SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
English Group Work 
Sakon Nakhon Rajabhat University
กกาารออ่า่านเเชชิิง 
ววิิเเคครราาะะหห์์ 
นางสาววรรนิศา สายแวว 
รหัส 54201204110 
นางสาววาสนา วรรณขาม 
รหัส 54201204114 
นางสาวเกษณี สุพรรณ 
รหัส 54201204133 
นายธันวา จันทชารี 
รหัส 54201204137 
นางสาวทิพวัลย์ แสงทอง 
รหัส 54201204143 
น.ส.กันยารัตน์ ต้นสายธนินทร์ 
โดย 
English Group Work 
Sakon Nakhon Rajabhat University
1.ความหมายของกกาาร 
ออ่า่านเเชชิิงววิิเเคครราาะะหห์์ 
การอ่านเชิงวิเคราะห์ 
วิจารณ์ หรือ การอ่านเชิงวิพากษ์ 
วิจารณ์ หมายถึงการอ่านทผีู่้อ่านนำาเอา 
วิธีคิดอย่างมีวิจารณญาณมาใช้ในการ 
รับสารจากการอ่าน ทงั้นเี้พอื่ประเมินสิ่ง 
ที่อ่านและตัดสินใจว่าสิ่งที่ผู้เขียนนำา 
เสนอมีเหตุผลน่าเชื่อถือหรือไม่ เพียงใด 
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณเป็นทักษะ 
การอ่านขั้นสูงที่ผู้อ่านจำาเป็นต้องมีความ 
รู้เกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อเป็นพื้นฐานใน 
การวิเคราะห์วิจารณ์ในขั้นสูงต่อไป
22..จจุดุดมมุ่งุ่งหมมาายของกกาาร 
ออ่่าานเเชชิงิงววิิเเคครราาะะหห์์ 
2.1 การอ่านเพอื่การศึกษาค้นคว้า คือ ต้องการได้ 
รับความรู้จากเนอื้เรื่องทอี่่าน เช่น การอ่านหนังสือ 
ประเภทตำารา สารคดี หรือหนังสืออ่านเพิ่มเติม 
2.2 การอ่านเพอื่ความบันเทิง เช่น นวนิยาย เรื่อง 
สั้น สารคดี การ์ตูนมภีาพประกอบต่างๆ 
2.3 การอ่านเพื่อความคิดหรือเพื่อสนองความ 
ต้องการอื่นๆ
22..จจุุดมมุ่งุ่งหมมาายของกกาาร 
ออ่า่านเเชชิิงววิิเเคครราาะะหห์์ นักอ่านที่ดีควรมีจุดมุ่งหมายว่า 
ต้องการอ่านเพอื่อะไร เพอื่จะได้กำาหนด 
วิธีอ่านได้เหมาะสม โดยมีจุดมงุ่หมายดังนี้ 
1. อ่านเพื่อความรู้พื้นฐาน เป็นการ 
อ่านเพื่อรู้เรื่องโดยสังเขป หรือเพอื่ 
ลักษณะของหนังสือ 
2. อ่านเพื่อรวบรวมข้อมูล เป็นการ 
อ่านให้เข้าในเนอื้หาสาระ และจัดลำาดับ 
ความคิดได้ 
3. อ่านเพอื่หาแนวคิด หมายถึง การ 
อ่านเพื่อรู้ว่าสิ่งที่อ่านนั้นมีแนวคิดหรือ 
สาระสำาคัญอย่างไร 
4. อ่านเพอื่วิเคราะห์หรือวิจารณ์ คือ 
การอ่านเพื่อให้เข้าใจลึกซึ้งพอที่จะนำา 
ความรู้ไปใช้ หรือแสดงข้อคิดเห็นเกยี่วกับ
33..คววาามสสาามมาารถททาางกกาาร 
ออ่า่านเเชชิงิงววิิเเคครราาะะหห์์ 
จากการศึกษาความสามารถใน 
การอ่านเชิงวิเคราะห์ทกี่ล่าวมา สรุปได้ว่า 
ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์แบ่ง 
