SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
ประวัติ : รัฐหวู
(เอกสารศึกษายุทธศาสตร์ การสงคราม)
แคว้นหวู(ง่อก๊ก) 東吳 ค.ศ.229–280 เป็น หนึ่งในสามรัฐในช่วงยุคสามก๊ก
สถาปนาราชวงศ์อู๋โดยอู๋ต้าตี้ หรือซุนเฉวียน (ซุนกวน)
ภายหลังรัฐเว่ยและรัฐสู่ล้วนประกาศสถาปนาราชวงศ์ขึ้น รัฐอู๋ตั้งราชธานีที่เมืองอู่ฉาง
ภายหลังค่อยย้ายราชธานีไปตั้งที่เมืองเจี้ยนเยี่ย(เมืองหนานจิงในปัจจุบัน)
รัฐอู๋มีวิถีทางทางการเมืองที่ค่อนข้างยืดหยุ่นคล้อยตามสถานการณ์
ต่างกับรัฐสู่และเว่ยที่มีจุดยืนคนละสุดปลายชนิดที่ไม่อาจอยู่ร่วมฟ้าเดียว กัน
อย่างไรก็ตามการคงอยู่ของรัฐอู๋ส่งผลต่อดุลยภาพโดยรวมในแผ่นดินอย่างแท้จริง
แม้มีบางช่วงเวลาที่รัฐอู๋ร่วมมือกับรัฐเว่ยแต่ก็นับเป็นการชั่วคราว
เพราะรัฐเว่ยมีศักยภาพที่เหนือกว่ารัฐสู่และอู๋มากนัก
โดยสภาพแล้วทั้งรัฐสู่และอู๋จึงจาต้องเป็นพันธมิตรโดยปริยาย
หวางตี้รัฐหวูมีทั้งสิ้น 4 พระองค์
1) อู๋ต้าตี้ (吴大帝) ; ซุนเฉวียน(孙权) (ค.ศ. 182 – 252) ครองราชย์ระหว่างค.ศ.
229 – 252
2) ฮุ่ยจีหวาง(會稽王) ; ซุนเหลียง(孙亮) (ค.ศ. 243 – 260) ครองราชย์ระหว่างค.ศ.
252 – 258
3) อู๋จิ่งตี้(吴景帝) ; ซุนชิว(ซุนฮิว 孙休) (ค.ศ. 235 – 264) ครองราชย์ระหว่างค.ศ.
258-264
4) กุ้ยหมิงโหว ; ซุนเฮ่า (ซุนโฮ 孙皓) (ค.ศ.242 – 284) ครองราชย์ระหว่างค.ศ.264 –
280
ประวัติโดยย่อ
รากฐานของรัฐอู๋ควรกล่าวแรกเริ่มถึงซุนเจียน(ซุนเกี๋ยน) หนึ่งในขุนศึกช่วงยุคปลายราชวงศ์ฮั่น
ในรัชสมัยฮั่นหวนตี้ (ฮวนเต้) การปกครองไร้ระเบียบแบบแผน
ขุนนางกังฉินครองราชสานักนาโดยสิบขันทีจ้าวองครักษ์
มีการซื้อขายตาแหน่งขุนนางอย่างชอบธรรม ขุนนางผู้ใช้เงินทองซื้อตาแหน่งก็ขูดรีดเอากับราษฎร
ประชาชนอดอยากคลั่งแค้นจึงเกิดกบฎโพกผ้าเหลืองลุกฮือขึ้นก่อการ
ราชสานักไม่สามารถรับมือกับสถานการณ์คับขันได้จึงประกาศให้เหล่าขุนศึกเกณฑ์
กองทัพร่วมกับทัพนครหลวงออกปราบกบฎ
นับแต่นั้นเหล่าขุนศึกต่างถือโอกาสสร้างกองกาลังตีชิงดินแดน ราชวงศ์ฮั่นนับวันยิ่งเสื่อมทรุดลง
ซุนเจียนเป็นหนึ่งในขุนศึกที่ชูธงออกปราบกบฎในครั้งนั้น
อาศัยกองกาลังน้อยเอาชนะพวกมากได้หลายครั้ง สร้างชื่อขจรขยายไปทั่วแผ่นดิน
ครั้นเหตุการณ์กบฎโพกผ้าเหลืองสงบลง
ราชสานักมีราชโองการให้เขายกไปปราบกบฎที่เมืองฉางซา
ซุนเจียนทาการสาเร็จจึงถือขึ้นครองเมืองฉางซา(เตียงสา) ทั้งยังกวาดเมืองกุ้ยหยางและหลิงหลิง
(เลงเหลง)เข้ามาในเขตอิทธิพล
ต่อมาต่งจวอ(ตั๋งโต๊ะ)เคลื่อนทัพซีเหลียง(เสเหลียง) เข้าควบคุมนครหลวง
ปลดฮั่นเส้าตี้ลงจากราชบัลลังก์ปลงพระชนม์เส้าตี้และบีบคั้นเหอไท่โฮ่ว(โฮไทเฮา)
จนสิ้นพระชนม์หยวนเส้า (อ้วนเสี้ยว)
ป่าวประกาศชักชวนขุนศึกทั้งแผ่นดินร่วมก่อการโค่นล้มอานาจต่งจวอ
หัวเมืองต่างๆล้วนขานรับเป็นจานวนมากก่อเกิดเป็นพันธมิตรกวนตง
ซุนเจียนได้รับมอบหมายให้เป็นทัพหน้า
นาทัพบุกทะลวงได้รับชัยชนะเรื่อยมาทั้งยังสังหารแม่ทัพหัวสยง(ฮัวหยง –
ในวรรณกรรมระบุว่าถูกกวนอวี่สังหาร)ได้อีกด้วย แต่พันธมิตรกวนตงรวมตัวด้วยผลประโยชน์
เกิดความแตกแยกภายในกันเองไม่อาจกระทาการอันใดได้ ซุนเจียนที่นาทัพเข้านครหลวงลั่วหยาง
(ลกเอี๋ยง) ซึ่งกลายเป็นทะเลเพลิงค้นพบตราราชลัญจกรณ์หยกเหอซื่อปี้
