SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
การปกครองของไทยตั้งแต่อดีต-ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475
สภาพการปกครองของสุโขทัยแบ่งออกเป็นระยะที่สาคัญดังนี้
1. ระยะที่1 ยุคก่อนราชอาณาจักรสุโขทัย(ก่อนปี พ.ศ. 1761)
ในระยะก่อนปี พ.ศ. 1761 อานาจของอาณาจักรเขมรรุ่งเรืองมากในดินแดนสุวรรณภูมิ
โดยมีศูนย์กลางอานาจทางลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาอยู่ที่เมืองละโว้ (ลพบุรี)เขมรมีการปกครองแบบราชาธิปไตย
กษัตริย์จะส่งขุนนางมาปกครองเมืองบริวารโดยเมืองบริวารจะส่งส่วยเป็นบรรณาการให้แก่พระนครหลวง
ขณะเดียวกันบางถิ่นอาจเป็นอิสระมีอานาจปกครองตัวเองแบบนครรัฐกลุ่มชนคงไม่ใหญ่โต
ผู้ปกครองเป็นผู้ที่ได้รับการยกย่องจากกลุ่มชนให้เป็นผู้ปกครองบริเวณที่มีความสาคัญได้แก่ เมืองศรีเทพ
บริเวณวัดจุฬามณี และบริเวณเมืองสุโขทัยและเมืองศรีสัชนาลัย
2. ระยะที่2 ยุคอาณาจักรสุโขทัยตอนต้น(พ.ศ.1761-1921)
การปกครองในยุคนี้วางรากฐานลงแบบการปกครองครัวเรือนจุดเริ่มต้นเริ่มที่“พ่อครัว”ทาหน้าที่ปกครอง
ครอบครัวหลายๆครอบครัวรวมกันเป็น“เรือน” หัวหน้าก็คือ“พ่อเรือน” หลายๆ
เรือนรวมกันเป็นหมู่บ้านมีหัวหน้าเรียกว่า “พ่อบ้าน”หลายๆหมู่บ้านรวมกันเรียกว่า“เมือง”หัวหน้าคือ“พ่อเมือง”
และพ่อขุนคือผู้ปกครองประเทศหรือผู้ปกครองทุกเมืองนั่นเอง
แม้ว่าอานาจสูงสุดและเด็ดขาดจะรวมอยู่ที่พ่อขุนเพียงคนเดียวแต่ด้วยการจาลองลักษณะครอบครัวมาใช้ในการปกครอง
พ่อขุนปกครองประชาชนในลักษณะบิดาปกครองบุตรคือถือตนเองเป็นพ่อของราษฎร
พ่อขุนเกือบทุกพระองค์ใช้อานาจในลักษณะให้ความเมตตาและเสรีภาพแก่ราษฎรตามสมควรอาณาเขตของสุโขทัย
ในแผ่นดินสุโขทัยกว้างขวางใหญ่โตมาก ดังปรากฏในศิลาจารึกหลักที่1กล่าวว่า“...มีเมืองกว้างช้างหลาย
ปราบเบื้องตะวันออกรอดสระหลวงสองแควลุมบาจายสคาเท้าฝั่งของเถิงเวียงจันทน์เวียงคาเป็นที่แล้ว
เบื้องหัวนอนรอดคนที พระบางแพรกสุพรรณภูมิราชบุรี เพชรบุรีศรีธรรมราชฝั่งทะเลเป็นทีแล้ว
เบื้องตะวันตกรอดเมืองแอดเมืองหงสาวดีสมุทรหาเป็นแดนเบื้องตีนนอนรอดเมืองแพร่ เมืองมานเมืองพลัว
พ้นฝั่งของเมืองชาว...” นักประวัติศาสตร์ทั่วไปเชื่อว่าสุโขทัยเป็นราชธานีแห่งแรกของชาวไทยในแหลงอินโดจีนตอนกลาง
และลักษณะการปกครองหัวเมืองในสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราชแบ่งออกเป็น3 ประเภทคือ
1. หัวเมืองชั้นใน ได้แก่ เมืองหน้าด่านหรือเมืองลูกหลวงล้อมรอบราชธานีทั้ง4 ด้านคือ ศรีสัชนาลัย(ด้านหน้า)
สองแคว(ด้านตะวันออก)สระหลวง(ด้านใต้)และชากังราว(ด้านตะวันตก)
การปกครองหัวเมืองชั้นในนั้นขึ้นอยู่กับสุโขทัยโดยตรง
2. หัวเมืองชั้นนอก ได้แก่ เมืองท้าวพระยามหานครที่มีผู้ดูแลโดยตรงแต่ขึ้นอยู่กับสุโขทัย
ในรูปลักษณะของการสวามิภักดิ์ในฐานะเป็นเมืองขึ้นหรือเมืองออกหัวเมืองชั้นนอกมี แพรกอู่ทอง ราชบุรี ตะนาวศรี แพร่
หล่มสักเพชรบูรณ์ และศรีเทพ
3. เมืองประเทศราช ได้แก่เมืองที่เป็นชาวต่างภาษามีกษัตริย์ปกครองขึ้นกับสุโขทัยในฐานะประเทศราช
มีนครศรีธรรมราชมะละกายะโฮร์ ทะวายเมาะตะมะหงสาวดีน่านเซ่าเวียงจันทน์และเวียงคา
3. ระยะที่3 ยุคอาณาจักรสุโขทัยตอนหลาย(พ.ศ.1921-1981)
ในปี พ.ศ. 1921 ซึ่งตรงกับสมัยของพระมหาธรรมราชาที่2ของพาราจักรสุโขทัย
ได้ยอมอยู่ใต้อานาจการปกครองของอยุธยา
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรบทีเมืองชากังราวที่กระมหาธรรมราชาออกถวายบังคมต่อพระบรมราชาธิราชที่ 1
แห่งอาณาจักรอยุธยาการเปลี่ยนแปลงในท้องถิ่นครั้งนี้ที่สาคัญคือ
การที่อยุธยาพยายามทาลายศูนย์กลางของอาณาจักรสุโขทัยคือแบ่งแยกอาณาจักสุโขทัยเป็น 2ส่วนคือ
1. บริเวณลุ่มแม่น้ายมแม่น้าน่านให้มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองสองแควให้กษัตริย์ของสุโขทัยปกครองต่อไป
และอยู่ในอานาจของอยุธยาในฐานะประเทศราช
2. บริเวณลุ่มแม่น้าปิงให้มีศูนย์กลางที่เมืองชากังราว
และขึ้นตรงต่ออยุธยาขณะเดียวกันอยุธยาก็พยายามผนวกอาณาจักรสุโขทัยเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอยุธยา
และประสบความสาเร็จในสมัยพระบรมราชาธิราชที่2(เจ้าสามพระยา)สาหรับลักษณะการปกครองที่ปรากฏในระยะนี้
เป็นแบบผสมระหว่างสุโขทัยและรับอิทธิพลการปกครองแบบราชาธิปไตยของอยุธยาเข้าไปด้วย
ในระยะนี้นับว่าเมืองสองแควมีความสาคัญที่สุดขณะเดียวกันเมืองสุโขทัยเก่าก็ค่อยๆลดความสาคัญลง
4. ระยะที่4 ยุคกรุงศรีอยุธยาจนถึงสมัยรัชกาลที่5แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (พ.ศ.1981-2435)
ในยุคนี้แนวความคิดเกี่ยวกับกษัตริย์เปลี่ยนแปลงไปตามคติพราหมณ์
ซึ่งพวกเขมรเป็นผู้นามาโดยถือว่ากษัตริย์เป็นผู้ได้รับอานาจจากสวรรค์หรือเป็นพระเจ้าบนมนุษย์โลก
ลักษณะการปกครองจึงเป็นแบบนายปกครองบ่าวหรือเจ้าปกครองข้า ในสมัยพระบรมรามาธิบดีที่1
ทรงวางระบบการปกครองส่วนกลางแบบ“จตุสดมภ์”ตามแบบของขอม มีกษัตริย์เป็นผู้ปกครองสูงสุดและมีเสนาบดี 4
คนคือ ขุนเมือง ขุนวัง ขุนคลัง และขุนนาเป็นผู้ช่วยดาเนินการมีหน้าที่ดังนี้...
1. เมือง รับผิดชอบด้านการรักษาความสงบเรียบร้อยและปราบปรามโจรผู้ร้าย
2. วัง มีหน้าที่เกี่ยวกับราชสานักและตัดสินคดีความต่างๆ
3. คลังมีหน้าที่เกี่ยวกับด้านคลังการค่าและภาษีอากรประเภทต่างๆ
4. นา มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับด้านการเกษตรสาหรับการปกครองส่วนภูมิภาคหรือหัวเมืองต่างๆ
ในระยะแรกพระรามาธิบดีที่1 ทรงเลียนแบบการปกครองของสุโขทัยคือมีหัวเมืองชันในชั้นนอก
และหัวเมืองประเทศราชแต่ต่อมาในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้ทาการปฏิรูปการปกครองหัวเมือง
ให้มีลักษณะการรวมอานาจไว้ที่ศูนย์กลางคือเมืองหลวงมากขึ้น
โดยขยายอาณาเขตให้หัวเมืองชั้นในกว้างขวางขึ้นกว่าเดิมหัวเมืองชั้นนอกกาหนดเป็นหัวเมืองชั้นเอกโทตรี
ตามลาดับตามขนาดและความสาคัญของเมืองโดยทางส่วนกลางจะส่งขุนนาง
หรือพระราชวงศ์ไปทาการปกครองแต่สาหรับเมืองประเทศราชยังปล่อยให้มีอิสระในการปกครองเช่นเดิม
นอกจากนี้สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้ทรงปรับปรุงระบบบริหารขึ้นใหม่
โดยแยกการบริหารออกเป็นฝ่ ายพลเรือนและฝ่ ายทหารมีสมุหนายกเป็นผู้รับผิดชอบด้านพลเรือน
บริหารกิจการเกี่ยวกับเมืองวังคลังและนาและมีสมุหกลาโหมรับผิดขอบด้านการทหารและการป้ องกันประเทศ
แต่ภายหลังในสมัยสมเด็จพระเพทราชาราวพ.ศ.2234
ทั้งสมุหนายกและสมุหกลาโหมต้องทางานทั้งด้านทหารและพลเรือนพร้อมกัน
โดยสมุหกลาโหมปกครองทั้งฝ่ายพลเรือนและทหารในหัวเมืองด้านใต้ และสมุหนายก
ปกครองทั้งฝ่ ายพลเรือนและทหารในหัวเมืองด้านเหนือ ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนารถเป็นต้นมา
ถึงสมัยรัชกาลที่5แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (พ.ศ.1981-2437) ฐานะของเมืองต่างๆ ในอาณาจักรสุโขทัย
เดิมต้องเปลี่ยนแปลงไปตามขนาดและความสาคัญของเมืองคือ
1. หัวเมืองชั้นนอก ได้แก่ เมืองสองแคว
2. หัวเมืองชั้นโทได้แก่ เมืองสวรรคโลก เมืองสุโขทัยเมืองชากังราวและเมืองเพชรบูรณ์
3. หัวเมืองชั้นตรี ได้แก่ เมืองพิชัยเมืองสระหลวง(พิจิตร)เมืองพระบาง(นครสวรรค์)