ออกได้ 3 ประเด็น 
 การวิเคราะห์ความสำาคัญ หมายถึงการ 
หาความสำาคัญ วัตถุประสงค์ จุดเด่น จุดด้อย 
ของข้อความ เรื่องราว 
 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ หมายถึง 
การหาความสัมพันธ์ของเหตุการณ์เรื่องราวที่ 
กำาหนด 
 การวิเคราะห์หลักการ หมายถึง ความ 
สามารถในการจับเค้าเงื่อน ระบบของเรื่อง 
ราวว่ายึดหลักการ เทคนิค และคติใด
4.ความสำาคัญและประโยชน์ของ 
การอ่ากานรอ่าเชินงมีวิควาเคมราะจำาเป็ห์ 
นต่อการดำาเนิน 
ชีวิตของคนในยุคปัจจุบันที่มีการ 
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในทุก ๆ ด้าน การ 
อ่านช่วยให้เราสามารถติดตามความ 
เคลื่อนไหว และได้ก้าวทันเหตุการณ์ การ 
อ่านจะช่วยเพมิ่พูนความรู้ ความคิด และ 
ประสบการณ์ ส่งเสริมให้เกิดความงอกงาม 
ทางวุฒิภาวะ วุฒิปัญญา การอ่านเปรียบ 
เสมือนสะพานเชื่อมความรู้ ความเข้าใจของ 
มนุษย์ทุกชาติทุกภาษาให้ถึงกัน หรือกล่าว 
อีกนัยหนงึ่ว่า การอ่านนำามนุษย์ผ่าน 
พรมแดนทางภูมิประเทศ และวัฒนธรรม 
ขณะเดียวกันการอ่านช่วยให้ผู้อ่านได้รับ 
ความเพลิดเพลินในชีวิตมากขึ้น
4.ความสำาคัญและประโยชน์ของ 
การอ่านเชิงวิเคราะห์ 
1. ช่วยให้ผู้อ่านเห็นภาพทั้งหมดของ 
งานเขียนแต่ละชิ้นเป็นส่วนรวมว่ามีอะไร 
ประกอบอยู่ในลักษณะใด 
2. ช่วยให้ผู้อ่านเกิดทักษะในการอ่าน 
สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆสามารถเลือกได้ว่าอะไรควร 
อ่านหรืออะไรอ่านผ่านๆหรืออ่านอย่างตั้งใจ 
อย่างละเอียด 
3. ช่วยให้ผู้อ่านเพิ่มประสิทธิภาพการ 
อ่านให้แก่ตนเองและทำาให้เกิดความรักความ 
ชื่นชมความซาบซึ้งอีกทั้งเล็งเห็นคุณค่าของ 
งานเขียน 
4. ช่วยให้ผู้อ่านนำาเอาวิธีการและผล
5. หลักการสอนอ่าน 
กเาชรสิงอนวอิเ่าคนเชริงาวิเะครหาะ์ห์ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน 
ดังนี้ 
1. กำาหนดสิ่งที่ต้องการวิเคราะห์ เป็นการกำาหนด 
สิ่งของ เรื่องราว หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ขึ้นมา เพื่อจะใช้ 
วิเคราะห์ 
2. กำาหนดปัญหาหรือวัตถุประสงค์ เป็นการกำาหนด 
ประเด็นข้อสงสัยจากปัญหาของสิ่งที่ต้องการวิเคราะห์ 
เพื่อค้นหาความจริง สาเหตุ หรือความสำาคัญ 
3. กำาหนดหลักการหรือกฎเกณฑ์ เป็นการกำาหนด 
ข้อกำาหนดสำาหรับใช้แยกส่วนประกอบที่กำาหนดให้ 
4. พิจารณาแยกแยะ เป็นการพินิจพิเคราะห์ 
ทำาการแยกแยะ กระจายสิ่งที่กำาหนดให้ออกเป็นส่วนย่อย 
ๆ โดยอาจใช้เทคนิคคำาถาม ที่ประกอบด้วย What 
Where Why Who How 