จึงหาข้ออ้างถอนตัวจากพันธมิตรกวนตงยกทัพกลับเมืองฉางซา
ซุนเจียนยกทัพฉางซาข้ามลาน้าหมายพิชิตมณฑลจิงโจว(เกงจิ๋ว) ของหลิวเปี่ยว
ทัพหลิวเปี่ยวมิอาจทานได้ซุนเจียนจึงล้อมเมืองเซียงหยาง (ซงหยง)ไว้
แต่แล้วซุนเจียนพลาดพลั้งนาทัพไล่กวดตามข้าศึกเข้าไปถึงซุ่มสังหาร
จึงถูกเกาทัณฑ์จนถึงแก่กรรมในครานั้น
ซุนเช่อ(ซุนเซ็ก)บุตรชายคนโตของซุนเจียนไม่อาจตรึงสถานการณ์ไว้ได้
จาต้องอพยพถิ่นฐานไปอาศัยอยู่ด้วยหยวนซู่(อ้วนสุด)
ซุนเช่อนาทัพสร้างผลงานให้หยวนซู่หลายครั้งครา
หยวนซู่ซึ่งตกปากให้บาเหน็จซุนเช่อกลับไม่รักษาสัจจะ ซุนเช่อเก็บงาความไม่พอใจพอดีหลิวเหยา
(เล่าอิ้ว) ถือตราราชสานักเข้ามาครองมณฑลหยางโจวซึ่งเป็นเขตอิทธิพลของหยวนซู่อู๋จิ้ง (งอเก๋ง)
ซึ่งเป็นน้าชายของซุนเช่อถูกทัพหลิวเหยาล้อมไว้
ซุนเช่อจึงถือโอกาสนาเอาตราราชลัญจกรณ์หยกเหอซื่อปี้ ที่ตกทอดจากบิดาแลกกับ
การขอหยิบยืมกาลังทหารสามพันนายและแม่ทัพคนสนิทที่เคยขึ้นตรงต่อซุนเจียน
เมื่อกาลก่อนจากหยวนซู่ไปก่อการโดยอ้างว่ายกไปช่วยน้าชาย ระหว่างทางซุนเช่อพบปะโจวอวี๋
(จิวยี่) สหายสนิทคู่ใจ โจวอวี๋เข้าร่วมซุนเช่อในครานั้นซุนเช่อ
โจวอวี๋และบรรดาแม่ทัพนายกองทาศึกประสบชัย
ระหว่างเดินทางมีกาลังคนเข้าร่วมก่อการด้วยมากขึ้นทุกขณะจนมีกาลังเพิ่มขึ้น หลายหมื่นนาย
ซุนเช่อกาจัดหลิวเหยาแล้วบุกตะลุยยึดอาณาเขตเจียงตง(กังตัง)
ทั้งหมดสาเร็จภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว ขณะนั้นซุนเช่อมีอายุเพียงยี่สิบเศษเท่านั้น
ต่อมาหยวนซู่ประกาศตั้งตน เป็นจักรพรรดิไม่ขึ้นต่อราชสานักฮั่นอีกต่อไปเฉาเชา (โจโฉ)
ป่าวประกาศให้ทั้งแผ่นดินร่วมกาจัดหยวนซู่
ซุนเช่อถือโอกาสให้คราวนั้นตัดสัมพันธไมตรีกับหยวนซู่อย่างเด็ดขาด
ภายหลังหยวนซู่ไม่อาจประคองตนสืบไปแตกดับไปภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว
ซุนเช่อดาเนินกุศโลบายทั้งกวาดต้อนทั้งชักชวนแม่ทัพขุนนางตลอดจนไพร่พล
สังกัดหยวนซู่มาแต่เดิมให้เข้าร่วมกันเขาทั้งสิ้น
หยวนเหยาทายาทของหยวนซู่ก็ได้รับการอุปการะจากซุนเช่อให้เข้ามาอาศัยในเขต แดนเจียงตง
ทางแดนเหนือเกิดสถานการณ์ตึงเครียดระหว่างเฉาเชากับหยวนเส้าที่พร้อม ระเบิดศึกได้ทุกเมื่อ
เฉาเชาจึงเชื่อมสัมพันธไมตรีกับซุนเช่อด้วยการจัดพิธีสมรสระหว่างบุตรีของ เฉาเห
ริน(โจหยิน)กับซุนควงผู้เป็นน้องชายของซุนเช่อ
และให้บุตรีของซุนเปินสมรสกับเฉาจาง(โจเจียง)ผู้เป็นบุตรชายของเฉาเชาเอง
โดยหวังจะให้ทางซุนเช่อสงบลงชั่วคราว
ซุนเช่อและโจวอวี๋นาทัพออกบุกตีแดนจิงโจว ประสบชัยชนะพิชิตทัพจิงโจวโดยราบคาบ
พอดีแดนเหนือเกิดศึกกวนตู้(กัวต๋อ) ซุนเช่อหันเหความสนใจไปที่สถานการณ์ภาคกลาง
จึงถอนกาลังกลับเจียงตง
วางแผนนาทัพเข้าภาคกลางตีหักนครหลวงสวี่ชางชิงองค์ฮั่นเชี่ยนตี้มาประทับที่ เจียงตง
เพื่อเสริมสร้างความชอบธรรมในการนาทัพรวมแผ่นดิน
แผนการดาเนินถึงขั้นมอบหมายหน้าที่ให้แม่ทัพนายกองต่างๆเรียบร้อย
แต่แล้วเหตุการณ์ไม่คาดฝันพลันอุบัติขึ้น ซุนเช่อกลับถูกลอบสังหารในขณะออกล่าสัตว์
ซุนเฉวียนผู้น้องจึงขึ้นเป็นผู้นาแดนเจียงตงสืบต่อจากพี่ชาย
ซุนเฉวียนอายุยังเยาว์แรกเริ่มยังไม่ได้รับการยอมรับจากขุนนางนาย ทหารสักเท่าใด
โจวอวี๋นากาลังพลขึ้นมาประกาศจุดยืนสนับสนุนซุนเฉวียน ซุนเฉวียนจึงขึ้นเป็นผู้นาได้อย่างมั่นคง
