SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline

สมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นมี 4 ประการ
1. สมบัติการสะท้อน
2. สมบัติการหักเห
3. สมบัติการแทรกสอด
4. สมบัติการเลี้ยวเบน

สมบัติการสะท้อนของคลื่น
การสะท้อนของคลื่นเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ไปชนกับสิ่งกีด
ขวาง หรือกระทบรอยต่อระหว่างตัวกลาง ทาให้คลื่นส่วนหนึ่ง
เคลื่อนที่กลับมายังตัวกลางเดิม โดยมีลักษณะดังต่อไปนี้

กฎการสะท้อน
1. เป็นไปตามกฎการสะท้อนที่ว่า
1.) มุมตกกระทบ = มุมสะท้อน
2.) ทิศทางการของคลื่นตกกระทบ คลื่นสะท้อน และเส้นปกติ อยู่ใน
ระนาบเดียวกัน
2. ความถี่ ความยาวคลื่น อัตราเร็ว จะคงเดิมเสมอ
3. ถ้าไม่มีการสูญเสียพลังงาน แอมพลิจูดของคลื่นจะคงเดิม
แต่ถ้ามีการสูญเสียพลังงานแอมพลิจูดของคลื่นสะท้อนจะลดลง

สมบัติการหักเหของคลื่น
การหักเหของคลื่นเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลาง
หนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง ทาให้ความเร็วคลื่นและความยาวคลื่น
เปลี่ยนไป แต่ความถี่คงเดิม
การหักเหของคลื่นมีผลทาให้อัตราเร็วคลื่นและความยาว
คลื่นเปลี่ยน แต่ทิศการเคลื่อนที่จะเปลี่ยนหรือคงเดิมก็ได้ ขึ้นอยู่
กับ

3. ถ้าทิศของคลื่นตกกระทบตั้งฉากกับรอยต่อ หรือหน้า
คลื่นตกกระทบขนานกับรอยต่อระหว่างตัวกลางทิศของคลื่น
ที่หักเหที่ผ่านไปอีกตัวกลางหนึ่งจะไม่เปลี่ยนแปลง
2. ถ้าทิศของคลื่นตกกระทบทามุมกับรอยต่อ หรือหน้า
คลื่นตกกระทบทามุมกับรอยต่อระหว่างตัวกลางทิศของคลื่น
ที่หักเหที่ผ่านไปอีกตัวกลางหนึ่งจะเปลี่ยนแปลงดังรูป


การหักเหกรณีน้าลึกและน้าตื้น
กรณีน้าลึก คลื่นจะมีอัตราเร็วมาก ความยาวคลื่นมาก
มุมตกกระทบและมุมหักเหจะใหญ่
กรณีน้าตื้น คลื่นจะมีอัตราเร็วน้อย ความยาวคลื่น
น้อย มุมตกกระทบหรือมุมหักเหจะเล็ก

มุมวิกฤต คือ มุมตกกระทบใดๆ ที่ทาให้แนวการหัก
เหทามุม 90 องศากับเส้นปกติ
การสะท้อนกลับหมด เกิดขึ้นเมื่อทิศของคลื่นตก
กระทบโตกว่ามุมวิกฤต ทาให้เกิดคลื่นสะท้อนกลับใน
ตัวกลางเดิม
กรณีการหักเหของคลื่นน้า จะเกิดมุมวิกฤตได้เมื่อคลื่น
เคลื่อนที่จากบริเวณน้าตื้นเข้าสู่บริเวณน้าลึก


สมบัติการแทรกสอดของคลื่น
การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สอง
ขบวนขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทาให้เกิดการรวมกัน
ของคลื่นได้ 2 แบบ คือ 1. แบบหักล้างกัน
2. แบบเสริมกัน


แหล่งกาเนิดอาพันธ์ คือ แหล่งกาเนิด 2 แหล่งที่ปล่อย
คลื่นออกมามีความถี่ ความยาวคลื่น อัตราเร็ว และ
แอมพลิจูดเท่ากัน และมีเฟสตรงกันและต่างกันคงที่