5. สรุปคำาตอบ เป็นการรวบรวมประเด็นที่สำาคัญ 
เพื่อ 
ค้นหาข้อสรุปเป็นคำาตอบ หรือตอบปัญหาของสิ่งที่กำาหนด
PPlloott ssuummmmaarryy 6.วิธีการพัฒนาการ 
อ่าน 
วิธีการพัฒนาการอ่านหนังสือทดีี่ มขีั้นตอน ดังนี้ 
1. อ่านทั้งย่อหน้า พยายามจับจุดสำาคัญของ 
เนอื้หาในย่อหน้านั้น ดูรายละเอียดนั้นว่ามี 
อะไรบ้างที่สัมพันธ์กับจุดสำาคัญ 
2. สำารวจตำารา หรือหนังสือนนั้ ๆ ก่อนทจี่ะ 
ทำาการอ่านจริง ดังนี้ ดูสารบัญ คำานำา เพื่อทราบว่า 
ในเล่มนนั้ ๆ มเีนอื้หาอะไรบ้าง ตรวจดูบทที่จะอ่านว่ามี 
หัวข้ออะไรบ้าง อ่านคำานำาของหนังสือและบทนำาใน 
แต่ละบทด้วย 
3. อ่านเป็นบท ๆ 
3.1 อ่านทีละบทโดยไม่หยุดจนจบบท 
3.2 อ่านบทเดิมอีกครั้ง 
3.3 จดบันทึก
6.วิธีการพัฒนาการอ่าน 
4. การอ่านแบบข้ามหรืออ่านแบบคร่าว ๆ 
ต้องการทราบข้อความบางอย่าง 
เท่านั้น เช่น หมายเลขโทรศัพท์ ความหมายของ คำา 
ใดคำาหนึ่ง 
ต้องการทราบว่าควรอ่านทั้งหมดหรือไม่ 
ช่วยให้ทราบคร่าว ๆ ว่าในแต่ละบท เป็นอย่างไร 
เพราะเป็นการอ่านเฉพาะหัวข้อหรือข้อสรุปเท่านั้น 
5. สะสมประสบการณ์และคำาศัพท์ให้มากที่สุด 
การที่ผู้อ่านจะเข้าใจเรื่องที่อ่านได้ดีนั้นจำาเป็นต้อง 
อาศัยประสบการณ์เดิมและความรู้ เกี่ยวกับคำาศัพทท์ี่ 
สะสมไว้ เมื่ออ่านเรื่องใหม่จึงสามารถนำาเอาความรู้เดิม 
มาถ่ายโยงสัมพันธ์กับความรู้ใหม่ เพื่อเพิ่มความเข้าใจ 
ในเรื่องที่อ่านได้ดียิ่งขึ้น
7. ลักษณะของการอ่าน 
เชิงวิเคราะห์ 
การวิเคราะห์เรื่องที่อ่านทุกชนิด 
สิ่งที่จะละเลยเสียมิได้ก็คือการพิจารณา 
ถึงการใช้ถ้อยคำาสำานวนภาษาว่ามีความ 
เหมาะสมกับระดับและประเภทของงาน 
เขียนหรือไม่ 
ดังนั้นการอ่านวิเคราะห์จึงต้องใช้ 
เวลาอ่านมากและยิ่งมีเวลาอ่านมากก็ยิ่งมี 
โอกาสวิเคราะห์ ได้ดีมากขึ้นการอ่านใน 
ระดับนี้ต้องรู้จักตั้งคำาถามและจัดระเบียบ 
เรื่องราวทอี่่าน เพอื่จะได้เข้าใจเรื่องและ 
ความคิดของผู้เขียนต้องการ
ววิิธธีอีอ่่าานแแบบบ 
ววิิเเคครราาะะหห์์ 
องค์ประกอบของคำา 
และวลี 
วิเคร 
าะห์ 
การใช้คำาในประโยสำานวนภาษา 
นั 
ย 
จุดประสงค์ 
ของผู้แต่ง
7. ลักษณะของการอ่าน 
เชิงวิเคราะห์ 
การวิเคราะห์เรื่องทอี่่านทุกชนิด 
สงิ่ทจี่ะละเลยเสียมิได้ก็คือ 
การพิจารณาถึงการใช้ถ้อยคำาสำานวน 
ภาษาว่ามีความเหมาะสมกับ 
ระดับและประเภทของงานเขียนหรือไม่ 
เช่น ในบทสนทนาก็ไม่ควรใช้ภาษาที่ 
เป็นแบบแผน ควรใช้สำานวนให้เหมาะ 
สมกับสภาพจริงหรือเหมาะแก่กาลสมัย 
ที่เหตุการณ์ในหนังสือนั้นเกิดขึ้น