อย่างไรก็ดีการเสียชีวิตของซุนเช่อทาให้แผนการที่วางไว้แต่แรกเริ่มเป็นอัน ล้มพับไปโดยปริยาย
หลังจากที่ภายในเริ่มสงบเรียบร้อย
ซุนเฉวียนบัญชาแม่ทัพนายกองยกไปตีเมืองเจียงเซี่ยซึ่งขึ้นตรงต่อมณฑลจิงโจว สังหารหวงจู่
(หองจอ) ล้างแค้นให้แก่บิดาแต่แล้วเฉาเชาที่เอาชนะศึกกวนตู้
ล้มล้างตระกูลหยวนออกไปจากเวทีแห่งการช่วงชิงแผ่นดินสาเร็จก็เบนเข็มมาทาง แดนใต้
เฉาเชานาทัพใหญ่ยกลงใต้หลิวฉง(เล่าจ๋อง) บุตรชายหลิวเปี่ยวยอมจานนโดยไม่ต่อสู้
เฉาเชาจึงได้มณฑลจิงโจวมาโดยไม่เสียกาลังทหารเสียอย่างใดหลิวเป้ ย (เล่าปี่)
ต้องเตลิดหนีมาอาศัยเมืองเจียงเซี่ยซึ่งหลิวฉีบุตรชายคนโตของหลิวเปี่ยวตั้ง มั่นอยู่ในขณะนั้น
หลู่ซู่(โลซก) เสนอให้ซุนเฉวียนจับมือกับหลิวเป้ ยต่อต้านเฉาเชาที่กาลังเคลื่อนทัพรุกราน
เจียงตงหมายรวมแผ่นดินเป็นปึกแผ่น พันธมิตรซุนหลิวจึงถือกาเนิดในช่วงเวลานั้น
ซุนเฉวียนบัญชาให้โจวอวี๋เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดนาทัพสามหมื่นร่วมทาการ
กับฝ่ายหลิวเป้ ยสู้รบกับเฉาเชาที่สมรภูมิชื่อปี้ (เซ็กเพ็ก) เฉาเชาแตกพ่ายถอยร่นกลับภาคกลาง
หลิวเป้ ยนาทัพตีชิงมณฑลจิงโจวตอนล่างและขอยืมจิงโจวตอนบนต่อซุนเฉวียน
โจวอวี๋คัดค้านไม่เห็นด้วย
แต่หลู่ซู่เห็นว่าควรร่วมมือกับหลิวเป้ ยต่อไปเพื่อต่อต้านการรุกรานของเฉา
เชาที่อาจยกทัพกลับมาอีก ซุนเฉวียนคล้อยตามหลู่ซู่จึงอนุญาตให้หลิวเป้ ยยืมเมือง
ทั้งยังยกน้องสาวให้สมรสกับหลิวเป้ ยเพื่อผูกพันมิตรภาพให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น ไปอีก
โจวอวี๋นาเสนอแผนการให้ซุนเฉวียนยกทัพชิงมณฑลอี้โจว(เอ๊กจิ๋ว) ซุนเฉวียนเห็นด้วยตามแผน
แต่โจวอวี๋ล้มป่วยถึงแก่กรรม แผนจึงเป็นอันล้มเลิกไปหลู่ซู่ขึ้นแทนที่ตาแหน่งโจวอวี๋
ต่อมาหลิวเป้ ยนาทัพเข้ามณฑลอี้โจวตีชิงมณฑลอี้โจวและฮั่นจงได้
ซุนเฉวียนทวงถามเมืองที่หลิวเป้ ยยืมไปหลิวเป้ ยบ่ายเบี่ยงปฏิเสธ
พันธมิตรซุนหลิวจึงเกิดรอยร้าวขึ้นเมื่อกวนอวี่(กวนอู) นาทัพขึ้นแดนต่อสู้กับเฉาเชาหลวี่เหมิง
(ลิบอง) จึงนาทัพอู๋ตลบหลังตีชิงมณฑลจิงโจวกลับคืนมาได้ทั้งหมด กวนอวี่ถูกสังหารในครานั้น
หลิวเป้ ยประกาศสถาปนาตนเองเป็นจักรพรรดิแห่งสู่ฮั่น
ยกทัพมาหมายแก้แค้นให้กวนอวี่และตีชิงแดนจิงโจวกลับคืน ซุนเฉวียนเกรงรัฐเว่ย(วุยก๊ก)
ฉวยโอกาสยกทัพตีกระหนาบ จึงส่งทูตไปอ่อมน้อมต่อราชสานักเว่ย เว่ยเหวินตี้ (เฉาพี – โจผี)
ยอมรับไมตรี อวยฐานันดรศักดิ์ให้ซุนเฉวียนเป็นที่ ‘อู๋หวาง’
ซุนเฉวียนแต่งตั้งลู่ซวิ่นเป็นผู้บัญชาการทัพออกรับศึกหลิวเป้ ยที่ สมรภูมิยีหลิง(อิเหลง)
ลู่ซวิ่นตั้งรับไม่ออกรับ ล่อให้หลิวเป้ ยล่วงลึกเข้ามาในแดนอู๋ เส้นทางเสบียงขนส่งลาบาก
อานุภาพแหลมคมของกองทัพลดทอนลง จากนั้นลู่ซวิ่นอาศัยเพลิงกาฬเผาผลาญหลิวเป้ ยทั้งกองทัพ
หลิวเป้ ยถอยไปตั้งที่เมืองไป๋ ตี้เฉิงประชวรถึงแก่สวรรคตในเวลาต่อมา
จูเก๋อเลี่ยง(จูกัดเหลียง – ขงเบ้ง)ขึ้นเป็นเฉิงเซี่ยง(สมุหนายก) ในรัชกาลหลิวซ่าน(เล่าเสี้ยน)
ส่งเติ้งจือ(เตงจี๋) มาเจริญไมตรีทางการทูตซุนเฉวียนเห็นว่ารัฐเว่ยเป็นรัฐใหญ่
มีศักยภาพอันเข้มแข็งที่แท้จริง จึงต้องร่วมมือกับรัฐสู่เพื่อคานอานาจรัฐเว่ย