ถ้าแหล่งกาเนิด S1 และ S2 เป็นแหล่งกาเนิดคลื่น
อาพันธ์มีเฟสตรงกัน แนวตรงกลางจะเป็นคลื่นรวมแบบ
เสริมกัน เรียกว่า แนวปฏิบัพกลาง (A0)
ถ้าแหล่งกาเนิด S1 และ S2 เป็นแหล่งกาเนิด
คลื่นอาพันธ์มีเฟสตรงกันข้าม แนวตรงกลางจะเป็นแนว
คลื่นรวมแบบหักล้างกัน เรียกว่า แนวบัพกลาง (N0)

การแทรกสอดแบบเสริมกัน
เป็นการแทรกสอดซึ่งสันคลื่นทั้งสองมารวมกันหรือท้อง
คลื่นมารวมกัน (เฟสตรงกันมาพบกัน) คลื่นลัพธ์ที่เกิดขึ้นจะมี
สันสูงกว่าเดิม หรือท้องคลื่นลึกกว่าเดิม เรียกตาแหน่งนั้นว่า
ปฏิบัพ (Antinode , A)

การแทรกสอดแบบหักล้างกัน
เป็นการแทรกสอดซึ่งสันคลื่นกับท้องคลื่นมา
รวมกัน (เฟสตรงกันข้ามมาพบกัน) คลื่นลัพธ์จะมีสัน
คลื่นต่ากว่าเดิม หรือท้องคลื่นตื้นกว่าเดิม เรียกตาแหน่ง
นั้นว่า บัพ (Node , N)

เมื่อแหล่งกาเนิดมีเฟสตรงกัน
แนวเสริมกัน (Antinode)
l S1P - S2P l = (n -
𝟏
𝟐
)
d 𝐬𝐢𝐧 𝜽 = n
𝒅𝒙
𝑫
= n เมื่อ n = 0,1,2,…

แนวหักล้างกัน (Node)
l S1P - S2P l = (n -
𝟏
𝟐
)
d 𝒔𝒊𝒏 𝜽 = (n -
𝟏
𝟐
)
𝒅𝒙
𝑫
= (n -
𝟏
𝟐
) เมื่อ n = 1,2,3,…


สมบัติการเลี้ยวเบน
การเลี้ยวเบนเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่านสิ่งกีดขวาง
คลื่นบางส่วนจะสะท้อนกลับ อีกบางส่วนที่สามารถผ่าน
ไปได้จะสามารถแผ่จากขอบสิ่งกีดขวางเข้าไปที่ด้านหลังของ
สิ่งกีดขวาง คล้ายกับคลื่นเคลื่อนที่อ้อมผ่านสิ่งกีดขวางนั้น
ได้ เราเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า การเลี้ยวเบน (คลื่นยังคง
มีความยาวคลื่น ความถี่ และอัตราเร็วของคลื่นเท่าเดิม)


หลักการเลี้ยวเบน
1. ในการเลี้ยวเบนของคลื่น ความยาวคลื่น ความถี่ และ
อัตราเร็วยังคงเท่าเดิม
2. ถ้าเพิ่มความยาวคลื่นของคลื่นตกกระทบ จะเกิดการ
เลี้ยวเบนมากขึ้น
3. การเคลื่อนที่ของคลื่นผ่านช่องเปิด จะเกิดการเลี้ยวเบน
มากยิ่งขึ้นถ้าขนาดช่องเปิด (d) น้อยกว่าความยาวคลื่น ()

การอธิบายการเลี้ยวเบนโดยใช้ หลักการของฮอยเกนส์
ซึ่งกล่าวว่าแต่ละจุดบนหน้าคลื่นถือว่าเป็นแหล่งกาเนิดของ
คลื่นใหม่ซึ่งทาให้เกิดคลื่น ซึ่งเคลื่อนที่ไปในทุกทิศทุก
ทางด้วยอัตราเร็วเท่ากับอัตราเร็วคลื่นเดิม

More Related Content

What's hot

03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงานPhanuwat Somvongs
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxNing Thanyaphon
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 

What's hot (20)

ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 

Similar to สมบัติของคลื่น

Similar to สมบัติของคลื่น (12)

คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่น
 
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอสมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
Copy-of-2.คลื่น.pdf
Copy-of-2.คลื่น.pdfCopy-of-2.คลื่น.pdf
Copy-of-2.คลื่น.pdf
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
P11
P11P11
P11
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
 
สรุปสมบัติของคลื่น
สรุปสมบัติของคลื่นสรุปสมบัติของคลื่น
สรุปสมบัติของคลื่น
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 

สมบัติของคลื่น