุดคาสั่งหรื อโปรแกรมนั้นจะเขียนขึ้นมาจาก ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ภาษาใดภาษา
หนึ่ง และมี โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรื อนักเขียนโปรแกรมเป็ นผูใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ เหล่านั้นเขียน
                                                                        ้
ซอฟต์แวร์ ต่าง ๆ ขึ้นมา ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็ นสองประเภทใหญ่ๆคือ ซอฟต์แวร์ระบบ (System
Software ) และ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software )




        ซอฟต์แวร์ระบบ โดยส่ วนมากแล้วจะติดตั้งมากับเครื่ องคอมพิวเตอร์ เนื่ องจากซอฟต์แวร์ ระบบเป็ น
ส่ วนควบคุมทางานต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถเริ่ มต้นการทางานอื่น ๆ ที่ผใช้ตองการได้ต่อไป
                                                                                  ู้ ้
                                                                              ั ้
ส่ วน ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จะเป็ นซอฟต์แวร์ ที่เน้นในการช่วยการทางานต่าง ๆ ให้กบผูใช้ ซึ่ งแตกต่างกันไป
ตามความต้องการของผูใช้แต่ละคน
                     ้
บุคลากร (People ware)
                                                                                              ่ ้
           เครื่ องคอมพิวเตอร์ โดยมากต้องใช้บุคลากรสั่งให้เครื่ องทางาน เรี ยกบุคลากรเหล่านี้วา ผูใช้
หรื อ ยูเซอร์ (user) แต่ก็มีบางชนิดที่สามารถทางานได้เองโดยไม่ตองใช้ผควบคุม อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์
                                                                     ้         ู้
ก็ยงคงต้องถูกออกแบบหรื อดูแลรักษาโดยมนุษย์เสมอ
    ั
           ผูใช้คอมพิวเตอร์ (computer user) แบ่งได้เป็ นหลายระดับ เพราะผูใช้คอมพิวเตอร์ บางส่ วนก็ทางาน
               ้                                                                  ้
พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ เท่านั้น แต่บางส่ วนก็พยายามศึกษาโปรแกรมประยุกต์ในขั้นที่สูงขึ้น ทาให้มีความ
ชานาญในการใช้โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ นิยมเรี ยกกลุ่มนี้วา เพาเวอร์ยสเซอร์ (power user)
                                                            ่                ู
           ผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ (computer professional) หมายถึงผูที่ได้ศึกษาวิชาการทางด้าน
                                                                                    ้
คอมพิวเตอร์ ทั้งในระดับกลางและระดับสู ง ผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านนี้จะนาความรู ้ที่ได้ศึกษามาประยุกต์และ
พัฒนาใช้งาน และประสิ ทธิ ภาพของระบบคอมพิวเตอร์ ให้ทางานในขั้นสู งขึ้นไปได้อีก นักเขียนโปรแกรม
(programmer) ก็ถือว่าเป็ นผูเ้ ชียวชาญทางคอมพิวเตอร์ เช่นกัน เพราะสามารถสร้างโปรแกรมใหม่ ๆ ได้ และ
เป็ นเส้นทางหนึ่งที่จะนาไปสู่ การเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์ ต่อไป บุคลากรก็เป็ นส่ วนหนึ่งของระบบ
คอมพิวเตอร์ เพราะมีความเกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่การพัฒนาเครื่ องคอมพิวเตอร์ ตลอดจนถึง
การนาคอมพิวเตอร์ มาใช้งานต่าง ๆ ซึ่ งสามารถสรุ ปลักษณะงานได้ดงนี้      ั
                                                  ่
           1. การดาเนิ นงานและเครื่ องอุปกรณ์ตาง ๆ เช่น การบันทึกข้อมูลลงสื่ อ หรื อส่ งข้อมูลเข้าประมวล
หรื อควบคุมการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น เจ้าหน้าที่บนทึกข้อมูล (Data Entry Operator) เป็ นต้น
                                                                 ั
           2. การพัฒนาและบารุ งรักษาโปรแกรม เช่น เจ้าหน้าที่พฒนาโปรแกรมประยุกต์ (Application
                                                                   ั
Programmer) เจ้าหน้าที่พฒนาโปรแกรม (System Programmer) เป็ นต้น
                             ั
           3. การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ ประมวลผล เช่น เจ้าหน้าที่วิเคราะห์และ
ออกแบบระบบงาน (System Analyst and Administrator) วิศวกรระบบ (System Engineer) เจ้าหน้าที่จดการ        ั
ฐานข้อมูล (Database Adminstrator) เป็ นต้น
           4. การพัฒนาและบารุ งรักษาระบบทางฮาร์ ดแวร์ เช่น เจ้าหน้าที่ควบคุมการทางานระบบ
คอมพิวเตอร์ (Computer Operator) เป็ นต้น
           5. การบริ หารในหน่วยประมวลผลข้อมูล เช่น ผูบริ หารศูนย์ประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
                                                          ้
(EDP Manager) เป็ นต้น
           ข้ อมูลและสารสนเทศ (Data / Information)
ในการทางานต่าง ๆ จะต้องมีขอมูลเกิดขึ้นตลอดเวลา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานที่ถูกเก็บรวบรวมมา
                                  ้
ประมวลผล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เป็ นประโยชน์ต่อผูใช้ ซึ้ งในปั จจุบนมีการนาเอาระบบคอมพิวเตอร์มา
                                                        ้                  ั
เป็ นข้อมูลในการดัดแปลงข้อมูลให้ได้ประสิ ทธิ ภาพโดยแตกต่างๆระหว่าง ข้อมูล และ สารสนเทศ คือ
                                                                         ่
ข้อมูล คือ ได้จากการสารวจจริ ง แต่ สารสนเทศ คือ ได้จากข้อมูลไม่ผานกระบวนการหนึ่งก่อน สารสนเทศ
เป็ นสิ่ งที่ผบริ หารนาไปใช้ช่วยในการตัดสิ นใจ โดยที่สารสนเทศที่มีประโยชน์น้ นจะมีคุณสมบัติ ดังตาราง
                 ู้                                                                   ั
สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับ
                             ั
              มีความสัมพันธ์กน (relevant)
                                            สถานการณ์ปัจจุบน
                                                           ั
                                            ต้องมีความทันสมัยและพร้อมที่จะใช้งานได้
              มีความทันสมัย (timely)
                                            ทันทีเมื่อต้องการ
              มีความถูกต้องแม่นยา           เมื่อป้ อนข้อมูลเข้าสู่ คอมพิวเตอร์ และผลลัพธ์ที่
              (accurate)                    ได้จะต้องถูกต้องในทุกส่ วน
              มีความกระชับรัดกุม
                                            ข้อมูลจะต้องถูกย่นให้มีความยาวที่พอเหมาะ
              (concise)
              มีความสมบูรณ์ในตัวเอง
                                            ต้องรวบรวมข้อมูลที่สาคัญไว้อย่างครบถ้วน
              (complete)
                                คุณสมบัตของสารสนเทศทีมีประโยชน์
                                        ิ            ่