รัฐอู๋และสู่จึงกลับเป็นพันธมิตรอีกครั้ง
เว่ยเหวินตี้พิโรธจึงยกทัพใหญ่บุกตีรัฐอู๋ แต่ประสบความพ่ายแพ้ย่อยยับ
หลังจากยกกลับไปนครหลวงก็ประชวรถึงแก่สวรรคต
จูเก๋อเลี่ยงนาทัพบุกตีรัฐเว่ยและขอให้รัฐอู๋ร่วมบุกตีด้วยกันหลาย ครั้ง
กระนั้นรัฐอู๋ก็ไม่ได้ทาประการใดมากนัก
ซุนเฉวียนเห็นว่าถึงเวลาที่จะสถาปนาตนเองขึ้นเป็นจักรพรรดิเยี่ยงหวางตี้อีก สองรัฐแล้ว
จึงสถาปนาราชวงศ์อู๋ มีพระนามว่าอู๋ต้าตี้
ท้ายรัชกาลอู๋ต้าตี้ เกิดมรสุมเลือดช่วงชิงตาแหน่งรัชทายาท
หลังจากที่รัชทายาทซุนเติงทิวงคตด้วยพระโรค
ซุนเหอและซุนป้ าโอรสองค์ที่สามและสี่ของอู๋ต้าตี้เปิดศึกช่วงชิงตาแหน่ง รัชทายาท
จบลงด้วยมรสุมโลหิตคละคลุ้งซุนเหอถูกถอดออกจากตาแหน่งรัชทายาท
ซุนป้ าถูกบีบบังคับให้กระทาอัตวินิบาตกรรม
ซุนเหลียงโอรสองค์ที่เจ็ดได้รับแต่งตั้งเป็นรัชทายาทสืบแทน
อู๋ต้าตี้สวรรคตด้วยพระโรคชราสิริพระชนมายุเจ็ดสิบชันษา
ซุนเหลียงสืบราชสมบัติขึ้นเป็นหวางตี้แห่งรัฐอู๋ โดยมีจูเก๋อเค่อ (จูกัดเก๊ก)เป็นผู้สาเร็จราชการ
จูเก๋อเค่อนาทัพอู๋บุกตีรัฐเว่ยไม่สาเร็จ ประสบความปราชัยกลับมาจากนั้นซุนจวุ้น(ซุนจุ๋น)
ก่อการยึดอานาจประหารชีวิตจูเก๋อเค่อทั้งครอบครัว ขึ้นเป็นผู้สาเร็จราชการกุมอานาจเบ็ดเสร็จ
ซุนจวิ้นล้มป่วยถึงแก่กรรมซุนหลิน(ซุนหลิม)ขึ้นสืบทอดอานาจ
กระทาหยาบช้าข่มเหงพระเจ้าซุนเหลียง พระเจ้าซุนเหลียงวางแผนการหมายสังหารซุนหลิน
แต่แผนการกลับรั่วไหล ซุนหลินจึงถอดพระเจ้าซุนเหลียงออกจากราชสมบัติ
ลดฐานันดรศักดิ์เป็นที่ฮุ่ยจีหวางตั้งพระเจ้าซุนชิว(ซุนฮิว)
โอรสองค์ที่หกแห่งอู๋ต้าตี้ขึ้นสืบราชสมบัติราชวงศ์อู๋ ทรงพระนามอู๋จิ่งตี้
อู๋จิ่งตี้ร่วมมือกับแม่ทัพติงเฟิง(เตงฮอง)สังหารซุนหลิน ยึดอานาจกลับคืนมาสาเร็จ
ไม่ปรากฎว่าอู๋จิ่งตี้เป็นจักรพรรดิที่ปรีชาสามารถ ในยุคของเขาบ้านเมืองเกิดการทุจริตมากมาย
อู๋จิ่งตี้ประชวรถึงแก่สวรรคตด้วยพระชนมายุยี่สิบเก้าชันษา ภายหลังการล่มสลายของรัฐสู่ไม่นาน
ด้วยเหตุที่รัชทายาทซุนวานยังเยาว์ชันษา
เหล่าขุนนางจึงยกซุนเฮ่าโอรสในอดีตรัชทายาทซุนเหอขึ้นสืบราชสมบัติราชวงศ์อู๋
พระเจ้าซุนเฮ่าเป็นทรราชย์อันกักขฬะเผด็จการ ใช้จ่ายเงินในท้องพระคลังอย่างฟุ่มเฟือย
เกิดการก่อกบฎหลายครั้งในรัชสมัยของพระองค์แม้ทางการจะสามารถปราบปรามลงได้
แต่แม่ทัพขุนนางและประชาชนล้วนเสื่อมศรัทธาในตัวเขาอย่างสิ้นเชิง
พระเจ้าซุนเฮ่านาทัพอู๋บุกตีรัฐจิ้น(ซือหม่าเหยียน – สุมาเอี๋ยน ล้มล้างราชวงศ์เว่ย
สถาปนาราชวงศ์จิ้น)หลายครั้งล้วนประสบความล้มเหลว
ขณะที่การบริหารภายในเป็นไปอย่างฟอนเฟะ
ขุนนางผู้ใดทัดทานล้วนถูกประหารชีวิตอย่างโหดร้ายทารุณ
สุดท้ายราชสานักอู๋มีแต่ขุนนางกังฉินประจบสอพลอทั้งสิ้น
ประชาชนรัฐอู๋ล้วนถูกขูดรีดจนยากจนข้นแค้น ตกอยู่ในสภาพตกต่าลงอย่างสิ้นเชิงจิ้นอู่ตี้
(ซือหม่าเหยียน) จึงบัญชาแม่ทัพตู้อวี้นาทัพบุกทะลวงเข้ารัฐอู๋ กองกาลังรัฐอู๋มิอาจต้านทานได้
พระเจ้าซุนเฮ่าจึงยอมจานน ราชวงศ์อู๋จึงถึงกาลอวสาน
ใต้หล้าถูกรวมเป็นหนึ่งอีกครั้งภายใต้ราชวงศ์จิ้น พระเจ้าซุนเฮ่าถูกลดฐานันดรศักดิ์เป็นกุ้ยหมิงโหว
และถึงแก่อนิจกรรมในอีกสี่ปีต่อมา
(ข้อมูลจากแฟ้มเอกสารของท่านอาจารจารย์ประเสริฐทรัพย์สุนทร)
edit : thongkrm-virut@yahoo.com