5. ระยะที่5 ยุคการปกครองเริ่มแรกของการพัฒนาขึ้นสู่ความเปลี่ยนแปลงทางประชาธิปไตย (พ.ศ.2435-2475)
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวประเทศไทย
เป็นประเทศหนึ่งในกลุ่มประเทศกลุ่มแรกๆที่เริ่มพัฒนาขึ้นสู่ความเปลี่ยนแปลงทางประชาธิปไตย ถัดจากกลุ่มประเทศใน
ยุโรปและอเมริกาเหนือ กลุ่มประเทศที่กล่าวถัดมาเป็นกลุ่มที่สองประกอบด้วยไทยญี่ปุ่นและจีน
ซึ่งดารงเอกราชอยู่ได้ในกระแสแห่งลัทธิล่าอาณานิคมในอดีตไทยนั้นก้าหน้ากว่าญี่ปุ่นและจีนมาก่อน
เพราะมีความสัมพันธ์ทางการค้าและทางวิชาการกับยุโรปมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาโดยเฉพาะในรัชสมัยสมเด็จพระนาร
ายณ์มหาราชซึ่งกรุงศรีอยูธยาเป็นศูนย์กลางการค้าระหว่างตะวันตกกับตะวันออก
มีความเจริญทางด้านเศรษฐกิจสูงสุดและมีความสัมพันธ์ทางวิชาการกับยุโรปอย่างกว้างขวางมีการส่งนักศึกษาไปศึกษายั
งประเทศฝรั่งเศสจานวนหนึ่ง ถ้าไม่มีการตัดความสัมพันธ์กับยุโรปในสมัยสมเด็จพระเพทราชาและไม่เสียกรุงแก่พม่าแล้ว
กรุงศรีอยุธยาจะพัฒนาขึ้นเป็นประเทศทุนนิยมหรือเสรีนิยมก่อนประเทศใดๆทั้งหมดในตะวันออกไกล
ความสัมพันธ์กับยุโรปเพิ่งฟื้นฟูขึ้นใหม่ในสมัยรัชกาลที่๒
แห่งกรุงรัตนโกสินทร์เริ่มทาสัญญาการค้ากับยุโรปในรัชกาลที่๓
และดาเนินความสัมพันธ์ทางการฑูตอย่างกว้าขวางกับยุโรปและอเมริกาในรัชกาลที่๔
ความสัมพันธ์กับตะวันตกเป็นเงื่อนไขให้เศรษฐกิจเสรีนิยมหรือทุนนิยมกาเนิดขึ้นในประเทศไทย
ในห้วงเวลาดังกล่าวมีประเทศเอกราชในตะวันออกไกล 3ประเทศ คือไทย ญี่ปุ่นและจีน
ซึ่งเศรษฐกิจทุนนิยมได้เริ่มขึ้นพร้อมๆกันแต่ไทยนาหน้าญี่ปุ่นและจีน เพราะไทยไม่มีการกีดกันความสัมพันธ์กับตะวันตก
ประเทศไทยสามารถต่อเรือกลไฟและมีโรงเลื่อย โรงสีก่อนญี่ปุ่น
ในขณะเดียวกับที่ญี่ปุ่นถูกบังคับให้เปิดความสัมพันธ์ทางการค้ากับตะวันตกในสมัยรัชกาลที่ ๔
และมหาอานาจตะวันตกก็ต้องทาสงครามอย่างหนักกับจีนกว่าจะเปิดความสัมพันธ์กันได้
ไทยจึงก้าวหน้าทางเศรษฐกิจทุนนิยมมากกว่าญี่ปุ่นและจีนในยุคเดียวกัน
การพัฒนาเศรษฐกิจทุนนิยมเป็เงื่อนไขให้เกิดขบวนการประชาธิปไตย
และขบวนการประชาธิปไตยในประเทศทั้งสามนี้มีพระมหากษัตริย์เป็นผู้นา
ไทยมีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวญี่ปุ่นมีพระจักรพรรดิเมจิและจีนมีพระเจ้ากวางสูทรงเป็นผู้นา
ขบวนการประชาธิปไตยของญี่ปุ่นก้าวหน้ากว่าของไทยและจีนเพราะพระเจ้าจักรพรรดิได้รับการสนับสนุนจากเสนาบดี
ขุนนาง และพวกซามูไรหนุ่มในการสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตยจึงสามารถยกเลิกอานาจของโชกุนได้
ส่วนประเทศไทย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวต้องทรงต่อสู้อย่างยากลาบากและยาวนานกับผู้สาเร็จราชการแผ่นดินซึ่งกุมอา
นาจไว้เสมือนโซกุนของญี่ปุ่น ทาให้พระราชกรณียกิจชั้นต้นในการสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตยช้าไป
กว่าญี่ปุ่นถึง20 ปี แต่ก็นับว่าคุ้มค่าเพราะสามารถเป็นไปได้โดยราบรื่นตามพระราชดาริ เพราะถ้าหักโหมให้เร็วกว่านั้น
ก็จะเกิดการนองเลือดอย่างไม่อาจจะหลีกเลี่ยงได้
พระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงวิจารณ์เรื่องนี้ไว้เมื่อปี พุทธศักราช ๒๔๗๐
ว่า“การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากแบบเดิมเป็นการตั้งกระทรวง 12กระทรวงนี้
ต้องนับว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวงซึ่งเรียกกันธรรมดาว่า “พลิกแผ่นดิน”
ถ้าเรียกตามภาษาอังกฤษก็ต้องเรียกว่า “เรฟโวลูชั่น”(Revolution) การเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวงครั้งนี้
มีน้อยประเทศนักที่จะทาสาเร็จได้โดยราบรื่นปราศจากการจลาจล
การที่ประเทศสยามได้เปลี่ยนแปลงวิธีการปกครองอย่าง“เรฟโวลูชั่น”ได้โดยไม่ต้องเสียเลือดเนื้อแม้แต่หยดเดียว
ต้องนับว่ามหัศจรรย์และเป็นโชคดีของประเทศสยามอย่างยิ่ง
การเปลี่ยนแปลงนี้ย่อมขัดกับผลประโยชน์ของบุคคลบางจาพวกจึงยากนักที่จะสาเร็จไปได้โดยราบรื่น
การเปลี่ยนแปลงนี้ทาได้โดยราบรื่นเพราะสมเด็จพระเจ้าแผ่นดินเป็นผู้ทรงเริ่ม
ประกอบกับพระเจ้าแผ่นดินพระองค์นั้นทรงพระปรีชาสามารถยิ่งกว่าผู้ใดทั้งหมดในเวลานั้น
ทั้งมีพระอัธยาศัยละมุนละม่อมทรงสามารถปลูกความจงรักภักดีในชนทุกชั้นที่ได้เข้าเฝ้ าฯ
ใกล้ชิดพระองค์แม้แต่เพียงครั้งเดียวก็ประทับใจและเกิดความนิยมชมชอบต่อพระองค์”
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงวิจารณ์พระบรมราโชบายสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย
ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการและเหมาะสมกับลักษณะพิเศษ ตลอดจนสภาวการณ์ของประเทศไทยใว้ตอนหนึ่งว่า
“พระราชดารัสนี้
นอกจากจะให้ความรู้อันดียิ่งดังกล่าวมาแล้วยังทาให้ทราบในพระราชหฤทัยของสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงเป็นอย่างดีว่า
พระองค์ท่านมิได้ทรงนึกถึงสิ่งอื่นเลยนอกจากความสุขของประชาชนและความเจริญของประเทศเป็นที่ตั้ง
เป็นหลักสาคัญในการที่จะทรงพระราชดาริกิจการใดๆทั้งปวง”
จากรายละเอียดที่ยกมาคงจะเป็นเครื่องยืนยันได้ว่าขบวนการประชาธิปไตยของประเทศไทยเรานั้น
มีความสมบูรณ์อย่างที่สุดมาตั้งแต่เริ่มแรกโดยด้านหนึ่งมีนโยบายสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตยที่ถูกต้อง
อีกด้านหนึ่งมีผู้นาที่เป็นนักประชาธิปไตยและนักปฏิวัติที่ยิ่งใหญ่ คือพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ขบวนการประชาธิปไตยในประเทศไทยซึ่งมีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวซึ่งทรงเป็นผู้นานั้นประกอบด้วย
เจ้านายขุนนาง และปัญญาชนบางส่วน
ซึ่งต่างก็เร่งเร้าให้พระองค์ท่านสร้างประชาธิปไตยตามอย่างญี่ปุ่นและยุโรปโดยเร็ว
หลังจากคณะเจ้านายและขุนนางกราบบังคมทูลเป็นเวลา ๗ปี
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ได้ทรงทา “เรฟโวลูชั่น”เมื่อพุทธศักราช2435
ประกอบด้วยพระราชกรณียกิจต่างๆเช่นก่อตั้งชาติสยามยกเลิกตาแหน่งอัครมหาเสนาบดีคือสมุหนายก
และสมุหกลาโหมยกเลิกตาแหน่งเสนาบดีจตุสดมภ์จัดการปกครองส่วนกลางเป็น ๑๒กระทรวง
จัดการปกครองส่วนภูมิภาคเป็น“เทศาภิบาล”จัดการปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นสุขาภิบาลเลิกทาส
จัดกองทัพแบบสมัยใหม่ และปรับปรุงประเทศในทุกๆด้าน “เรฟโวลูชั่น”หรือ
“การปฏิวัติเพื่อสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย“ในขั้นตอนที่หนึ่งนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอญู่หัว
ทรงกระทาสาเร็จโดยพื้นฐานในระหว่างพุทธศักราช๒๔๓๕จนถึงพุทธศักราช๒๔๕๐
ก่อนที่ “เรฟโวลูชั่น”อันยิ่งใหญ่จะปรากฏขึ้นเมื่อพ.ศ.๒๔๓๕คนทั่วไปหาได้ล่วงรู้ถึงพระราชกรณียกิจ
และทราบในพระราชหฤทัยอย่างชัดเจนไม่เพราะเป็นพระราชกรณียกิจอันลาบากยากยิ่ง
สถานการณ์ในประเทศไทยนั้นมีความรุนแรงสับสนและสลับซับซ้อนกว่าญี่ปุ่นมากมายนัก
ต้องทรงใช้พระวิริยะอุตสาหะและความสุขุมคัมภีรภาพเพื่อเป็นหลักประกันของความสาเร็จอย่างสันติ
ในพระราชหัตถเลขาตอบแก่หนังสือกราบบังคมทูลของคณะเจ้านายและขุนนางของรัชกาลที่ ๕