                                   การเปลียนรู ปจากข้ อมูลสู่ สารสนเทศ
                                          ่
กระบวนการทางาน (Procedure)
       กระบวนการทางานหรื อโพรซีเยอร์ หมายถึง ขั้นตอนที่ผใช้จะต้องทาตาม เพื่อให้ได้งานเฉพาะอย่าง
                                                                ู้
จากคอมพิวเตอร์ซ่ ึงผูใช้คอมพิวเตอร์ ทุกคนต้องรู ้การทางานพื้นฐานของเครื่ องคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถ
                     ้
ใช้งานได้อย่างถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การใช้เครื่ อง ฝาก-ถอนเงินอัตโนมัติ ถ้าต้องการถอนเงินจะต้องผ่าน
กระบวนการต่าง ๆ ดังนี้
       1. จอภาพแสดงข้อความเตรี ยมพร้อมที่จะทางาน
       2. สอดบัตร และพิมพ์รหัสผูใช้  ้
       3. เลือกรายการ
       4. ใส่ จานวนเงินที่ตองการ
                            ้
          5. รับเงิน
          6. รับใบบันทึกรายการ และบัตร
การใช้คอมพิวเตอร์ ปฏิบติงานในส่ วนต่าง ๆ นั้นมักจะมีข้ นตอนที่สลับซับซ้อน และเกี่ยวข้องกับ
                               ั                               ั
ช่วงเวลาต่าง ๆ ในการปฏิบติงานด้วย จึงต้องมีคู่มือการปฏิบติงานที่ชดเจน เช่น คู่มือสาหรับผูควบคุมเครื่ อง
                          ั                                ั     ั                       ้
(Operation Manual) คู่มือสาหรับผูใช้ (User Manual) เป็ นต้น
                                 ้