กกาารววิิเเคครราาะะหห์์ 
กกาารออ่า่าน 
ประกอบ 
ด้วย 
รูปแบบ 
สำานวนภาษา 
เนื้อหาหรือเนื้อเรื่อง กลวิธีในการประพันธ์
ดูรูปแบบของงานประพันธ์ว่า 
ใช้รูปแบบใด อาจเป็นนิทาน 
บทละคร นวนิยาย เรื่องสั้น 
บทร้อยกรอง หรือบทควม 
ระบวนการวิเคราะห์ 
จากหนังสือพิมพ์ 
แยกเนื้อเรื่องออกเป็น 
ส่วนๆให้เห็นว่า 
ใครทำาอะไร ที่ไหน 
อย่างไร เมื่อไร 
แยกพิจารณาแต่ละส่วน 
ให้ละเอียดลงไปว่า 
ประกอบกันอย่างไร 
หรือประกอบด้วยอะไร 
พิจารณาให้เห็นว่า 
ผู้เขียน 
ให้กลวิธีเสนอเรื่อง 
อย่างไร
การอ่านเชิงวิเคราะห์ในขั้นต่า
วิเคราะห์คำา 
การอ่านวิเคราะห์คำา เป็นการอ่านเพอื่ 
ให้ผู้อ่านแยกแยะถ้อยคำาในวลี 
ประโยค หรือข้อความต่างๆโดย 
สามารถบอกได้ว่า คำาใดใช้อย่างไร 
ผิดหน้าที่ ไม่เหมาะสม ไม่ชัดเจน 
อย่างไร 
ควรจะต้องหาทางแก้ไข ปรับปรุง 
อย่างไร
วิเคราะห์ประโยค 
การอ่านวิเคราะห์ประโยคเป็นการ 
อ่านเพื่อแยกแยะประโยคต่างๆ ว่าเป็น 
ประโยคที่ถูกต้องชัดเจนหรือไม่ ใช้ 
ประโยคผิดไปจาก แบบแผนของภาษา 
อย่างไร เป็นประโยคที่ถูกต้องสมบรูณ์ 
เพียงใดหรือไม่ มีหน่วยความคดิใน 
ประโยคขาดเกินหรือไม่ 
เรียงลำาดับความในประโยคที่ใช้ได้ถูกต้อง
วิเคราะห์ทัศนะของผู้แต่ง 
ผู้อ่านต้องพิจารณาไตร่ตรองให้ 
รอบคอบว่า 
ผู้เขียนเสนอทัศนะมีนำ้าหนักเหตุผล 
ประกอบข้อเท็จจริง น่าเชื่อถือเพียง 
ใด เป็นคนมองโลกในแง่ใด
วิเคราะห์รส 
การอ่านวิเคราะห์รส หมายถึง การอ่านอย่าง 
พิจารณาถึงความซาบซึ้งประทับใจที่ได้จาก 
วิธีการที่จะทกำาาใรหอ้เ่าขน้า ถึงรสอย่างลกึ 
ซึ้ง 
คือการวิเคราะห์รสของเสียงและรส 
ของภาพ
8. ความพร้อมสำาหรับผู้ 
อ่านเชิงวิเคราะห์ 
กระบวนการอ่าน มี 4 ขั้นตอน คือ 
ขั้นแรกการอ่านออก อ่านได้ หรืออ่านออก 
เสียงได้ถูกต้อง 
ขั้นทสี่องการอ่านแล้วเข้าใจ ความหมาย 
ของคำา วลี ประโยค สรุปความได้ 
ขั้นที่สามการอ่านแล้วรู้จักใช้ความคิด 
วิเคราะห์ วิจารณ์และออกความเหน็ในทางทขีั่ด 
แย้งหรือเห็นด้วยกับผู้เขียนอย่างมเีหตุผล 
ขั้นสุดทา้ยคือการอ่านเพอื่นำาไปใช้ 
ประยุกต์ใช้ในเชิงสร้างสรรค์
8. ความพร้อมสำาหรับผู้ 
อ่านเชิงวิเคราะห์ 
 คุณค่าของการอ่าน 
วัตถุประสงค์ในการอ่านของแต่ละ 
บุคคลย่อมแตกต่างกนัออกไป เช่น อ่านเพอื่ 
ความรู้ อ่านเพอื่ใหเ้กิดความคิด อ่านเพอื่ความ 
เพลิดเพลิน อ่านเพอื่ความจรรโลงใจ 
 การเตรียมพร้อมเพื่อการอ่าน 
การอ่านจะดำาเนินไปได้ดีเพียงใดขึ้น 
อยู่กบัสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และองค์ 