More Related Content

More from Thongkum Virut

งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัยThongkum Virut
 
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)Thongkum Virut
 
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยบิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยThongkum Virut
 
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณการปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณThongkum Virut
 
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...Thongkum Virut
 
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓Thongkum Virut
 
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...Thongkum Virut
 
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริหนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริThongkum Virut
 
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่Thongkum Virut
 
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรThongkum Virut
 
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์Thongkum Virut
 
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการสหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการThongkum Virut
 
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกเหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกThongkum Virut
 
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...Thongkum Virut
 
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยเรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยThongkum Virut
 
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยคู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยThongkum Virut
 
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาThongkum Virut
 
ปฐมกาลการปกครองระบอบเผด็จการในประเทศไทย
ปฐมกาลการปกครองระบอบเผด็จการในประเทศไทยปฐมกาลการปกครองระบอบเผด็จการในประเทศไทย
ปฐมกาลการปกครองระบอบเผด็จการในประเทศไทยThongkum Virut
 

More from Thongkum Virut (20)

งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัย
 
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
 
All10
All10All10
All10
 
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยบิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
 
ข้าว
ข้าวข้าว
ข้าว
 
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณการปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
 
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
 
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
 
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
 
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริหนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
 
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
 
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
 
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
 
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการสหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
 
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกเหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
 
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
 
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยเรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
 
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยคู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
 
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
 
ปฐมกาลการปกครองระบอบเผด็จการในประเทศไทย
ปฐมกาลการปกครองระบอบเผด็จการในประเทศไทยปฐมกาลการปกครองระบอบเผด็จการในประเทศไทย
ปฐมกาลการปกครองระบอบเผด็จการในประเทศไทย
 