พระองค์ท่านได้ทรงอธิบายไว้ ตอนหนึ่งว่า “ในเบื้องต้นนี้เราขอตอบแก่ท่านทั้งปวงว่า
เราชอบใจอยู่ในการซึ่งพระบรมวงศานุวงศ์แลข้าราชการของเราได้ไปเห็นการในประเทศอื่นแล้วระลึกถึงประเทศของตน
ปราถนาที่จะป้ องกันอันตราย
และจะให้มีความยั่งยืนมั่นคงในอานาจอันเป็นอิสรภาพในข้อความธรรมดาที่ได้กล่าวมาแล้วที่เป็นตัวใจความทุกอย่างนั้นเ
รายอมรับว่าเป็นจริงดังนั้น
เราขอแจ้งความแก่ท่านทั้งปวงให้เราทราบพร้อมกันด้วยว่าความที่น่ากลัวอันตรายอย่างใดซึ่งได้กล่าวมานั้นที่เป็นการที่จะ
แลเห็นได้ขึ้นใหม่ของเราเลยแต่การที่ได้คิดเห็นอยู่ก่อนแล้วทั้งสิ้น
แลการที่ควรจะทนุบารุงให้เจริญอย่างไรเล่าเรามีความปราถนาแรงกล้าที่จะจัดการนั้นให้สาเร็จตลอดไปได้
ไม่ต้องมีความห่วงระแวงอย่างหนึ่งอย่างใดเราจะป็นผู้ขัดขวางในการซึ่งจะเสียอานาจซึ่งเรียกว่า “แอบโซลูท”
(Absolute) เป็นต้นนั้นเลยแลการซึ่งเราได้ขวนขวายตะเกียกตระกายอยู่ในการที่จะเปลี่นแปลงมาแต่ก่อน
จนมีเหตูบ่อยๆเป็นพยานของเราที่จะยกขึ้นชี้ได้ว่า เรามิได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินซึ่งเหมือนอย่าคางคกตกอยู่ในกระลาครอบ
ที่จะพึงทรมานให้สิ้นทิษฐิ ถือว่าตัวโตนั้นด้วยอย่างหนึ่งไดเลย”
ต่อจากนั้น ได้ทรงอธิบายถึงสถานการณ์เมื่อเสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติเมื่อพระชนมายุเพียง 15พรรษา
ภายใต้อานาจอันยิ่งใหญ่ของผู้สาเร็จราชการแผ่นดินซึ่งทรงใช้คาทับศัพท์ว่า “รีเจนท์”(Regent)ให้เข้าใจความจริงว่า
เป็นการเข้าใจผิดที่บางคนคิดว่าเมื่อเป็นพระเจ้าแผ่นดินแล้วถ้าประสงค์สิ่งใดก็จะได้ตามนั้น
หรือบางคนอาจจะเข้าว่าพระองค์มัความอ่อนแอไม่สามารถหักหารต่อผู้หนึ่งผู้ใดจึงไม่เปลี่ยนแปลงการปกครอง
ทรงอธิบายให่เห็นว่าอานาคของเสนาบดีสามารถตั้งพระเจ้าแผ่นดินมาก่อนแล้ว
และเมื่อเสด็จขึ้นครองราชย์ทรงพระเยาว์นั้นก็มีผู้สาเร็จราชการแผ่นดินอานาจจึงตกอยู่แก่ผู้สาเร็จราชการและเสนาบดี
การเอาอานาจคืนในสถานการณ์เช่นนั้นจึงเป็นการยากอย่างที่สุดทรงใช้วิธีการเริ่มต้นด้วยการแทรกพระองค์เข้าไปใน
“ลียิสเลทีฟ”(Legislative)ซึ่งในปัจจุบันเรียกว่า“ฝ่ านนิติบัญัติ”
ราชการไทยในสมัยก่อนก็เช่นเดียวกับประเทศอื่น“เอ็กเซ็คคิวทีฟ”(Executive)และ“ลียิสเลทีฟ”
รวมอยู่ในพระเจ้าแผ่นดินหรือเมื่อมีผู้สาเร็จราชการแผ่นดินอานาจทั้งสองนี้ก็จะอยู่กับผู้สาเร็จราชการแผ่นดิน
แต่ผู้สาเร็จราชการแผ่นดินและเสนาบดีนั้นสนใจแต่ตาแหน่ง “เอ็กเซ็คคิวทีฟ”หรือ“ตาแหน่งบริหาร”
ไม่ค่อยจะสนใจในตาแหน่ง“ลียิสเลทีฟ” หรือตาแหน่งใน“ฝ่ านนิติบัญญัติ”ระองค์ท่านจึงทรงแทรกเข้าไปใน
“ลียิสเลทีฟ”จนสามารถตั้งเป็นสภาขึ้นได้เรียกว่า“สภาองคมนตรี” ทาหน้าที่ปรึกษาการออกกฏหมาย
และพระองค์เองก็ทรงเป็นหัวหน้าเมื่อมีสภาองคมนตรีแล้วก็ทาให้ฝ่ าย “เอ็กเซ็คคิวทีฟ”กลายเป็น“กั้ฟเวิร์นมเม้นท์”
(Government) หรือ“คณะเสนาบดี” หรือ“คณะรัฐบาล”นั่นเอง พระองค์ท่านจึงเป็น“หัวหน้าสภาองคมนตรี”
และกลายเป็นฝ่ ายค้านของ“กั้ฟเวิร์นเม้นท์”หรือคณะรัฐบาลนั้น
ต่อมาได้ทรงพยายามแทรกพระองค์ลงในอานาจ“เอ็กเซ็คคิวทีฟ”ที่ละน้อยจนสามารถเป็น“กั้ฟเวร์นเม้นท์”
ได้เอง ทรงเรียกพระองค์เองว่าเป็น“ฟรีเมียร์”(Premier) หรือในปัจจุบันเรียกว่า“นายกรัฐมนตรี”
อานาจของผูสาเร็จราชการแผ่นดินค่อยๆลดลงและพระองค์ทรงมีอานาจเต็มเมื่อครองราชย์มาได้ 20 ปี
จะเห็นได้ว่าได้ทรงก่อรูปการปกครองแบบใหม่ขึ้นภายในการปกครองแบบเก่านั่นเอง
และในการนี้มีความยากลาบากอย่างยิ่งในการที่จะทาให้ข้าราชการซึ่งเคยชินกับกิจการแบบเก่า
ขาดความรู้และหย่อนความสามารถมาทาการแบบใหม่ในการปกครองแบบเก่า
โดยสรุปการสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น
ได้ทรงกาหนดออกเป็น2 ขั้นตอน คือ
ขั้นตอนที่หนึ่ง เปลี่ยนแปลงการปกครองแบบเก่าให้เป็นแบบใหม่
ดังที่พระองค์ท่านทรงกระทาสาเร็จเมื่อพุทธศักราช2435 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯทรงเรียกว่า “พลิกแผ่นดิน”
และทรงใช้คาทับศัพท์ว่า“เรฟโวลูชั่น” หรือ“การปฏิวัติเพื่อสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย”ในขั้นตอนที่หนึ่งนี้
เป็นแต่เพียงการเปลี่ยนแปลง“รูปการปกครอง”ยังไม่ได้เปลี่ยนแปลง“หลักการการครอง” พูดง่ายๆว่า
เปลี่ยนแปลงแต่รูปแบบยังไม่ได้เปลี่ยนยแปลง“เนื้อหา” โดยพาะก็คือยังไม่ได้เปลี่ยนแปลง“เจ้าของอานาจอธิปไตย”
เพราะอานาจอธิปไตยนั้นยังเป็นของชนส่วนน้อยตามเดิมยังไม่ได้เป็นของปวงชนหรือประชาชน
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงถืออานาจนั้นด้วยพระองค์เองตามเดิม
หลังจากเสร็จสิ้นขั้นตอนที่หนึ่งเมื่อพุทธศักราช2435
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงฝึกหัดและทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตยกับประชาชนมาโดยลาดับ
ทั้งทาง “สภาองคมนตรี” ซึ่งเป็นฝ่ าย“นิติบัญญัติ” และทางการปกครองท้องถิ่น“การปกครองท้องถิ่น” คือ
“สุขาภิบาล”มีการฝึกซ้อมการเลือกตั้งของสุขาภิบาลบางแห่งด้วย
การปฏิวัติในขั้นตอนที่สอง โดยเฉพาะคือการฝึกหัดทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตยในประเทศไทยนั้น
มีอุปสรรคมากกว่าประเทศญี่ปุ่น ไม่ใช่เพราะคนไทยล้าหลังกว่าคนญี่ปุ่น
แต่เป็นเพราะอิทธิพลของอานาจเก่าในประเทศไทยรุนแรงมากทาให้พระองค์ท่านต้องดาเนินการอย่างสุขุมรอบคอบ
มิฉะก็อาจเกิดการนองเลือดขึ้นได้
ส่วนในประเทศญี่ปุ่นในขณะนั้น พวกอานาจเก่าโดยเฉพาะคือพวก “โซกุน”
เมื่อถวายอานาจให้แก่พระจักรพรรดิแล้วก็ไม่ขัดขวางการสถาปนาการปกครองแบบประชา
แต่หันไปแข่งขันกับชาวต่างประเทศในการประกอบการค้าและอุตสาหกรรมลงทุนตั้งบริษัทใหญ่ๆเช่นบริษัทมิตซุย
บริษัททมิตซูบิซิ เป็นต้นทาให้อุตสาหกรรมของญี่ปุ่นพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว
การพัฒนาอุตสาหกรรมนั้นเป็นการส่งเสริมการสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย
การดาเนินในขั้นตอนที่สองของการสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตยของพระจักรพรรดิยี่ปุ่น
จึงเป็นไปได้โดยง่ายและรวดเร็ว
ส่วนในประเทศไทย ภายหลังการปฏิวัติในขั้นตอนที่หนึ่งของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
คนไทยที่มีเงินไม่นิยมลงทุนทางอุตสาหกรรมนิยมซื้อที่ดินทิ้งไว้ให้รกร้างจะมีการทาอุตสาหกรรมบ้างก็เป็นส่วนน้อย
และมักจะล้มเหลวการพัฒนาอุตสาหกรรมจึงตกไปอยู่ในกามือของคนต่างชาติและคนจีน
อันก่อให้เกิดผลในด้านหนึ่งติดอยู่กับผลประโยชน์แบบเก่า อีกด้านหนึ่งทาให้เศรษฐกิจของชาติตกอยู่ในความล้าหลัง
ทั้งสองด้านนี้ขัดต่อการปกครองแบบประชาธิปไตย
จึงทาให้พระมหากษัตริย์ทรงประสบอุปสรรคอันใหญ่หลวงในการสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู้หัว
ในระหว่างที่ทรงดาเนินการฝึกหัดการปกครองแบบประชาธิปไตยแก่ประชาชนอยู่นั้น
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็เสด็จสวรรคตในพุทธศักราช2453
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงสืบทอดพระราชกรณียกิจการสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตยของสมเด็จพระราชบิดาโดยเน้นหนัก