More Related Content

What's hot

ความรู้เบื้องต้น3
ความรู้เบื้องต้น3ความรู้เบื้องต้น3
ความรู้เบื้องต้น3tritonal54
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์naruemon wimonrat
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์deepre
 

What's hot (7)

ความรู้เบื้องต้น3
ความรู้เบื้องต้น3ความรู้เบื้องต้น3
ความรู้เบื้องต้น3
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week02
Week02Week02
Week02
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 

Similar to องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ ComputerSPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์SPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบSPipe Pantaweesak
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ Peem Jirayut
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net Saharat Yimpakdee
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1mod2may
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีtee0533
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardwarestandbyme mj
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์เทวัญ ภูพานทอง
 

Similar to องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (20)

องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardware
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week02
Week02Week02
Week02
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 

More from Thanawut Rattanadon

ประมูลร้านจำหน่ายอาหาร โรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา)
ประมูลร้านจำหน่ายอาหาร โรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา)ประมูลร้านจำหน่ายอาหาร โรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา)
ประมูลร้านจำหน่ายอาหาร โรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา)Thanawut Rattanadon
 
รับสมัครเลือกสรรบุคคลเพื่อจ้างเป็นลูกจ้างชั่วคราวปฏิบัติหน้าที่นักการภารโรงชั...
รับสมัครเลือกสรรบุคคลเพื่อจ้างเป็นลูกจ้างชั่วคราวปฏิบัติหน้าที่นักการภารโรงชั...รับสมัครเลือกสรรบุคคลเพื่อจ้างเป็นลูกจ้างชั่วคราวปฏิบัติหน้าที่นักการภารโรงชั...
รับสมัครเลือกสรรบุคคลเพื่อจ้างเป็นลูกจ้างชั่วคราวปฏิบัติหน้าที่นักการภารโรงชั...Thanawut Rattanadon
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตThanawut Rattanadon
 
แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101
แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101
แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101Thanawut Rattanadon
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยThanawut Rattanadon
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6Thanawut Rattanadon
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์Thanawut Rattanadon
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5Thanawut Rattanadon
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3Thanawut Rattanadon
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2Thanawut Rattanadon
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง สรุปลักษณะของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง สรุปลักษณะของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1.1 เรื่อง สรุปลักษณะของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง สรุปลักษณะของโครงงานคอมพิวเตอร์Thanawut Rattanadon
 
ใบงานที่ 5.1 เรื่อง การวัดและประเมินผลโครงงาน
ใบงานที่ 5.1 เรื่อง การวัดและประเมินผลโครงงานใบงานที่ 5.1 เรื่อง การวัดและประเมินผลโครงงาน
ใบงานที่ 5.1 เรื่อง การวัดและประเมินผลโครงงานThanawut Rattanadon
 
ใบความรู้ที่ 5 การนำเสนอและประเมินผลโครงงาน
ใบความรู้ที่ 5 การนำเสนอและประเมินผลโครงงานใบความรู้ที่ 5 การนำเสนอและประเมินผลโครงงาน
ใบความรู้ที่ 5 การนำเสนอและประเมินผลโครงงานThanawut Rattanadon
 
ใบความรู้ที่ 4 การพัฒนาโครงงาน และวิธีเขียนรายงานโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 การพัฒนาโครงงาน และวิธีเขียนรายงานโครงงานใบความรู้ที่ 4 การพัฒนาโครงงาน และวิธีเขียนรายงานโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 การพัฒนาโครงงาน และวิธีเขียนรายงานโครงงานThanawut Rattanadon
 
ใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงานThanawut Rattanadon
 

More from Thanawut Rattanadon (20)

ประมูลร้านจำหน่ายอาหาร โรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา)
ประมูลร้านจำหน่ายอาหาร โรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา)ประมูลร้านจำหน่ายอาหาร โรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา)
ประมูลร้านจำหน่ายอาหาร โรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา)
 