ประวัติรัฐหวู

  • 1. ประวัติ : รัฐหวู (เอกสารศึกษายุทธศาสตร์ การสงคราม) แคว้นหวู(ง่อก๊ก) 東吳 ค.ศ.229–280 เป็น หนึ่งในสามรัฐในช่วงยุคสามก๊ก สถาปนาราชวงศ์อู๋โดยอู๋ต้าตี้ หรือซุนเฉวียน (ซุนกวน) ภายหลังรัฐเว่ยและรัฐสู่ล้วนประกาศสถาปนาราชวงศ์ขึ้น รัฐอู๋ตั้งราชธานีที่เมืองอู่ฉาง ภายหลังค่อยย้ายราชธานีไปตั้งที่เมืองเจี้ยนเยี่ย(เมืองหนานจิงในปัจจุบัน) รัฐอู๋มีวิถีทางทางการเมืองที่ค่อนข้างยืดหยุ่นคล้อยตามสถานการณ์ ต่างกับรัฐสู่และเว่ยที่มีจุดยืนคนละสุดปลายชนิดที่ไม่อาจอยู่ร่วมฟ้าเดียว กัน อย่างไรก็ตามการคงอยู่ของรัฐอู๋ส่งผลต่อดุลยภาพโดยรวมในแผ่นดินอย่างแท้จริง แม้มีบางช่วงเวลาที่รัฐอู๋ร่วมมือกับรัฐเว่ยแต่ก็นับเป็นการชั่วคราว เพราะรัฐเว่ยมีศักยภาพที่เหนือกว่ารัฐสู่และอู๋มากนัก โดยสภาพแล้วทั้งรัฐสู่และอู๋จึงจาต้องเป็นพันธมิตรโดยปริยาย
  • 2. หวางตี้รัฐหวูมีทั้งสิ้น 4 พระองค์ 1) อู๋ต้าตี้ (吴大帝) ; ซุนเฉวียน(孙权) (ค.ศ. 182 – 252) ครองราชย์ระหว่างค.ศ. 229 – 252 2) ฮุ่ยจีหวาง(會稽王) ; ซุนเหลียง(孙亮) (ค.ศ. 243 – 260) ครองราชย์ระหว่างค.ศ. 252 – 258 3) อู๋จิ่งตี้(吴景帝) ; ซุนชิว(ซุนฮิว 孙休) (ค.ศ. 235 – 264) ครองราชย์ระหว่างค.ศ. 258-264 4) กุ้ยหมิงโหว ; ซุนเฮ่า (ซุนโฮ 孙皓) (ค.ศ.242 – 284) ครองราชย์ระหว่างค.ศ.264 – 280 ประวัติโดยย่อ รากฐานของรัฐอู๋ควรกล่าวแรกเริ่มถึงซุนเจียน(ซุนเกี๋ยน) หนึ่งในขุนศึกช่วงยุคปลายราชวงศ์ฮั่น ในรัชสมัยฮั่นหวนตี้ (ฮวนเต้) การปกครองไร้ระเบียบแบบแผน ขุนนางกังฉินครองราชสานักนาโดยสิบขันทีจ้าวองครักษ์ มีการซื้อขายตาแหน่งขุนนางอย่างชอบธรรม ขุนนางผู้ใช้เงินทองซื้อตาแหน่งก็ขูดรีดเอากับราษฎร ประชาชนอดอยากคลั่งแค้นจึงเกิดกบฎโพกผ้าเหลืองลุกฮือขึ้นก่อการ ราชสานักไม่สามารถรับมือกับสถานการณ์คับขันได้จึงประกาศให้เหล่าขุนศึกเกณฑ์ กองทัพร่วมกับทัพนครหลวงออกปราบกบฎ นับแต่นั้นเหล่าขุนศึกต่างถือโอกาสสร้างกองกาลังตีชิงดินแดน ราชวงศ์ฮั่นนับวันยิ่งเสื่อมทรุดลง ซุนเจียนเป็นหนึ่งในขุนศึกที่ชูธงออกปราบกบฎในครั้งนั้น อาศัยกองกาลังน้อยเอาชนะพวกมากได้หลายครั้ง สร้างชื่อขจรขยายไปทั่วแผ่นดิน ครั้นเหตุการณ์กบฎโพกผ้าเหลืองสงบลง ราชสานักมีราชโองการให้เขายกไปปราบกบฎที่เมืองฉางซา
  • 3. ซุนเจียนทาการสาเร็จจึงถือขึ้นครองเมืองฉางซา(เตียงสา) ทั้งยังกวาดเมืองกุ้ยหยางและหลิงหลิง (เลงเหลง)เข้ามาในเขตอิทธิพล ต่อมาต่งจวอ(ตั๋งโต๊ะ)เคลื่อนทัพซีเหลียง(เสเหลียง) เข้าควบคุมนครหลวง ปลดฮั่นเส้าตี้ลงจากราชบัลลังก์ปลงพระชนม์เส้าตี้และบีบคั้นเหอไท่โฮ่ว(โฮไทเฮา) จนสิ้นพระชนม์หยวนเส้า (อ้วนเสี้ยว) ป่าวประกาศชักชวนขุนศึกทั้งแผ่นดินร่วมก่อการโค่นล้มอานาจต่งจวอ หัวเมืองต่างๆล้วนขานรับเป็นจานวนมากก่อเกิดเป็นพันธมิตรกวนตง ซุนเจียนได้รับมอบหมายให้เป็นทัพหน้า นาทัพบุกทะลวงได้รับชัยชนะเรื่อยมาทั้งยังสังหารแม่ทัพหัวสยง(ฮัวหยง – ในวรรณกรรมระบุว่าถูกกวนอวี่สังหาร)ได้อีกด้วย แต่พันธมิตรกวนตงรวมตัวด้วยผลประโยชน์ เกิดความแตกแยกภายในกันเองไม่อาจกระทาการอันใดได้ ซุนเจียนที่นาทัพเข้านครหลวงลั่วหยาง (ลกเอี๋ยง) ซึ่งกลายเป็นทะเลเพลิงค้นพบตราราชลัญจกรณ์หยกเหอซื่อปี้ จึงหาข้ออ้างถอนตัวจากพันธมิตรกวนตงยกทัพกลับเมืองฉางซา ซุนเจียนยกทัพฉางซาข้ามลาน้าหมายพิชิตมณฑลจิงโจว(เกงจิ๋ว) ของหลิวเปี่ยว ทัพหลิวเปี่ยวมิอาจทานได้ซุนเจียนจึงล้อมเมืองเซียงหยาง (ซงหยง)ไว้ แต่แล้วซุนเจียนพลาดพลั้งนาทัพไล่กวดตามข้าศึกเข้าไปถึงซุ่มสังหาร จึงถูกเกาทัณฑ์จนถึงแก่กรรมในครานั้น ซุนเช่อ(ซุนเซ็ก)บุตรชายคนโตของซุนเจียนไม่อาจตรึงสถานการณ์ไว้ได้ จาต้องอพยพถิ่นฐานไปอาศัยอยู่ด้วยหยวนซู่(อ้วนสุด) ซุนเช่อนาทัพสร้างผลงานให้หยวนซู่หลายครั้งครา หยวนซู่ซึ่งตกปากให้บาเหน็จซุนเช่อกลับไม่รักษาสัจจะ ซุนเช่อเก็บงาความไม่พอใจพอดีหลิวเหยา (เล่าอิ้ว) ถือตราราชสานักเข้ามาครองมณฑลหยางโจวซึ่งเป็นเขตอิทธิพลของหยวนซู่อู๋จิ้ง (งอเก๋ง)