ประกอบที่อยภู่ายในร่างกาย การอ่าน 
ท่ามกลางบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่เหมาะ 
สม จะนำามาซึ่งประสิทธิและประสิทธิผลในการ 
อ่าน
8. ความพร้อมสำาหรับผู้ 
อ่านเชิงวิเคราะห์ 
 กกาารเเลลือือกสรรววัสัสดดุกุกาารออ่า่าน 
การเลือกสรรวัสดุการอ่าน ขึ้นอยกูั่บจุดมงุ่ 
หมายหรือวัตถปุระสงค์ของการอ่าน เช่น การ 
อ่านเพอื่การศึกษา การอ่านเพอื่หาข้อมลู 
ประกอบการทำางาน การอ่านเพอื่ความ 
เพลิดเพลิน การอ่านเพื่อฆ่าเวลา 
 การกำาหนดจุดมุ่งหมายการอ่าน 
การรู้ความมุ่งหมายในการอ่าน 
เปรียบเหมือนการรู้จุดหมายปลายทางของการ 
เดินทาง ทำาใหส้ามารถเตรียมพร้อมสำาหรับ 
สถานการณ์ต่างๆ และเดินทางไปสู่ทหี่มายได้ 
นักอ่านที่ดีควรมีจุดมุ่งหมายว่าต้องการอ่าน 
เพอื่อะไร เพื่อจะได้กำาหนดวิธีอ่านได้เหมาะสม
9. การสอนแบบมุ่ง 
ประสบการณ์ภาษา 
การสอนแบบมงุ่ประสบการณ์ภาษา หรือ 
( Lighthouse Literacy Project Through 
Concentrated Language Encounter 
Instruction) 
เป็นกระบวนการเรียนการสอนที่มุ่งเน้น 
ธรรมชาติในการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นหลัก ใช้ 
กิจกรรมที่กระตุ้นการเรียนรู้แบบธรรมชาติให้ผู้ 
เรียนได้ทดลองใช้ภาษา ซึ่งไม่ว่าจะเป็นภาษา 
แม่ หรือภาษาทสี่อง ทสี่าม กระบวนการทาง 
ภาษาด้วยกระบวนการทางความคิดของตัวเอง 
ใช้หลักการทางสมองเป็นหลัก ควบคู่ไปกับ 
ศักยภาพส่วนตัวที่เรียกว่าพหุปัญญาและใช้ 
จิตวิทยาหลายด้านเข้ามาร่วม สิ่งสำาคัญเด็กได้ 
ค้นคว้า ลงมือปฏิบัติทางภาษาด้วยตัวเอง
9. การสอนแบบมุ่ง 
ประสบการณ์ภาษา 
วิธีสอนแบบมงุ่ประสบการณ์ภาษามี 3 รูป 
แบบ ดังนี้ 
1. วิธีสอนแบบมุ่งประสบการณ์ 
ภาษา รูปแบบที่ 1 เป็นการสอนระดับชั้น 
ประถมศึกษาปีที่ 1-2 มีจุดมงุ่หมายทสี่ำาคัญ 
คือ ผู้เรียนสามารถฟังเรื่องราวง่ายๆ ซึ่งเป็น 
ภาษาที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจำาวันได้อย่าง 
เข้าใจ สามารถจำาสัญลักษณ์ของคำาและ 
เข้าใจความหมายของคำาในประโยคต่างๆ 
ตามความคิดเห็นของตนเองได้
9. การสอนแบบมุ่ง 
ประสบการณ์ภาษา 
2. วิธีสอนแบบมงุ่ประสบการณ์ภาษา รูป 
แบบที่ 2 เป็นการสอนระดับชั้นประถม 
ศึกษาปีที่ 3-4 เมอื่นักเรียนได้ 
ประสบการณ์ในการฟัง การพูด การอ่าน 
และการเขียนในรูปแบบที่ 1 แล้วในระดับ 
ชนั้ประถมศึกษาปีที่ 3-4 นักเรียนจะเริ่มฝึก 
อ่านและเขียนเรื่องต่างๆ ทมีี่ลักษณะการ 
เขียนที่หลากหลายพร้อมทั้งใช้ความ 
สามารถในการคิดแต่งความด้วยตนเอง 