“การขยายเสรีภาพ”โดยเฉพาะเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองและเสรีภาพของหนังสือพิมพ์
ทรงตั้งหนังสือพิมพ์ทรงเขียนบทความวิจารณ์ทางการเมืองตอบโต้กับพี่น้องประชาชนภายใต้พระนามปากกาว่า
“อัศวพาหุ”เป็นต้น
เสรีภาพอันกว้างขวางในรัชสมัยของพระองค์ทาให้ชาวยุโรปเรียกขานพระองค์ว่า “ดีโมเครติคคิง”
(DemocraticKing) หรือ”พระมหากษัตริย์ประชาธิปไตย”ทรงส่งเสริมลัทธิชาตินิยมแบบประชาธิปไตย
ทรงฝึกหัดทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยได้สร้างนครประชาธิปไตยจาลองขึ้นเรียกว่า “ดุสิตธานี”
ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯนี้ขบวนการประชาธิปไตยในประเทศไทยได้เผชิญหน้ากับศัตรู
หรือขบวนการรัฐธรรมนูญเป็นครั้งแรกขบวนการประชาธิปไตย
คือขบวนการที่มีความมุ่งหมายเพื่อสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตยหรือเรียกง่ายๆว่า “สร้างประชาธิปไตย”
แต่ในขณะเดียวกันก็จะมีขวนการอื่นๆซึ่งจะโดยเจตนาหรือไม่มีความรู้กตาม
แต่ผลสุดท้ายการปฏิบัตินั้นทาลายการสร้างประชาธิปไตยบางขบวนการแสดงออกในรูป“ล้าหลัง”
เป็นการทาลายการสร้างประชาธิปไตยโดยตรงซึ่งประชาชนเห็นได้ชัดเจนว่าเป็น“ขบวนการเผด็จการ”
แต่บ้างขบวนการแสดงออกในรูป“ก้าวหน้า”ทาให้ประชาชนเข้าใจผิดคิดว่าเป็น“ขบวนการประชาธิปไตย”
ขบวนการหนึ่งแสดงออกในรูป“ขบวนการรัฐธรรมนูญ”
ซึ่งจะมีอญู่ในทุกประเทศในช่วงแรกของการสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย
และเป็นขบวนการที่ทางานด้วยการที่มีประสิทธิภาพอย่างที่สุดในการทาลายล้างประชาธิปไตย
เพภราะในขณะที่ขบวนการประชาธิปไตยดาเนินการเพื่อสร้างประชาธิปไตยอยู่นั้น
ขบวนการรัฐธรรมนูญจะดาเนินการเพื่อสร้างรัฐธรรมนูญแทนการสร้างประชาธิปไตย
และจะได้รับการสนับสนุนจากประชาชนด้วยความเข้าใจผิดว่าการสร้างรัฐธรรมนูญก็คือการสร้างประชาธิปไตย
เข้าใจผิดว่าการเรียกร้องรัฐธรรมนูญก็คือ“การเรียกร้องประชาธิปไตย”แต่ความจริงแล้ว“การสร้างรัฐธรรมนูญ”หรือ
“การเรียกร้องรัฐธรรมนูญ”นั้นคือ“การทาลายการสร้างประชาธิปไตย”
เพราะการสร้างรัฐธรรมนูญหรือการเรียกร้องรัฐธรรมนูญคือการเปลี่ยนแปลงเฉพาะ “รูปการปกครอง”หรือ
การเปลี่ยนแปลงเฉพาะ“รูปแบบ”แต่ไม่เปลี่ยนแปลงใน “หลักการปกครอง”หรือเปลี่ยนแปลงใน“เนื้อหา”
ไม่ยอมให้อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน
ตัวอย่างของขบวนการรัฐธรรมนูญที่ทาลายการสร้างประชาธิปไตยที่เห็นชัดเจนที่สุดก็คือ“ขบวนการยังเตร์ก”
ในประเทศตุรกี และ“พรรคก๊กมินตั๋ง”ในประเทศจีน
ซึ่งได้เปลี่ยนแปลงการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นการปกครองแบบเผด็จการระบบประธานาธิปบดี
ยังผลหาอาณาจักร์ “อ็อโตมัน”(OttomaqnEmppire) แห่งตุรกีล่มจม
และจีนกลายเป็นคอมมิวนิสต์ในที่สุดเพราะขบวนการรัฐธรรมนูญทาลายการสร้างประชาธิปไตยจนหมดสิ้น
เราจะเห็นได้ชัดเจนว่าขบวนการรัฐธรรมนูญนั้นมีอนุภาพในการทาลายล้างการสร้างประชาธิปไตยอย่างยิ่ง
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวล้นเกล้ารัชกาลที่๗ทรงมีแผนมอบอานาจให้กับประชาชนอย่างจริงจัง
แต่ก็ถูกต่อต้านจากอิทธิพลของ“อานาจเก่า” หรือ“ขบวนการล้าหลัง”ในขณะเดียวกันก็ถูกต่อต้านจาก
“ขบวนการก้าวหน้า”หรือ”ขบวนการรัฐธรรมนูญ”ภายหลังจากการยึดอานาจเมื่อเดือนมิถุนายน2475 ซึ่งเราถือกันได้ว่า
การสร้างประชาธิปไตยในประเทศไทยซึ่งดาเนินมาเป็นลาดับตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๕ พร้อมกับญี่ปุ่น
และกาลังจะสาเร็จอยู่แล้วนั้นถูกทาลายไปหมดสิ้นตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
นับตั้งแต่เดือนมิถุนายน2475 เป็นต้นมา คณะหรือพรรคต่างๆที่ได้เข้ากุมอานาจต่อกันมาจนถึงปัจุบัน
ไม่ว่าด้วยวิธีการรัฐประหารหรือการเลือกตั้ง คือความต่อเนื่องของขบวนการรัฐธรรมนูญในประเทศไทย
ซึ่งได้รักษาและกระซับการปกครองแบบเผด็จการในรูปหนึ่รูปใดให้แน่นหนาขึ้นโดยลาดับ
ทาให้อานาจอธิปไตยรวมศูนย์อยู่ในคนส่วนน้อยมีกี่แสนคนถึงกับมีผู้กล่าวว่า
“พรรคการเมืองมรสภาพเป็นบริษัทค้าการเมือง”ช่องว่าระหว่าคนรวยกับคนจนห่างกันดุจฟ้ ากับเหว
การพัฒนาเศษรฐกิจและสังคมยิ่งทามากเพียงใดคนรวยยิ่งรวยยิ่งขึ้น คนจนยิ่งจนลง
และความเหลวแหลกทางการเมืองและสังคมหนัหน่วงรุนแรงจนเหลือที่จะบรรยายได้
ขบวนการรัฐธรรมนูญดังกล่าว
จุดประสงค์เพื่อเข้าแย่งชิงกันกุมอานาจเพื่อการรักษาการปกครองแบบเผด็จการรัฐสภาไว้ ด้วยวิธีการ 2อย่างคือ
"ยึดอานาจ"และ "เลือกตั้ง"โดยถือเอาการเปลี่ยนแปลงแก้ไขรัฐธรรมนูญเป็นข้ออ้างในการใช้กาลังโค่นล้มกัน
แล้วเปลี่ยนแปลงแก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อให้สอดคล้องกับผลประโยชน์ของพวกตนและทาการเลือกตั้ง
เมื่อเลือกตั้งแล้วและตกลงกันไม่ได้ในการแบ่งปันผลประโยชน์จึงต้องโค่นล้มและเปลี่ยนแปลงแก้ไขรัฐธรรมนูญกันใหม่
หมุนเวียนเป็นวัฏจักรระหว่างการโค่นล้มด้วยกาลังหรือการยึดอานาจกับการเลือกตั้ง
โดยมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขรัฐธรรมนูญเป็นแกนกลางของการหมุนเวียนเพราะได้ถือเอารัฐธรรมนูญเป็นสิ่งสูงสุด
ตามรรมชาติของขบวนการรัฐธรรมนูญ
สิ่งที่กล่าวมาทั้งหมด
เพื่อที่จะให้ได้รับทราบและตระหนักถึงพระมหากรุณาธิคุณอันใหญ่หลวงของพระมหากษัตริย์ในพระบรมราชจักรีวงศ์ที่ทรง
มีน้าพระหฤทัยอันแน่วแน่และมีแผนการอันมั่นคงที่จะมอบพระราชอานาจแห่งพระองค์ให้กับปวงชนชาวไทย
เมื่อก่อนมิถุนายน2475 เราถือได้ว่าเป็นห้วงเวลาแห่งการสร้างประชาธิปไตยแต่หลังมิถุนายน2475
เป็นห้วงเวลาแห่งการสร้างรัฐธรนรมนูญซึ่งเป็นห้วงเวลาแห่งการทาลายและขัดขวางการสร้างประชาธิปไตย
คนไทยเราเสียเวลาไปกับความสนใจและการศึกษาในด้านการทาลายและขัดขวางการสร้างประชาธิปไตยเสียบเกือบกว่า
80 ปี ด้วยความหลงผิดที่คิดว่าการทาลายและการขัดขวางการสร้างประชาธิปไตยเป็นประชาธิปไตย
ช่วงเวลาที่มีค่าควรแก่การศึกษาและจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาคือช่วงเวลาแห่งการสร้างประชาธิปไตย
ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
เท่าที่กล่าวมาแล้วแต่ละช่วงโดยย่อ
เป็นที่น่าเสียดายอย่างยิ่งว่าคนไทยเราศึกษาปัญหาประชาธิปไตยในช่วงนี้น้อยเกินไป
แต่กลับทุ่มเทความสนใจให้แก่การศึกษาในช่วงเวลาตั้งแต่มิถุนายน2475 เป็นต้นมา ทัศนคติเช่นนี้คือ
อุปสรรคสาคัญที่สุดประการหนึ่งของความสาเร็จของประชาธิปไตยในประเทศไทยเรา
ประชาชนต้องการประชาธิปไตย ประชาชนไม่ต้องการรัฐธรรมนูญประชาชนได้พิสูจน์ทราบด้วยตัวเองมาเกือบ
83 ปี เรามีรัฐธรรมนูญฉบับที่ดีที่สุดที่เป็นประชาธิปไตยมากที่สุดหลายฉบับแล้ว
แต่ก็ยังแก้ไขปัญหาพื้นฐานของประเทศไม่ได้อยู่นั่นเอง
เราคงต้องดาเนินตามรอยเบื้องพระยุคลบาท
ดาเนินรอตามแนวทางของพระมหากษัตริย์ไทยในพระบรมราชจักรีวงศ์ทุกพระองค์ในการสร้างประชาธิปไตย
เพื่อให้ปณิธานของประชาชนไทยที่ว่า“จะเทิดทูนทุกพระองค์วงศ์จักรี”ให้ปรากฏเป็นจริง.
(เรียบเรียงจากข้อมูลจากแฟ้ มเอกสารของท่านอาจารย์ประเสริฐทรัพย์สุนทร)
Credit:ครูทองคาวิรัตน์ edit:thongkrm_virut@yahoo.com