  • 4. ซึ่งเป็นน้าชายของซุนเช่อถูกทัพหลิวเหยาล้อมไว้ ซุนเช่อจึงถือโอกาสนาเอาตราราชลัญจกรณ์หยกเหอซื่อปี้ ที่ตกทอดจากบิดาแลกกับ การขอหยิบยืมกาลังทหารสามพันนายและแม่ทัพคนสนิทที่เคยขึ้นตรงต่อซุนเจียน เมื่อกาลก่อนจากหยวนซู่ไปก่อการโดยอ้างว่ายกไปช่วยน้าชาย ระหว่างทางซุนเช่อพบปะโจวอวี๋ (จิวยี่) สหายสนิทคู่ใจ โจวอวี๋เข้าร่วมซุนเช่อในครานั้นซุนเช่อ โจวอวี๋และบรรดาแม่ทัพนายกองทาศึกประสบชัย ระหว่างเดินทางมีกาลังคนเข้าร่วมก่อการด้วยมากขึ้นทุกขณะจนมีกาลังเพิ่มขึ้น หลายหมื่นนาย ซุนเช่อกาจัดหลิวเหยาแล้วบุกตะลุยยึดอาณาเขตเจียงตง(กังตัง) ทั้งหมดสาเร็จภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว ขณะนั้นซุนเช่อมีอายุเพียงยี่สิบเศษเท่านั้น ต่อมาหยวนซู่ประกาศตั้งตน เป็นจักรพรรดิไม่ขึ้นต่อราชสานักฮั่นอีกต่อไปเฉาเชา (โจโฉ) ป่าวประกาศให้ทั้งแผ่นดินร่วมกาจัดหยวนซู่ ซุนเช่อถือโอกาสให้คราวนั้นตัดสัมพันธไมตรีกับหยวนซู่อย่างเด็ดขาด ภายหลังหยวนซู่ไม่อาจประคองตนสืบไปแตกดับไปภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว ซุนเช่อดาเนินกุศโลบายทั้งกวาดต้อนทั้งชักชวนแม่ทัพขุนนางตลอดจนไพร่พล สังกัดหยวนซู่มาแต่เดิมให้เข้าร่วมกันเขาทั้งสิ้น หยวนเหยาทายาทของหยวนซู่ก็ได้รับการอุปการะจากซุนเช่อให้เข้ามาอาศัยในเขต แดนเจียงตง ทางแดนเหนือเกิดสถานการณ์ตึงเครียดระหว่างเฉาเชากับหยวนเส้าที่พร้อม ระเบิดศึกได้ทุกเมื่อ เฉาเชาจึงเชื่อมสัมพันธไมตรีกับซุนเช่อด้วยการจัดพิธีสมรสระหว่างบุตรีของ เฉาเห ริน(โจหยิน)กับซุนควงผู้เป็นน้องชายของซุนเช่อ และให้บุตรีของซุนเปินสมรสกับเฉาจาง(โจเจียง)ผู้เป็นบุตรชายของเฉาเชาเอง โดยหวังจะให้ทางซุนเช่อสงบลงชั่วคราว ซุนเช่อและโจวอวี๋นาทัพออกบุกตีแดนจิงโจว ประสบชัยชนะพิชิตทัพจิงโจวโดยราบคาบ พอดีแดนเหนือเกิดศึกกวนตู้(กัวต๋อ) ซุนเช่อหันเหความสนใจไปที่สถานการณ์ภาคกลาง
  • 5. จึงถอนกาลังกลับเจียงตง วางแผนนาทัพเข้าภาคกลางตีหักนครหลวงสวี่ชางชิงองค์ฮั่นเชี่ยนตี้มาประทับที่ เจียงตง เพื่อเสริมสร้างความชอบธรรมในการนาทัพรวมแผ่นดิน แผนการดาเนินถึงขั้นมอบหมายหน้าที่ให้แม่ทัพนายกองต่างๆเรียบร้อย แต่แล้วเหตุการณ์ไม่คาดฝันพลันอุบัติขึ้น ซุนเช่อกลับถูกลอบสังหารในขณะออกล่าสัตว์ ซุนเฉวียนผู้น้องจึงขึ้นเป็นผู้นาแดนเจียงตงสืบต่อจากพี่ชาย ซุนเฉวียนอายุยังเยาว์แรกเริ่มยังไม่ได้รับการยอมรับจากขุนนางนาย ทหารสักเท่าใด โจวอวี๋นากาลังพลขึ้นมาประกาศจุดยืนสนับสนุนซุนเฉวียน ซุนเฉวียนจึงขึ้นเป็นผู้นาได้อย่างมั่นคง อย่างไรก็ดีการเสียชีวิตของซุนเช่อทาให้แผนการที่วางไว้แต่แรกเริ่มเป็นอัน ล้มพับไปโดยปริยาย หลังจากที่ภายในเริ่มสงบเรียบร้อย ซุนเฉวียนบัญชาแม่ทัพนายกองยกไปตีเมืองเจียงเซี่ยซึ่งขึ้นตรงต่อมณฑลจิงโจว สังหารหวงจู่ (หองจอ) ล้างแค้นให้แก่บิดาแต่แล้วเฉาเชาที่เอาชนะศึกกวนตู้ ล้มล้างตระกูลหยวนออกไปจากเวทีแห่งการช่วงชิงแผ่นดินสาเร็จก็เบนเข็มมาทาง แดนใต้ เฉาเชานาทัพใหญ่ยกลงใต้หลิวฉง(เล่าจ๋อง) บุตรชายหลิวเปี่ยวยอมจานนโดยไม่ต่อสู้ เฉาเชาจึงได้มณฑลจิงโจวมาโดยไม่เสียกาลังทหารเสียอย่างใดหลิวเป้ ย (เล่าปี่) ต้องเตลิดหนีมาอาศัยเมืองเจียงเซี่ยซึ่งหลิวฉีบุตรชายคนโตของหลิวเปี่ยวตั้ง มั่นอยู่ในขณะนั้น หลู่ซู่(โลซก) เสนอให้ซุนเฉวียนจับมือกับหลิวเป้ ยต่อต้านเฉาเชาที่กาลังเคลื่อนทัพรุกราน เจียงตงหมายรวมแผ่นดินเป็นปึกแผ่น พันธมิตรซุนหลิวจึงถือกาเนิดในช่วงเวลานั้น ซุนเฉวียนบัญชาให้โจวอวี๋เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดนาทัพสามหมื่นร่วมทาการ กับฝ่ายหลิวเป้ ยสู้รบกับเฉาเชาที่สมรภูมิชื่อปี้ (เซ็กเพ็ก) เฉาเชาแตกพ่ายถอยร่นกลับภาคกลาง หลิวเป้ ยนาทัพตีชิงมณฑลจิงโจวตอนล่างและขอยืมจิงโจวตอนบนต่อซุนเฉวียน โจวอวี๋คัดค้านไม่เห็นด้วย
  • 6. แต่หลู่ซู่เห็นว่าควรร่วมมือกับหลิวเป้ ยต่อไปเพื่อต่อต้านการรุกรานของเฉา เชาที่อาจยกทัพกลับมาอีก ซุนเฉวียนคล้อยตามหลู่ซู่จึงอนุญาตให้หลิวเป้ ยยืมเมือง ทั้งยังยกน้องสาวให้สมรสกับหลิวเป้ ยเพื่อผูกพันมิตรภาพให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น ไปอีก โจวอวี๋นาเสนอแผนการให้ซุนเฉวียนยกทัพชิงมณฑลอี้โจว(เอ๊กจิ๋ว) ซุนเฉวียนเห็นด้วยตามแผน แต่โจวอวี๋ล้มป่วยถึงแก่กรรม แผนจึงเป็นอันล้มเลิกไปหลู่ซู่ขึ้นแทนที่ตาแหน่งโจวอวี๋ ต่อมาหลิวเป้ ยนาทัพเข้ามณฑลอี้โจวตีชิงมณฑลอี้โจวและฮั่นจงได้ ซุนเฉวียนทวงถามเมืองที่หลิวเป้ ยยืมไปหลิวเป้ ยบ่ายเบี่ยงปฏิเสธ พันธมิตรซุนหลิวจึงเกิดรอยร้าวขึ้นเมื่อกวนอวี่(กวนอู) นาทัพขึ้นแดนต่อสู้กับเฉาเชาหลวี่เหมิง (ลิบอง) จึงนาทัพอู๋ตลบหลังตีชิงมณฑลจิงโจวกลับคืนมาได้ทั้งหมด กวนอวี่ถูกสังหารในครานั้น หลิวเป้ ยประกาศสถาปนาตนเองเป็นจักรพรรดิแห่งสู่ฮั่น ยกทัพมาหมายแก้แค้นให้กวนอวี่และตีชิงแดนจิงโจวกลับคืน ซุนเฉวียนเกรงรัฐเว่ย(วุยก๊ก) ฉวยโอกาสยกทัพตีกระหนาบ จึงส่งทูตไปอ่อมน้อมต่อราชสานักเว่ย เว่ยเหวินตี้ (เฉาพี – โจผี) ยอมรับไมตรี อวยฐานันดรศักดิ์ให้ซุนเฉวียนเป็นที่ ‘อู๋หวาง’ ซุนเฉวียนแต่งตั้งลู่ซวิ่นเป็นผู้บัญชาการทัพออกรับศึกหลิวเป้ ยที่ สมรภูมิยีหลิง(อิเหลง) ลู่ซวิ่นตั้งรับไม่ออกรับ ล่อให้หลิวเป้ ยล่วงลึกเข้ามาในแดนอู๋ เส้นทางเสบียงขนส่งลาบาก อานุภาพแหลมคมของกองทัพลดทอนลง จากนั้นลู่ซวิ่นอาศัยเพลิงกาฬเผาผลาญหลิวเป้ ยทั้งกองทัพ หลิวเป้ ยถอยไปตั้งที่เมืองไป๋ ตี้เฉิงประชวรถึงแก่สวรรคตในเวลาต่อมา จูเก๋อเลี่ยง(จูกัดเหลียง – ขงเบ้ง)ขึ้นเป็นเฉิงเซี่ยง(สมุหนายก) ในรัชกาลหลิวซ่าน(เล่าเสี้ยน) ส่งเติ้งจือ(เตงจี๋) มาเจริญไมตรีทางการทูตซุนเฉวียนเห็นว่ารัฐเว่ยเป็นรัฐใหญ่
  • 7. มีศักยภาพอันเข้มแข็งที่แท้จริง จึงต้องร่วมมือกับรัฐสู่เพื่อคานอานาจรัฐเว่ย รัฐอู๋และสู่จึงกลับเป็นพันธมิตรอีกครั้ง เว่ยเหวินตี้พิโรธจึงยกทัพใหญ่บุกตีรัฐอู๋ แต่ประสบความพ่ายแพ้ย่อยยับ หลังจากยกกลับไปนครหลวงก็ประชวรถึงแก่สวรรคต จูเก๋อเลี่ยงนาทัพบุกตีรัฐเว่ยและขอให้รัฐอู๋ร่วมบุกตีด้วยกันหลาย ครั้ง กระนั้นรัฐอู๋ก็ไม่ได้ทาประการใดมากนัก ซุนเฉวียนเห็นว่าถึงเวลาที่จะสถาปนาตนเองขึ้นเป็นจักรพรรดิเยี่ยงหวางตี้อีก สองรัฐแล้ว จึงสถาปนาราชวงศ์อู๋ มีพระนามว่าอู๋ต้าตี้ ท้ายรัชกาลอู๋ต้าตี้ เกิดมรสุมเลือดช่วงชิงตาแหน่งรัชทายาท หลังจากที่รัชทายาทซุนเติงทิวงคตด้วยพระโรค ซุนเหอและซุนป้ าโอรสองค์ที่สามและสี่ของอู๋ต้าตี้เปิดศึกช่วงชิงตาแหน่ง รัชทายาท จบลงด้วยมรสุมโลหิตคละคลุ้งซุนเหอถูกถอดออกจากตาแหน่งรัชทายาท ซุนป้ าถูกบีบบังคับให้กระทาอัตวินิบาตกรรม ซุนเหลียงโอรสองค์ที่เจ็ดได้รับแต่งตั้งเป็นรัชทายาทสืบแทน อู๋ต้าตี้สวรรคตด้วยพระโรคชราสิริพระชนมายุเจ็ดสิบชันษา ซุนเหลียงสืบราชสมบัติขึ้นเป็นหวางตี้แห่งรัฐอู๋ โดยมีจูเก๋อเค่อ (จูกัดเก๊ก)เป็นผู้สาเร็จราชการ จูเก๋อเค่อนาทัพอู๋บุกตีรัฐเว่ยไม่สาเร็จ ประสบความปราชัยกลับมาจากนั้นซุนจวุ้น(ซุนจุ๋น) ก่อการยึดอานาจประหารชีวิตจูเก๋อเค่อทั้งครอบครัว ขึ้นเป็นผู้สาเร็จราชการกุมอานาจเบ็ดเสร็จ ซุนจวิ้นล้มป่วยถึงแก่กรรมซุนหลิน(ซุนหลิม)ขึ้นสืบทอดอานาจ
  • 8. กระทาหยาบช้าข่มเหงพระเจ้าซุนเหลียง พระเจ้าซุนเหลียงวางแผนการหมายสังหารซุนหลิน แต่แผนการกลับรั่วไหล ซุนหลินจึงถอดพระเจ้าซุนเหลียงออกจากราชสมบัติ ลดฐานันดรศักดิ์เป็นที่ฮุ่ยจีหวางตั้งพระเจ้าซุนชิว(ซุนฮิว) โอรสองค์ที่หกแห่งอู๋ต้าตี้ขึ้นสืบราชสมบัติราชวงศ์อู๋ ทรงพระนามอู๋จิ่งตี้ อู๋จิ่งตี้ร่วมมือกับแม่ทัพติงเฟิง(เตงฮอง)สังหารซุนหลิน ยึดอานาจกลับคืนมาสาเร็จ ไม่ปรากฎว่าอู๋จิ่งตี้เป็นจักรพรรดิที่ปรีชาสามารถ ในยุคของเขาบ้านเมืองเกิดการทุจริตมากมาย อู๋จิ่งตี้ประชวรถึงแก่สวรรคตด้วยพระชนมายุยี่สิบเก้าชันษา ภายหลังการล่มสลายของรัฐสู่ไม่นาน ด้วยเหตุที่รัชทายาทซุนวานยังเยาว์ชันษา เหล่าขุนนางจึงยกซุนเฮ่าโอรสในอดีตรัชทายาทซุนเหอขึ้นสืบราชสมบัติราชวงศ์อู๋ พระเจ้าซุนเฮ่าเป็นทรราชย์อันกักขฬะเผด็จการ ใช้จ่ายเงินในท้องพระคลังอย่างฟุ่มเฟือย เกิดการก่อกบฎหลายครั้งในรัชสมัยของพระองค์แม้ทางการจะสามารถปราบปรามลงได้ แต่แม่ทัพขุนนางและประชาชนล้วนเสื่อมศรัทธาในตัวเขาอย่างสิ้นเชิง พระเจ้าซุนเฮ่านาทัพอู๋บุกตีรัฐจิ้น(ซือหม่าเหยียน – สุมาเอี๋ยน ล้มล้างราชวงศ์เว่ย สถาปนาราชวงศ์จิ้น)หลายครั้งล้วนประสบความล้มเหลว ขณะที่การบริหารภายในเป็นไปอย่างฟอนเฟะ ขุนนางผู้ใดทัดทานล้วนถูกประหารชีวิตอย่างโหดร้ายทารุณ สุดท้ายราชสานักอู๋มีแต่ขุนนางกังฉินประจบสอพลอทั้งสิ้น ประชาชนรัฐอู๋ล้วนถูกขูดรีดจนยากจนข้นแค้น ตกอยู่ในสภาพตกต่าลงอย่างสิ้นเชิงจิ้นอู่ตี้ (ซือหม่าเหยียน) จึงบัญชาแม่ทัพตู้อวี้นาทัพบุกทะลวงเข้ารัฐอู๋ กองกาลังรัฐอู๋มิอาจต้านทานได้ พระเจ้าซุนเฮ่าจึงยอมจานน ราชวงศ์อู๋จึงถึงกาลอวสาน ใต้หล้าถูกรวมเป็นหนึ่งอีกครั้งภายใต้ราชวงศ์จิ้น พระเจ้าซุนเฮ่าถูกลดฐานันดรศักดิ์เป็นกุ้ยหมิงโหว และถึงแก่อนิจกรรมในอีกสี่ปีต่อมา