รับสมัครเลือกสรรบุคคลเพื่อจ้างเป็นลูกจ้างชั่วคราวปฏิบัติหน้าที่นักการภารโรงชั...
รับสมัครเลือกสรรบุคคลเพื่อจ้างเป็นลูกจ้างชั่วคราวปฏิบัติหน้าที่นักการภารโรงชั...รับสมัครเลือกสรรบุคคลเพื่อจ้างเป็นลูกจ้างชั่วคราวปฏิบัติหน้าที่นักการภารโรงชั...
รับสมัครเลือกสรรบุคคลเพื่อจ้างเป็นลูกจ้างชั่วคราวปฏิบัติหน้าที่นักการภารโรงชั...
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิต
 
แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101
แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101
แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง สรุปลักษณะของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง สรุปลักษณะของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1.1 เรื่อง สรุปลักษณะของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง สรุปลักษณะของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 5.1 เรื่อง การวัดและประเมินผลโครงงาน
ใบงานที่ 5.1 เรื่อง การวัดและประเมินผลโครงงานใบงานที่ 5.1 เรื่อง การวัดและประเมินผลโครงงาน
ใบงานที่ 5.1 เรื่อง การวัดและประเมินผลโครงงาน
 
ใบความรู้ที่ 5 การนำเสนอและประเมินผลโครงงาน
ใบความรู้ที่ 5 การนำเสนอและประเมินผลโครงงานใบความรู้ที่ 5 การนำเสนอและประเมินผลโครงงาน
ใบความรู้ที่ 5 การนำเสนอและประเมินผลโครงงาน
 
ใบความรู้ที่ 4 การพัฒนาโครงงาน และวิธีเขียนรายงานโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 การพัฒนาโครงงาน และวิธีเขียนรายงานโครงงานใบความรู้ที่ 4 การพัฒนาโครงงาน และวิธีเขียนรายงานโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 การพัฒนาโครงงาน และวิธีเขียนรายงานโครงงาน
 
ใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
 

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

  • 1. ใบความรู้ เรื่ององค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ 5 ส่ วนด้วยกัน คือ องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ ดแวร์ (Hardware) คือลักษณะทางกายของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมายถึงตัวเครื่ องคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์รอบข้าง (peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ ดดิสก์ เครื่ องพิมพ์ เป็ นต้น ฮาร์ ดแวร์ประกอบด้วย หน่วยรับข้อมูล ( input unit ) หน่วยประมวลผลกลาง หรื อ CPU หน่วยความจาหลัก หน่วยแสดงผลลัพธ์ หน่วยเก็บข้อมูลสารอง หน่วยรับข้อมูล จะเป็ นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับข้อมูลต่าง ๆ เข้าสู่ คอมพิวเตอร์ จากนั้น หน่วย ประมวลผลกลาง จะนาไปประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมากให้ผใช้รับทราบทาง หน่วยแสดงู้ ผลลัพธ์ หน่วยความจาหลัก จะทาหน้าที่เสมือนเก็บข้อมูลชัวคราวที่มีขนาดไม่สูงมากนัก การที่ฮาร์ดแวร์ จะ ่ ่ ั ทาหน้าที่ได้มีประสิ ทธิ ภาพนั้น ขึ้นอยูกบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ ส่ วนการทางานได้มากน้อยเพียงใด จะ ่ ั ขึ้นอยูกบหน่วยความจาหลักของเครื่ องนั้น ๆ ข้อเสี ยของหน่วยความจาหลักคือ หากปิ ดเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ ่ ่ อยูในหน่วยความจาหลักจะหายไป ในขณะที่ขอมูลอยูที่ หน่วยเก็บข้อมูลสารอง จะไม่สูญหายตราบเท่าที่ ้ ผูใช้ไม่ทาการลบข้อมูลนั้น รวมทั้งหน่วยเก็บข้อมูลสารองยังมีความจุที่สูงมาก จึงเหมาะสาหรับการเก็บ ้ ข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ หรื อเก็บข้อมูลไว้ใช้ในภายหลัง ข้อเสี ยของหน่วยเก็บข้อมูลสารอง คือ การเรี ยกใช้ ข้อมูลจะช้ากว่าหน่วยความจาหลักมาก
  • 2. ฮาร์ดแวร์ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์ ซอฟต์ แวร์ (Software) คอมพิวเตอร์ ฮาร์ ดแวร์ ที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทางานใดๆ เนื่องจากต้องมี ซอฟต์แวร์ (Software) ซึ่ งเป็ นชุดคาสังหรื อโปรแกรมที่สังให้ฮาร์ ดแวร์ ทางานต่าง ๆ ตามต้องการ โดย ่ ่ ชุดคาสั่งหรื อโปรแกรมนั้นจะเขียนขึ้นมาจาก ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ภาษาใดภาษา หนึ่ง และมี โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรื อนักเขียนโปรแกรมเป็ นผูใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ เหล่านั้นเขียน ้ ซอฟต์แวร์ ต่าง ๆ ขึ้นมา ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็ นสองประเภทใหญ่ๆคือ ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software ) และ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software ) ซอฟต์แวร์ระบบ โดยส่ วนมากแล้วจะติดตั้งมากับเครื่ องคอมพิวเตอร์ เนื่ องจากซอฟต์แวร์ ระบบเป็ น ส่ วนควบคุมทางานต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถเริ่ มต้นการทางานอื่น ๆ ที่ผใช้ตองการได้ต่อไป ู้ ้ ั ้ ส่ วน ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จะเป็ นซอฟต์แวร์ ที่เน้นในการช่วยการทางานต่าง ๆ ให้กบผูใช้ ซึ่ งแตกต่างกันไป ตามความต้องการของผูใช้แต่ละคน ้
  • 3. บุคลากร (People ware) ่ ้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ โดยมากต้องใช้บุคลากรสั่งให้เครื่ องทางาน เรี ยกบุคลากรเหล่านี้วา ผูใช้ หรื อ ยูเซอร์ (user) แต่ก็มีบางชนิดที่สามารถทางานได้เองโดยไม่ตองใช้ผควบคุม อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์ ้ ู้ ก็ยงคงต้องถูกออกแบบหรื อดูแลรักษาโดยมนุษย์เสมอ ั ผูใช้คอมพิวเตอร์ (computer user) แบ่งได้เป็ นหลายระดับ เพราะผูใช้คอมพิวเตอร์ บางส่ วนก็ทางาน ้ ้ พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ เท่านั้น แต่บางส่ วนก็พยายามศึกษาโปรแกรมประยุกต์ในขั้นที่สูงขึ้น ทาให้มีความ ชานาญในการใช้โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ นิยมเรี ยกกลุ่มนี้วา เพาเวอร์ยสเซอร์ (power user) ่ ู ผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ (computer professional) หมายถึงผูที่ได้ศึกษาวิชาการทางด้าน ้ คอมพิวเตอร์ ทั้งในระดับกลางและระดับสู ง ผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านนี้จะนาความรู ้ที่ได้ศึกษามาประยุกต์และ พัฒนาใช้งาน และประสิ ทธิ ภาพของระบบคอมพิวเตอร์ ให้ทางานในขั้นสู งขึ้นไปได้อีก นักเขียนโปรแกรม (programmer) ก็ถือว่าเป็ นผูเ้ ชียวชาญทางคอมพิวเตอร์ เช่นกัน เพราะสามารถสร้างโปรแกรมใหม่ ๆ ได้ และ เป็ นเส้นทางหนึ่งที่จะนาไปสู่ การเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์ ต่อไป บุคลากรก็เป็ นส่ วนหนึ่งของระบบ คอมพิวเตอร์ เพราะมีความเกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่การพัฒนาเครื่ องคอมพิวเตอร์ ตลอดจนถึง การนาคอมพิวเตอร์ มาใช้งานต่าง ๆ ซึ่ งสามารถสรุ ปลักษณะงานได้ดงนี้ ั ่ 1. การดาเนิ นงานและเครื่ องอุปกรณ์ตาง ๆ เช่น การบันทึกข้อมูลลงสื่ อ หรื อส่ งข้อมูลเข้าประมวล หรื อควบคุมการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น เจ้าหน้าที่บนทึกข้อมูล (Data Entry Operator) เป็ นต้น ั 2. การพัฒนาและบารุ งรักษาโปรแกรม เช่น เจ้าหน้าที่พฒนาโปรแกรมประยุกต์ (Application ั Programmer) เจ้าหน้าที่พฒนาโปรแกรม (System Programmer) เป็ นต้น ั 3. การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ ประมวลผล เช่น เจ้าหน้าที่วิเคราะห์และ ออกแบบระบบงาน (System Analyst and Administrator) วิศวกรระบบ (System Engineer) เจ้าหน้าที่จดการ ั ฐานข้อมูล (Database Adminstrator) เป็ นต้น 4. การพัฒนาและบารุ งรักษาระบบทางฮาร์ ดแวร์ เช่น เจ้าหน้าที่ควบคุมการทางานระบบ คอมพิวเตอร์ (Computer Operator) เป็ นต้น 5. การบริ หารในหน่วยประมวลผลข้อมูล เช่น ผูบริ หารศูนย์ประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ ้ (EDP Manager) เป็ นต้น ข้ อมูลและสารสนเทศ (Data / Information) ในการทางานต่าง ๆ จะต้องมีขอมูลเกิดขึ้นตลอดเวลา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานที่ถูกเก็บรวบรวมมา ้ ประมวลผล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เป็ นประโยชน์ต่อผูใช้ ซึ้ งในปั จจุบนมีการนาเอาระบบคอมพิวเตอร์มา ้ ั เป็ นข้อมูลในการดัดแปลงข้อมูลให้ได้ประสิ ทธิ ภาพโดยแตกต่างๆระหว่าง ข้อมูล และ สารสนเทศ คือ ่ ข้อมูล คือ ได้จากการสารวจจริ ง แต่ สารสนเทศ คือ ได้จากข้อมูลไม่ผานกระบวนการหนึ่งก่อน สารสนเทศ เป็ นสิ่ งที่ผบริ หารนาไปใช้ช่วยในการตัดสิ นใจ โดยที่สารสนเทศที่มีประโยชน์น้ นจะมีคุณสมบัติ ดังตาราง ู้ ั
  • 4. สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับ ั มีความสัมพันธ์กน (relevant) สถานการณ์ปัจจุบน ั ต้องมีความทันสมัยและพร้อมที่จะใช้งานได้ มีความทันสมัย (timely) ทันทีเมื่อต้องการ มีความถูกต้องแม่นยา เมื่อป้ อนข้อมูลเข้าสู่ คอมพิวเตอร์ และผลลัพธ์ที่ (accurate) ได้จะต้องถูกต้องในทุกส่ วน มีความกระชับรัดกุม ข้อมูลจะต้องถูกย่นให้มีความยาวที่พอเหมาะ (concise) มีความสมบูรณ์ในตัวเอง ต้องรวบรวมข้อมูลที่สาคัญไว้อย่างครบถ้วน (complete) คุณสมบัตของสารสนเทศทีมีประโยชน์ ิ ่ การเปลียนรู ปจากข้ อมูลสู่ สารสนเทศ ่ กระบวนการทางาน (Procedure) กระบวนการทางานหรื อโพรซีเยอร์ หมายถึง ขั้นตอนที่ผใช้จะต้องทาตาม เพื่อให้ได้งานเฉพาะอย่าง ู้ จากคอมพิวเตอร์ซ่ ึงผูใช้คอมพิวเตอร์ ทุกคนต้องรู ้การทางานพื้นฐานของเครื่ องคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถ ้ ใช้งานได้อย่างถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การใช้เครื่ อง ฝาก-ถอนเงินอัตโนมัติ ถ้าต้องการถอนเงินจะต้องผ่าน กระบวนการต่าง ๆ ดังนี้ 1. จอภาพแสดงข้อความเตรี ยมพร้อมที่จะทางาน 2. สอดบัตร และพิมพ์รหัสผูใช้ ้ 3. เลือกรายการ 4. ใส่ จานวนเงินที่ตองการ ้ 5. รับเงิน 6. รับใบบันทึกรายการ และบัตร
  • 5. การใช้คอมพิวเตอร์ ปฏิบติงานในส่ วนต่าง ๆ นั้นมักจะมีข้ นตอนที่สลับซับซ้อน และเกี่ยวข้องกับ ั ั ช่วงเวลาต่าง ๆ ในการปฏิบติงานด้วย จึงต้องมีคู่มือการปฏิบติงานที่ชดเจน เช่น คู่มือสาหรับผูควบคุมเครื่ อง ั ั ั ้ (Operation Manual) คู่มือสาหรับผูใช้ (User Manual) เป็ นต้น ้