More Related Content

What's hot

หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยบทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยSaiiew
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์Srinthip Chaiya
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีPracha Wongsrida
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง Sherry Srwchrp
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4wittawat_name
 
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นlek5899
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์IamPloy JunSeop
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Pracha Wongsrida
 

What's hot (20)

หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยบทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
 
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
การปฏิวัติทางภูมิปัญญา
การปฏิวัติทางภูมิปัญญาการปฏิวัติทางภูมิปัญญา
การปฏิวัติทางภูมิปัญญา
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 

Similar to การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475

สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาsangworn
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยปาล์มมี่ ไม่เล่นเกมส์
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยPadvee Academy
 
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัยการเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัยKamonchanok VrTen Poppy
 

Similar to การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475 (11)

ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
การสถาปนา
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัยการเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
 

More from Thongkum Virut

งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัยThongkum Virut
 
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)Thongkum Virut
 
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยบิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยThongkum Virut
 
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณการปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณThongkum Virut
 
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...Thongkum Virut
 
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓Thongkum Virut
 
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...Thongkum Virut
 
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริหนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริThongkum Virut
 
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่Thongkum Virut
 
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรThongkum Virut
 
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์Thongkum Virut
 
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการสหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการThongkum Virut
 
ประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูThongkum Virut
 
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกเหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกThongkum Virut
 
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...Thongkum Virut
 
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยเรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยThongkum Virut
 
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยคู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยThongkum Virut
 
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาThongkum Virut
 

More from Thongkum Virut (20)

งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัย
 
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
 
All10
All10All10
All10
 
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยบิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
 
ข้าว
ข้าวข้าว
ข้าว
 
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณการปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
 
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
 
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
 
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
 
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริหนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
 
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
 
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
 
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
 
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการสหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
 
ประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวู
 
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกเหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
 
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
 
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยเรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
 
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยคู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
 
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
 

การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475

  • 1. การปกครองของไทยตั้งแต่อดีต-ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475 สภาพการปกครองของสุโขทัยแบ่งออกเป็นระยะที่สาคัญดังนี้ 1. ระยะที่1 ยุคก่อนราชอาณาจักรสุโขทัย(ก่อนปี พ.ศ. 1761) ในระยะก่อนปี พ.ศ. 1761 อานาจของอาณาจักรเขมรรุ่งเรืองมากในดินแดนสุวรรณภูมิ โดยมีศูนย์กลางอานาจทางลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาอยู่ที่เมืองละโว้ (ลพบุรี)เขมรมีการปกครองแบบราชาธิปไตย กษัตริย์จะส่งขุนนางมาปกครองเมืองบริวารโดยเมืองบริวารจะส่งส่วยเป็นบรรณาการให้แก่พระนครหลวง ขณะเดียวกันบางถิ่นอาจเป็นอิสระมีอานาจปกครองตัวเองแบบนครรัฐกลุ่มชนคงไม่ใหญ่โต ผู้ปกครองเป็นผู้ที่ได้รับการยกย่องจากกลุ่มชนให้เป็นผู้ปกครองบริเวณที่มีความสาคัญได้แก่ เมืองศรีเทพ บริเวณวัดจุฬามณี และบริเวณเมืองสุโขทัยและเมืองศรีสัชนาลัย 2. ระยะที่2 ยุคอาณาจักรสุโขทัยตอนต้น(พ.ศ.1761-1921) การปกครองในยุคนี้วางรากฐานลงแบบการปกครองครัวเรือนจุดเริ่มต้นเริ่มที่“พ่อครัว”ทาหน้าที่ปกครอง ครอบครัวหลายๆครอบครัวรวมกันเป็น“เรือน” หัวหน้าก็คือ“พ่อเรือน” หลายๆ เรือนรวมกันเป็นหมู่บ้านมีหัวหน้าเรียกว่า “พ่อบ้าน”หลายๆหมู่บ้านรวมกันเรียกว่า“เมือง”หัวหน้าคือ“พ่อเมือง” และพ่อขุนคือผู้ปกครองประเทศหรือผู้ปกครองทุกเมืองนั่นเอง แม้ว่าอานาจสูงสุดและเด็ดขาดจะรวมอยู่ที่พ่อขุนเพียงคนเดียวแต่ด้วยการจาลองลักษณะครอบครัวมาใช้ในการปกครอง พ่อขุนปกครองประชาชนในลักษณะบิดาปกครองบุตรคือถือตนเองเป็นพ่อของราษฎร
  • 2. พ่อขุนเกือบทุกพระองค์ใช้อานาจในลักษณะให้ความเมตตาและเสรีภาพแก่ราษฎรตามสมควรอาณาเขตของสุโขทัย ในแผ่นดินสุโขทัยกว้างขวางใหญ่โตมาก ดังปรากฏในศิลาจารึกหลักที่1กล่าวว่า“...มีเมืองกว้างช้างหลาย ปราบเบื้องตะวันออกรอดสระหลวงสองแควลุมบาจายสคาเท้าฝั่งของเถิงเวียงจันทน์เวียงคาเป็นที่แล้ว เบื้องหัวนอนรอดคนที พระบางแพรกสุพรรณภูมิราชบุรี เพชรบุรีศรีธรรมราชฝั่งทะเลเป็นทีแล้ว เบื้องตะวันตกรอดเมืองแอดเมืองหงสาวดีสมุทรหาเป็นแดนเบื้องตีนนอนรอดเมืองแพร่ เมืองมานเมืองพลัว พ้นฝั่งของเมืองชาว...” นักประวัติศาสตร์ทั่วไปเชื่อว่าสุโขทัยเป็นราชธานีแห่งแรกของชาวไทยในแหลงอินโดจีนตอนกลาง และลักษณะการปกครองหัวเมืองในสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราชแบ่งออกเป็น3 ประเภทคือ 1. หัวเมืองชั้นใน ได้แก่ เมืองหน้าด่านหรือเมืองลูกหลวงล้อมรอบราชธานีทั้ง4 ด้านคือ ศรีสัชนาลัย(ด้านหน้า) สองแคว(ด้านตะวันออก)สระหลวง(ด้านใต้)และชากังราว(ด้านตะวันตก) การปกครองหัวเมืองชั้นในนั้นขึ้นอยู่กับสุโขทัยโดยตรง 2. หัวเมืองชั้นนอก ได้แก่ เมืองท้าวพระยามหานครที่มีผู้ดูแลโดยตรงแต่ขึ้นอยู่กับสุโขทัย ในรูปลักษณะของการสวามิภักดิ์ในฐานะเป็นเมืองขึ้นหรือเมืองออกหัวเมืองชั้นนอกมี แพรกอู่ทอง ราชบุรี ตะนาวศรี แพร่ หล่มสักเพชรบูรณ์ และศรีเทพ 3. เมืองประเทศราช ได้แก่เมืองที่เป็นชาวต่างภาษามีกษัตริย์ปกครองขึ้นกับสุโขทัยในฐานะประเทศราช มีนครศรีธรรมราชมะละกายะโฮร์ ทะวายเมาะตะมะหงสาวดีน่านเซ่าเวียงจันทน์และเวียงคา 3. ระยะที่3 ยุคอาณาจักรสุโขทัยตอนหลาย(พ.ศ.1921-1981) ในปี พ.ศ. 1921 ซึ่งตรงกับสมัยของพระมหาธรรมราชาที่2ของพาราจักรสุโขทัย ได้ยอมอยู่ใต้อานาจการปกครองของอยุธยา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรบทีเมืองชากังราวที่กระมหาธรรมราชาออกถวายบังคมต่อพระบรมราชาธิราชที่ 1 แห่งอาณาจักรอยุธยาการเปลี่ยนแปลงในท้องถิ่นครั้งนี้ที่สาคัญคือ การที่อยุธยาพยายามทาลายศูนย์กลางของอาณาจักรสุโขทัยคือแบ่งแยกอาณาจักสุโขทัยเป็น 2ส่วนคือ 1. บริเวณลุ่มแม่น้ายมแม่น้าน่านให้มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองสองแควให้กษัตริย์ของสุโขทัยปกครองต่อไป และอยู่ในอานาจของอยุธยาในฐานะประเทศราช 2. บริเวณลุ่มแม่น้าปิงให้มีศูนย์กลางที่เมืองชากังราว และขึ้นตรงต่ออยุธยาขณะเดียวกันอยุธยาก็พยายามผนวกอาณาจักรสุโขทัยเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอยุธยา และประสบความสาเร็จในสมัยพระบรมราชาธิราชที่2(เจ้าสามพระยา)สาหรับลักษณะการปกครองที่ปรากฏในระยะนี้
  • 3. เป็นแบบผสมระหว่างสุโขทัยและรับอิทธิพลการปกครองแบบราชาธิปไตยของอยุธยาเข้าไปด้วย ในระยะนี้นับว่าเมืองสองแควมีความสาคัญที่สุดขณะเดียวกันเมืองสุโขทัยเก่าก็ค่อยๆลดความสาคัญลง 4. ระยะที่4 ยุคกรุงศรีอยุธยาจนถึงสมัยรัชกาลที่5แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (พ.ศ.1981-2435) ในยุคนี้แนวความคิดเกี่ยวกับกษัตริย์เปลี่ยนแปลงไปตามคติพราหมณ์ ซึ่งพวกเขมรเป็นผู้นามาโดยถือว่ากษัตริย์เป็นผู้ได้รับอานาจจากสวรรค์หรือเป็นพระเจ้าบนมนุษย์โลก ลักษณะการปกครองจึงเป็นแบบนายปกครองบ่าวหรือเจ้าปกครองข้า ในสมัยพระบรมรามาธิบดีที่1 ทรงวางระบบการปกครองส่วนกลางแบบ“จตุสดมภ์”ตามแบบของขอม มีกษัตริย์เป็นผู้ปกครองสูงสุดและมีเสนาบดี 4 คนคือ ขุนเมือง ขุนวัง ขุนคลัง และขุนนาเป็นผู้ช่วยดาเนินการมีหน้าที่ดังนี้... 1. เมือง รับผิดชอบด้านการรักษาความสงบเรียบร้อยและปราบปรามโจรผู้ร้าย 2. วัง มีหน้าที่เกี่ยวกับราชสานักและตัดสินคดีความต่างๆ 3. คลังมีหน้าที่เกี่ยวกับด้านคลังการค่าและภาษีอากรประเภทต่างๆ 4. นา มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับด้านการเกษตรสาหรับการปกครองส่วนภูมิภาคหรือหัวเมืองต่างๆ ในระยะแรกพระรามาธิบดีที่1 ทรงเลียนแบบการปกครองของสุโขทัยคือมีหัวเมืองชันในชั้นนอก และหัวเมืองประเทศราชแต่ต่อมาในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้ทาการปฏิรูปการปกครองหัวเมือง ให้มีลักษณะการรวมอานาจไว้ที่ศูนย์กลางคือเมืองหลวงมากขึ้น โดยขยายอาณาเขตให้หัวเมืองชั้นในกว้างขวางขึ้นกว่าเดิมหัวเมืองชั้นนอกกาหนดเป็นหัวเมืองชั้นเอกโทตรี ตามลาดับตามขนาดและความสาคัญของเมืองโดยทางส่วนกลางจะส่งขุนนาง หรือพระราชวงศ์ไปทาการปกครองแต่สาหรับเมืองประเทศราชยังปล่อยให้มีอิสระในการปกครองเช่นเดิม นอกจากนี้สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้ทรงปรับปรุงระบบบริหารขึ้นใหม่ โดยแยกการบริหารออกเป็นฝ่ ายพลเรือนและฝ่ ายทหารมีสมุหนายกเป็นผู้รับผิดชอบด้านพลเรือน บริหารกิจการเกี่ยวกับเมืองวังคลังและนาและมีสมุหกลาโหมรับผิดขอบด้านการทหารและการป้ องกันประเทศ แต่ภายหลังในสมัยสมเด็จพระเพทราชาราวพ.ศ.2234 ทั้งสมุหนายกและสมุหกลาโหมต้องทางานทั้งด้านทหารและพลเรือนพร้อมกัน โดยสมุหกลาโหมปกครองทั้งฝ่ายพลเรือนและทหารในหัวเมืองด้านใต้ และสมุหนายก ปกครองทั้งฝ่ ายพลเรือนและทหารในหัวเมืองด้านเหนือ ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนารถเป็นต้นมา ถึงสมัยรัชกาลที่5แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (พ.ศ.1981-2437) ฐานะของเมืองต่างๆ ในอาณาจักรสุโขทัย เดิมต้องเปลี่ยนแปลงไปตามขนาดและความสาคัญของเมืองคือ 1. หัวเมืองชั้นนอก ได้แก่ เมืองสองแคว
  • 4. 2. หัวเมืองชั้นโทได้แก่ เมืองสวรรคโลก เมืองสุโขทัยเมืองชากังราวและเมืองเพชรบูรณ์ 3. หัวเมืองชั้นตรี ได้แก่ เมืองพิชัยเมืองสระหลวง(พิจิตร)เมืองพระบาง(นครสวรรค์) 5. ระยะที่5 ยุคการปกครองเริ่มแรกของการพัฒนาขึ้นสู่ความเปลี่ยนแปลงทางประชาธิปไตย (พ.ศ.2435-2475) ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวประเทศไทย เป็นประเทศหนึ่งในกลุ่มประเทศกลุ่มแรกๆที่เริ่มพัฒนาขึ้นสู่ความเปลี่ยนแปลงทางประชาธิปไตย ถัดจากกลุ่มประเทศใน ยุโรปและอเมริกาเหนือ กลุ่มประเทศที่กล่าวถัดมาเป็นกลุ่มที่สองประกอบด้วยไทยญี่ปุ่นและจีน ซึ่งดารงเอกราชอยู่ได้ในกระแสแห่งลัทธิล่าอาณานิคมในอดีตไทยนั้นก้าหน้ากว่าญี่ปุ่นและจีนมาก่อน เพราะมีความสัมพันธ์ทางการค้าและทางวิชาการกับยุโรปมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาโดยเฉพาะในรัชสมัยสมเด็จพระนาร ายณ์มหาราชซึ่งกรุงศรีอยูธยาเป็นศูนย์กลางการค้าระหว่างตะวันตกกับตะวันออก มีความเจริญทางด้านเศรษฐกิจสูงสุดและมีความสัมพันธ์ทางวิชาการกับยุโรปอย่างกว้างขวางมีการส่งนักศึกษาไปศึกษายั งประเทศฝรั่งเศสจานวนหนึ่ง ถ้าไม่มีการตัดความสัมพันธ์กับยุโรปในสมัยสมเด็จพระเพทราชาและไม่เสียกรุงแก่พม่าแล้ว กรุงศรีอยุธยาจะพัฒนาขึ้นเป็นประเทศทุนนิยมหรือเสรีนิยมก่อนประเทศใดๆทั้งหมดในตะวันออกไกล ความสัมพันธ์กับยุโรปเพิ่งฟื้นฟูขึ้นใหม่ในสมัยรัชกาลที่๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์เริ่มทาสัญญาการค้ากับยุโรปในรัชกาลที่๓ และดาเนินความสัมพันธ์ทางการฑูตอย่างกว้าขวางกับยุโรปและอเมริกาในรัชกาลที่๔ ความสัมพันธ์กับตะวันตกเป็นเงื่อนไขให้เศรษฐกิจเสรีนิยมหรือทุนนิยมกาเนิดขึ้นในประเทศไทย ในห้วงเวลาดังกล่าวมีประเทศเอกราชในตะวันออกไกล 3ประเทศ คือไทย ญี่ปุ่นและจีน ซึ่งเศรษฐกิจทุนนิยมได้เริ่มขึ้นพร้อมๆกันแต่ไทยนาหน้าญี่ปุ่นและจีน เพราะไทยไม่มีการกีดกันความสัมพันธ์กับตะวันตก ประเทศไทยสามารถต่อเรือกลไฟและมีโรงเลื่อย โรงสีก่อนญี่ปุ่น ในขณะเดียวกับที่ญี่ปุ่นถูกบังคับให้เปิดความสัมพันธ์ทางการค้ากับตะวันตกในสมัยรัชกาลที่ ๔ และมหาอานาจตะวันตกก็ต้องทาสงครามอย่างหนักกับจีนกว่าจะเปิดความสัมพันธ์กันได้ ไทยจึงก้าวหน้าทางเศรษฐกิจทุนนิยมมากกว่าญี่ปุ่นและจีนในยุคเดียวกัน การพัฒนาเศรษฐกิจทุนนิยมเป็เงื่อนไขให้เกิดขบวนการประชาธิปไตย และขบวนการประชาธิปไตยในประเทศทั้งสามนี้มีพระมหากษัตริย์เป็นผู้นา ไทยมีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวญี่ปุ่นมีพระจักรพรรดิเมจิและจีนมีพระเจ้ากวางสูทรงเป็นผู้นา ขบวนการประชาธิปไตยของญี่ปุ่นก้าวหน้ากว่าของไทยและจีนเพราะพระเจ้าจักรพรรดิได้รับการสนับสนุนจากเสนาบดี ขุนนาง และพวกซามูไรหนุ่มในการสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตยจึงสามารถยกเลิกอานาจของโชกุนได้
  • 5. ส่วนประเทศไทย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวต้องทรงต่อสู้อย่างยากลาบากและยาวนานกับผู้สาเร็จราชการแผ่นดินซึ่งกุมอา นาจไว้เสมือนโซกุนของญี่ปุ่น ทาให้พระราชกรณียกิจชั้นต้นในการสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตยช้าไป กว่าญี่ปุ่นถึง20 ปี แต่ก็นับว่าคุ้มค่าเพราะสามารถเป็นไปได้โดยราบรื่นตามพระราชดาริ เพราะถ้าหักโหมให้เร็วกว่านั้น ก็จะเกิดการนองเลือดอย่างไม่อาจจะหลีกเลี่ยงได้ พระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงวิจารณ์เรื่องนี้ไว้เมื่อปี พุทธศักราช ๒๔๗๐ ว่า“การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากแบบเดิมเป็นการตั้งกระทรวง 12กระทรวงนี้ ต้องนับว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวงซึ่งเรียกกันธรรมดาว่า “พลิกแผ่นดิน” ถ้าเรียกตามภาษาอังกฤษก็ต้องเรียกว่า “เรฟโวลูชั่น”(Revolution) การเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวงครั้งนี้ มีน้อยประเทศนักที่จะทาสาเร็จได้โดยราบรื่นปราศจากการจลาจล การที่ประเทศสยามได้เปลี่ยนแปลงวิธีการปกครองอย่าง“เรฟโวลูชั่น”ได้โดยไม่ต้องเสียเลือดเนื้อแม้แต่หยดเดียว ต้องนับว่ามหัศจรรย์และเป็นโชคดีของประเทศสยามอย่างยิ่ง การเปลี่ยนแปลงนี้ย่อมขัดกับผลประโยชน์ของบุคคลบางจาพวกจึงยากนักที่จะสาเร็จไปได้โดยราบรื่น การเปลี่ยนแปลงนี้ทาได้โดยราบรื่นเพราะสมเด็จพระเจ้าแผ่นดินเป็นผู้ทรงเริ่ม ประกอบกับพระเจ้าแผ่นดินพระองค์นั้นทรงพระปรีชาสามารถยิ่งกว่าผู้ใดทั้งหมดในเวลานั้น ทั้งมีพระอัธยาศัยละมุนละม่อมทรงสามารถปลูกความจงรักภักดีในชนทุกชั้นที่ได้เข้าเฝ้ าฯ ใกล้ชิดพระองค์แม้แต่เพียงครั้งเดียวก็ประทับใจและเกิดความนิยมชมชอบต่อพระองค์” พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงวิจารณ์พระบรมราโชบายสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการและเหมาะสมกับลักษณะพิเศษ ตลอดจนสภาวการณ์ของประเทศไทยใว้ตอนหนึ่งว่า “พระราชดารัสนี้ นอกจากจะให้ความรู้อันดียิ่งดังกล่าวมาแล้วยังทาให้ทราบในพระราชหฤทัยของสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงเป็นอย่างดีว่า พระองค์ท่านมิได้ทรงนึกถึงสิ่งอื่นเลยนอกจากความสุขของประชาชนและความเจริญของประเทศเป็นที่ตั้ง เป็นหลักสาคัญในการที่จะทรงพระราชดาริกิจการใดๆทั้งปวง” จากรายละเอียดที่ยกมาคงจะเป็นเครื่องยืนยันได้ว่าขบวนการประชาธิปไตยของประเทศไทยเรานั้น มีความสมบูรณ์อย่างที่สุดมาตั้งแต่เริ่มแรกโดยด้านหนึ่งมีนโยบายสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตยที่ถูกต้อง อีกด้านหนึ่งมีผู้นาที่เป็นนักประชาธิปไตยและนักปฏิวัติที่ยิ่งใหญ่ คือพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขบวนการประชาธิปไตยในประเทศไทยซึ่งมีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวซึ่งทรงเป็นผู้นานั้นประกอบด้วย เจ้านายขุนนาง และปัญญาชนบางส่วน ซึ่งต่างก็เร่งเร้าให้พระองค์ท่านสร้างประชาธิปไตยตามอย่างญี่ปุ่นและยุโรปโดยเร็ว
  • 6. หลังจากคณะเจ้านายและขุนนางกราบบังคมทูลเป็นเวลา ๗ปี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ได้ทรงทา “เรฟโวลูชั่น”เมื่อพุทธศักราช2435 ประกอบด้วยพระราชกรณียกิจต่างๆเช่นก่อตั้งชาติสยามยกเลิกตาแหน่งอัครมหาเสนาบดีคือสมุหนายก และสมุหกลาโหมยกเลิกตาแหน่งเสนาบดีจตุสดมภ์จัดการปกครองส่วนกลางเป็น ๑๒กระทรวง จัดการปกครองส่วนภูมิภาคเป็น“เทศาภิบาล”จัดการปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นสุขาภิบาลเลิกทาส จัดกองทัพแบบสมัยใหม่ และปรับปรุงประเทศในทุกๆด้าน “เรฟโวลูชั่น”หรือ “การปฏิวัติเพื่อสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย“ในขั้นตอนที่หนึ่งนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอญู่หัว ทรงกระทาสาเร็จโดยพื้นฐานในระหว่างพุทธศักราช๒๔๓๕จนถึงพุทธศักราช๒๔๕๐ ก่อนที่ “เรฟโวลูชั่น”อันยิ่งใหญ่จะปรากฏขึ้นเมื่อพ.ศ.๒๔๓๕คนทั่วไปหาได้ล่วงรู้ถึงพระราชกรณียกิจ และทราบในพระราชหฤทัยอย่างชัดเจนไม่เพราะเป็นพระราชกรณียกิจอันลาบากยากยิ่ง สถานการณ์ในประเทศไทยนั้นมีความรุนแรงสับสนและสลับซับซ้อนกว่าญี่ปุ่นมากมายนัก ต้องทรงใช้พระวิริยะอุตสาหะและความสุขุมคัมภีรภาพเพื่อเป็นหลักประกันของความสาเร็จอย่างสันติ ในพระราชหัตถเลขาตอบแก่หนังสือกราบบังคมทูลของคณะเจ้านายและขุนนางของรัชกาลที่ ๕ พระองค์ท่านได้ทรงอธิบายไว้ ตอนหนึ่งว่า “ในเบื้องต้นนี้เราขอตอบแก่ท่านทั้งปวงว่า เราชอบใจอยู่ในการซึ่งพระบรมวงศานุวงศ์แลข้าราชการของเราได้ไปเห็นการในประเทศอื่นแล้วระลึกถึงประเทศของตน ปราถนาที่จะป้ องกันอันตราย และจะให้มีความยั่งยืนมั่นคงในอานาจอันเป็นอิสรภาพในข้อความธรรมดาที่ได้กล่าวมาแล้วที่เป็นตัวใจความทุกอย่างนั้นเ รายอมรับว่าเป็นจริงดังนั้น เราขอแจ้งความแก่ท่านทั้งปวงให้เราทราบพร้อมกันด้วยว่าความที่น่ากลัวอันตรายอย่างใดซึ่งได้กล่าวมานั้นที่เป็นการที่จะ แลเห็นได้ขึ้นใหม่ของเราเลยแต่การที่ได้คิดเห็นอยู่ก่อนแล้วทั้งสิ้น แลการที่ควรจะทนุบารุงให้เจริญอย่างไรเล่าเรามีความปราถนาแรงกล้าที่จะจัดการนั้นให้สาเร็จตลอดไปได้ ไม่ต้องมีความห่วงระแวงอย่างหนึ่งอย่างใดเราจะป็นผู้ขัดขวางในการซึ่งจะเสียอานาจซึ่งเรียกว่า “แอบโซลูท” (Absolute) เป็นต้นนั้นเลยแลการซึ่งเราได้ขวนขวายตะเกียกตระกายอยู่ในการที่จะเปลี่นแปลงมาแต่ก่อน จนมีเหตูบ่อยๆเป็นพยานของเราที่จะยกขึ้นชี้ได้ว่า เรามิได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินซึ่งเหมือนอย่าคางคกตกอยู่ในกระลาครอบ ที่จะพึงทรมานให้สิ้นทิษฐิ ถือว่าตัวโตนั้นด้วยอย่างหนึ่งไดเลย” ต่อจากนั้น ได้ทรงอธิบายถึงสถานการณ์เมื่อเสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติเมื่อพระชนมายุเพียง 15พรรษา ภายใต้อานาจอันยิ่งใหญ่ของผู้สาเร็จราชการแผ่นดินซึ่งทรงใช้คาทับศัพท์ว่า “รีเจนท์”(Regent)ให้เข้าใจความจริงว่า เป็นการเข้าใจผิดที่บางคนคิดว่าเมื่อเป็นพระเจ้าแผ่นดินแล้วถ้าประสงค์สิ่งใดก็จะได้ตามนั้น หรือบางคนอาจจะเข้าว่าพระองค์มัความอ่อนแอไม่สามารถหักหารต่อผู้หนึ่งผู้ใดจึงไม่เปลี่ยนแปลงการปกครอง ทรงอธิบายให่เห็นว่าอานาคของเสนาบดีสามารถตั้งพระเจ้าแผ่นดินมาก่อนแล้ว
  • 7. และเมื่อเสด็จขึ้นครองราชย์ทรงพระเยาว์นั้นก็มีผู้สาเร็จราชการแผ่นดินอานาจจึงตกอยู่แก่ผู้สาเร็จราชการและเสนาบดี การเอาอานาจคืนในสถานการณ์เช่นนั้นจึงเป็นการยากอย่างที่สุดทรงใช้วิธีการเริ่มต้นด้วยการแทรกพระองค์เข้าไปใน “ลียิสเลทีฟ”(Legislative)ซึ่งในปัจจุบันเรียกว่า“ฝ่ านนิติบัญัติ” ราชการไทยในสมัยก่อนก็เช่นเดียวกับประเทศอื่น“เอ็กเซ็คคิวทีฟ”(Executive)และ“ลียิสเลทีฟ” รวมอยู่ในพระเจ้าแผ่นดินหรือเมื่อมีผู้สาเร็จราชการแผ่นดินอานาจทั้งสองนี้ก็จะอยู่กับผู้สาเร็จราชการแผ่นดิน แต่ผู้สาเร็จราชการแผ่นดินและเสนาบดีนั้นสนใจแต่ตาแหน่ง “เอ็กเซ็คคิวทีฟ”หรือ“ตาแหน่งบริหาร” ไม่ค่อยจะสนใจในตาแหน่ง“ลียิสเลทีฟ” หรือตาแหน่งใน“ฝ่ านนิติบัญญัติ”ระองค์ท่านจึงทรงแทรกเข้าไปใน “ลียิสเลทีฟ”จนสามารถตั้งเป็นสภาขึ้นได้เรียกว่า“สภาองคมนตรี” ทาหน้าที่ปรึกษาการออกกฏหมาย และพระองค์เองก็ทรงเป็นหัวหน้าเมื่อมีสภาองคมนตรีแล้วก็ทาให้ฝ่ าย “เอ็กเซ็คคิวทีฟ”กลายเป็น“กั้ฟเวิร์นมเม้นท์” (Government) หรือ“คณะเสนาบดี” หรือ“คณะรัฐบาล”นั่นเอง พระองค์ท่านจึงเป็น“หัวหน้าสภาองคมนตรี” และกลายเป็นฝ่ ายค้านของ“กั้ฟเวิร์นเม้นท์”หรือคณะรัฐบาลนั้น ต่อมาได้ทรงพยายามแทรกพระองค์ลงในอานาจ“เอ็กเซ็คคิวทีฟ”ที่ละน้อยจนสามารถเป็น“กั้ฟเวร์นเม้นท์” ได้เอง ทรงเรียกพระองค์เองว่าเป็น“ฟรีเมียร์”(Premier) หรือในปัจจุบันเรียกว่า“นายกรัฐมนตรี” อานาจของผูสาเร็จราชการแผ่นดินค่อยๆลดลงและพระองค์ทรงมีอานาจเต็มเมื่อครองราชย์มาได้ 20 ปี จะเห็นได้ว่าได้ทรงก่อรูปการปกครองแบบใหม่ขึ้นภายในการปกครองแบบเก่านั่นเอง และในการนี้มีความยากลาบากอย่างยิ่งในการที่จะทาให้ข้าราชการซึ่งเคยชินกับกิจการแบบเก่า ขาดความรู้และหย่อนความสามารถมาทาการแบบใหม่ในการปกครองแบบเก่า โดยสรุปการสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ได้ทรงกาหนดออกเป็น2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่หนึ่ง เปลี่ยนแปลงการปกครองแบบเก่าให้เป็นแบบใหม่ ดังที่พระองค์ท่านทรงกระทาสาเร็จเมื่อพุทธศักราช2435 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯทรงเรียกว่า “พลิกแผ่นดิน” และทรงใช้คาทับศัพท์ว่า“เรฟโวลูชั่น” หรือ“การปฏิวัติเพื่อสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย”ในขั้นตอนที่หนึ่งนี้ เป็นแต่เพียงการเปลี่ยนแปลง“รูปการปกครอง”ยังไม่ได้เปลี่ยนแปลง“หลักการการครอง” พูดง่ายๆว่า เปลี่ยนแปลงแต่รูปแบบยังไม่ได้เปลี่ยนยแปลง“เนื้อหา” โดยพาะก็คือยังไม่ได้เปลี่ยนแปลง“เจ้าของอานาจอธิปไตย” เพราะอานาจอธิปไตยนั้นยังเป็นของชนส่วนน้อยตามเดิมยังไม่ได้เป็นของปวงชนหรือประชาชน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงถืออานาจนั้นด้วยพระองค์เองตามเดิม หลังจากเสร็จสิ้นขั้นตอนที่หนึ่งเมื่อพุทธศักราช2435 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงฝึกหัดและทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตยกับประชาชนมาโดยลาดับ
  • 8. ทั้งทาง “สภาองคมนตรี” ซึ่งเป็นฝ่ าย“นิติบัญญัติ” และทางการปกครองท้องถิ่น“การปกครองท้องถิ่น” คือ “สุขาภิบาล”มีการฝึกซ้อมการเลือกตั้งของสุขาภิบาลบางแห่งด้วย การปฏิวัติในขั้นตอนที่สอง โดยเฉพาะคือการฝึกหัดทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตยในประเทศไทยนั้น มีอุปสรรคมากกว่าประเทศญี่ปุ่น ไม่ใช่เพราะคนไทยล้าหลังกว่าคนญี่ปุ่น แต่เป็นเพราะอิทธิพลของอานาจเก่าในประเทศไทยรุนแรงมากทาให้พระองค์ท่านต้องดาเนินการอย่างสุขุมรอบคอบ มิฉะก็อาจเกิดการนองเลือดขึ้นได้ ส่วนในประเทศญี่ปุ่นในขณะนั้น พวกอานาจเก่าโดยเฉพาะคือพวก “โซกุน” เมื่อถวายอานาจให้แก่พระจักรพรรดิแล้วก็ไม่ขัดขวางการสถาปนาการปกครองแบบประชา แต่หันไปแข่งขันกับชาวต่างประเทศในการประกอบการค้าและอุตสาหกรรมลงทุนตั้งบริษัทใหญ่ๆเช่นบริษัทมิตซุย บริษัททมิตซูบิซิ เป็นต้นทาให้อุตสาหกรรมของญี่ปุ่นพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว การพัฒนาอุตสาหกรรมนั้นเป็นการส่งเสริมการสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย การดาเนินในขั้นตอนที่สองของการสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตยของพระจักรพรรดิยี่ปุ่น จึงเป็นไปได้โดยง่ายและรวดเร็ว ส่วนในประเทศไทย ภายหลังการปฏิวัติในขั้นตอนที่หนึ่งของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คนไทยที่มีเงินไม่นิยมลงทุนทางอุตสาหกรรมนิยมซื้อที่ดินทิ้งไว้ให้รกร้างจะมีการทาอุตสาหกรรมบ้างก็เป็นส่วนน้อย และมักจะล้มเหลวการพัฒนาอุตสาหกรรมจึงตกไปอยู่ในกามือของคนต่างชาติและคนจีน อันก่อให้เกิดผลในด้านหนึ่งติดอยู่กับผลประโยชน์แบบเก่า อีกด้านหนึ่งทาให้เศรษฐกิจของชาติตกอยู่ในความล้าหลัง ทั้งสองด้านนี้ขัดต่อการปกครองแบบประชาธิปไตย จึงทาให้พระมหากษัตริย์ทรงประสบอุปสรรคอันใหญ่หลวงในการสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู้หัว ในระหว่างที่ทรงดาเนินการฝึกหัดการปกครองแบบประชาธิปไตยแก่ประชาชนอยู่นั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็เสด็จสวรรคตในพุทธศักราช2453 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสืบทอดพระราชกรณียกิจการสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตยของสมเด็จพระราชบิดาโดยเน้นหนัก “การขยายเสรีภาพ”โดยเฉพาะเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองและเสรีภาพของหนังสือพิมพ์
  • 9. ทรงตั้งหนังสือพิมพ์ทรงเขียนบทความวิจารณ์ทางการเมืองตอบโต้กับพี่น้องประชาชนภายใต้พระนามปากกาว่า “อัศวพาหุ”เป็นต้น เสรีภาพอันกว้างขวางในรัชสมัยของพระองค์ทาให้ชาวยุโรปเรียกขานพระองค์ว่า “ดีโมเครติคคิง” (DemocraticKing) หรือ”พระมหากษัตริย์ประชาธิปไตย”ทรงส่งเสริมลัทธิชาตินิยมแบบประชาธิปไตย ทรงฝึกหัดทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยได้สร้างนครประชาธิปไตยจาลองขึ้นเรียกว่า “ดุสิตธานี” ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯนี้ขบวนการประชาธิปไตยในประเทศไทยได้เผชิญหน้ากับศัตรู หรือขบวนการรัฐธรรมนูญเป็นครั้งแรกขบวนการประชาธิปไตย คือขบวนการที่มีความมุ่งหมายเพื่อสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตยหรือเรียกง่ายๆว่า “สร้างประชาธิปไตย” แต่ในขณะเดียวกันก็จะมีขวนการอื่นๆซึ่งจะโดยเจตนาหรือไม่มีความรู้กตาม แต่ผลสุดท้ายการปฏิบัตินั้นทาลายการสร้างประชาธิปไตยบางขบวนการแสดงออกในรูป“ล้าหลัง” เป็นการทาลายการสร้างประชาธิปไตยโดยตรงซึ่งประชาชนเห็นได้ชัดเจนว่าเป็น“ขบวนการเผด็จการ” แต่บ้างขบวนการแสดงออกในรูป“ก้าวหน้า”ทาให้ประชาชนเข้าใจผิดคิดว่าเป็น“ขบวนการประชาธิปไตย” ขบวนการหนึ่งแสดงออกในรูป“ขบวนการรัฐธรรมนูญ” ซึ่งจะมีอญู่ในทุกประเทศในช่วงแรกของการสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย และเป็นขบวนการที่ทางานด้วยการที่มีประสิทธิภาพอย่างที่สุดในการทาลายล้างประชาธิปไตย เพภราะในขณะที่ขบวนการประชาธิปไตยดาเนินการเพื่อสร้างประชาธิปไตยอยู่นั้น ขบวนการรัฐธรรมนูญจะดาเนินการเพื่อสร้างรัฐธรรมนูญแทนการสร้างประชาธิปไตย และจะได้รับการสนับสนุนจากประชาชนด้วยความเข้าใจผิดว่าการสร้างรัฐธรรมนูญก็คือการสร้างประชาธิปไตย เข้าใจผิดว่าการเรียกร้องรัฐธรรมนูญก็คือ“การเรียกร้องประชาธิปไตย”แต่ความจริงแล้ว“การสร้างรัฐธรรมนูญ”หรือ “การเรียกร้องรัฐธรรมนูญ”นั้นคือ“การทาลายการสร้างประชาธิปไตย” เพราะการสร้างรัฐธรรมนูญหรือการเรียกร้องรัฐธรรมนูญคือการเปลี่ยนแปลงเฉพาะ “รูปการปกครอง”หรือ การเปลี่ยนแปลงเฉพาะ“รูปแบบ”แต่ไม่เปลี่ยนแปลงใน “หลักการปกครอง”หรือเปลี่ยนแปลงใน“เนื้อหา” ไม่ยอมให้อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน ตัวอย่างของขบวนการรัฐธรรมนูญที่ทาลายการสร้างประชาธิปไตยที่เห็นชัดเจนที่สุดก็คือ“ขบวนการยังเตร์ก” ในประเทศตุรกี และ“พรรคก๊กมินตั๋ง”ในประเทศจีน ซึ่งได้เปลี่ยนแปลงการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นการปกครองแบบเผด็จการระบบประธานาธิปบดี ยังผลหาอาณาจักร์ “อ็อโตมัน”(OttomaqnEmppire) แห่งตุรกีล่มจม และจีนกลายเป็นคอมมิวนิสต์ในที่สุดเพราะขบวนการรัฐธรรมนูญทาลายการสร้างประชาธิปไตยจนหมดสิ้น เราจะเห็นได้ชัดเจนว่าขบวนการรัฐธรรมนูญนั้นมีอนุภาพในการทาลายล้างการสร้างประชาธิปไตยอย่างยิ่ง
  • 10. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวล้นเกล้ารัชกาลที่๗ทรงมีแผนมอบอานาจให้กับประชาชนอย่างจริงจัง แต่ก็ถูกต่อต้านจากอิทธิพลของ“อานาจเก่า” หรือ“ขบวนการล้าหลัง”ในขณะเดียวกันก็ถูกต่อต้านจาก “ขบวนการก้าวหน้า”หรือ”ขบวนการรัฐธรรมนูญ”ภายหลังจากการยึดอานาจเมื่อเดือนมิถุนายน2475 ซึ่งเราถือกันได้ว่า การสร้างประชาธิปไตยในประเทศไทยซึ่งดาเนินมาเป็นลาดับตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๕ พร้อมกับญี่ปุ่น และกาลังจะสาเร็จอยู่แล้วนั้นถูกทาลายไปหมดสิ้นตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา นับตั้งแต่เดือนมิถุนายน2475 เป็นต้นมา คณะหรือพรรคต่างๆที่ได้เข้ากุมอานาจต่อกันมาจนถึงปัจุบัน ไม่ว่าด้วยวิธีการรัฐประหารหรือการเลือกตั้ง คือความต่อเนื่องของขบวนการรัฐธรรมนูญในประเทศไทย ซึ่งได้รักษาและกระซับการปกครองแบบเผด็จการในรูปหนึ่รูปใดให้แน่นหนาขึ้นโดยลาดับ ทาให้อานาจอธิปไตยรวมศูนย์อยู่ในคนส่วนน้อยมีกี่แสนคนถึงกับมีผู้กล่าวว่า “พรรคการเมืองมรสภาพเป็นบริษัทค้าการเมือง”ช่องว่าระหว่าคนรวยกับคนจนห่างกันดุจฟ้ ากับเหว การพัฒนาเศษรฐกิจและสังคมยิ่งทามากเพียงใดคนรวยยิ่งรวยยิ่งขึ้น คนจนยิ่งจนลง และความเหลวแหลกทางการเมืองและสังคมหนัหน่วงรุนแรงจนเหลือที่จะบรรยายได้ ขบวนการรัฐธรรมนูญดังกล่าว จุดประสงค์เพื่อเข้าแย่งชิงกันกุมอานาจเพื่อการรักษาการปกครองแบบเผด็จการรัฐสภาไว้ ด้วยวิธีการ 2อย่างคือ "ยึดอานาจ"และ "เลือกตั้ง"โดยถือเอาการเปลี่ยนแปลงแก้ไขรัฐธรรมนูญเป็นข้ออ้างในการใช้กาลังโค่นล้มกัน แล้วเปลี่ยนแปลงแก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อให้สอดคล้องกับผลประโยชน์ของพวกตนและทาการเลือกตั้ง เมื่อเลือกตั้งแล้วและตกลงกันไม่ได้ในการแบ่งปันผลประโยชน์จึงต้องโค่นล้มและเปลี่ยนแปลงแก้ไขรัฐธรรมนูญกันใหม่ หมุนเวียนเป็นวัฏจักรระหว่างการโค่นล้มด้วยกาลังหรือการยึดอานาจกับการเลือกตั้ง โดยมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขรัฐธรรมนูญเป็นแกนกลางของการหมุนเวียนเพราะได้ถือเอารัฐธรรมนูญเป็นสิ่งสูงสุด ตามรรมชาติของขบวนการรัฐธรรมนูญ สิ่งที่กล่าวมาทั้งหมด เพื่อที่จะให้ได้รับทราบและตระหนักถึงพระมหากรุณาธิคุณอันใหญ่หลวงของพระมหากษัตริย์ในพระบรมราชจักรีวงศ์ที่ทรง มีน้าพระหฤทัยอันแน่วแน่และมีแผนการอันมั่นคงที่จะมอบพระราชอานาจแห่งพระองค์ให้กับปวงชนชาวไทย เมื่อก่อนมิถุนายน2475 เราถือได้ว่าเป็นห้วงเวลาแห่งการสร้างประชาธิปไตยแต่หลังมิถุนายน2475 เป็นห้วงเวลาแห่งการสร้างรัฐธรนรมนูญซึ่งเป็นห้วงเวลาแห่งการทาลายและขัดขวางการสร้างประชาธิปไตย คนไทยเราเสียเวลาไปกับความสนใจและการศึกษาในด้านการทาลายและขัดขวางการสร้างประชาธิปไตยเสียบเกือบกว่า 80 ปี ด้วยความหลงผิดที่คิดว่าการทาลายและการขัดขวางการสร้างประชาธิปไตยเป็นประชาธิปไตย
  • 11. ช่วงเวลาที่มีค่าควรแก่การศึกษาและจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาคือช่วงเวลาแห่งการสร้างประชาธิปไตย ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เท่าที่กล่าวมาแล้วแต่ละช่วงโดยย่อ เป็นที่น่าเสียดายอย่างยิ่งว่าคนไทยเราศึกษาปัญหาประชาธิปไตยในช่วงนี้น้อยเกินไป แต่กลับทุ่มเทความสนใจให้แก่การศึกษาในช่วงเวลาตั้งแต่มิถุนายน2475 เป็นต้นมา ทัศนคติเช่นนี้คือ อุปสรรคสาคัญที่สุดประการหนึ่งของความสาเร็จของประชาธิปไตยในประเทศไทยเรา ประชาชนต้องการประชาธิปไตย ประชาชนไม่ต้องการรัฐธรรมนูญประชาชนได้พิสูจน์ทราบด้วยตัวเองมาเกือบ 83 ปี เรามีรัฐธรรมนูญฉบับที่ดีที่สุดที่เป็นประชาธิปไตยมากที่สุดหลายฉบับแล้ว แต่ก็ยังแก้ไขปัญหาพื้นฐานของประเทศไม่ได้อยู่นั่นเอง เราคงต้องดาเนินตามรอยเบื้องพระยุคลบาท ดาเนินรอตามแนวทางของพระมหากษัตริย์ไทยในพระบรมราชจักรีวงศ์ทุกพระองค์ในการสร้างประชาธิปไตย เพื่อให้ปณิธานของประชาชนไทยที่ว่า“จะเทิดทูนทุกพระองค์วงศ์จักรี”ให้ปรากฏเป็นจริง. (เรียบเรียงจากข้อมูลจากแฟ้ มเอกสารของท่านอาจารย์ประเสริฐทรัพย์สุนทร) Credit:ครูทองคาวิรัตน์ edit:thongkrm_virut@yahoo.com