มากขึ้น โดยอาศัยโดยอาศัยการเลียนแบบ 
หรืออิงแบบจากบทเรียน
9. การสอนแบบมุ่ง 
ประสบการณ์ภาษา 
3. วิธีสอนแบบมุ่งประสบการณ์ 
ภาษา รูปแบบที่ 3เป็นการสอนระดับ 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6เน้นความ 
หลากหลาย ของการอ่านการใช้ภาษา 
ต่างๆ ตามความสนใจ และเน้นความ 
หลากหลายของการประมวลผล 
ประสบการณ์ต่างๆ ฝึกไปให้นักเรียน 
รู้จัก ค้นคว้าหาข้อมูล จากแหล่งสอื่ 
ด้วยตนเองเริ่มให้นักเรียนรู้จัก 
วิเคราะห์เรื่องทอี่่าน มีการคิดรูปแบบ 
การเขียนร่วมกันก่อนที่จะแยกเขียน
10. แนวทฤษฏีการสอน 
แบบอรรถฐาน 
การสอนแบบมุ่งประสบการณ์ 
ภาษาว่า จำาเป็นจะต้องยึดบทเรียน 
หรือกิจกรรมเป็นหลัก ซงึ่ถือว่าเป็น 
ปัจจัยที่สำาคัญในการให้รูปแบบภาษา 
แก่ผู้เรียน ดังนั้นบทเรียนหรือกิจกรรม 
นนั้ ต้องได้รับการพัฒนาอย่างถูกต้อง 
และเหมาะสมเพื่อให้เป็นรูปแบบของ 
ภาษาที่เหมาะสมด้วย
10. แนวทฤษฏีการสอน 
แบบอรรถฐาน 
 ภาษาและความหมาย (Language and 
Meaning) 
 ภาษาและบริบททางภาษา (Language 
Context) 
1.เป็นผล (OutputหรือProduct) 
2.เป็นกระบวนการ(Process) 
 ภาษาและทำาเนียบภาษา (Language 
and Register) 
 การเรียนรู้ภาษาในบริบท (Language 
Learning in context)
11. อรรถลักษณะของ 
ภ ในาภษาษาา ไ(ทGยeแnละrภeา)ษาต่างประเทศ 
อรรถลักษณะของภาษาทั้งที่เป็นภาษาพูด 
และภาษาเขียนมีหลายชนิด ดังต่อไปนี้ 
1.เรื่องเล่าจากประสบการณ์ 
(Recount) 
2.รายงาน (Report) 
3.การเล่าหรือบรรยายเชิง 
จินตนาการ(Narration) 
4.เรื่องเกี่ยวกับความคิดเห็น 
(Exposition) 
5.การอภิปราย (Discussion) 
6. การอธิบาย (Explanation) 
7. วิธีการ (Procedure) 
8. การสังเกต (Observation)
12. ประโยชน์ของการสอนแบบ 
มุ่งประสบการณ์ภาษา 
 การสอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา 
The concentrated language encounter) 
เป็นวิธีการที่สามารถแก้ไขปัญหาในการ 
เรียนการสอนภาษาอังกฤษได้เนื่องจาก 
การสอนวิธีนี้เป็นการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น 
ศูนย์กลาง โดยผ่านประสบการณ์ตรงทุก 
ด้านของทักษะภาษา 
 การสอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา 
เป็นการสอนที่มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 
ภาษาโดยผ่านประสบการณ์ตรงทุกด้าน 
ของทักษะภาษาที่อาศัยหลักการให้ปัจจัย 
ป้อนที่มีความหมายเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความ
12. ประโยชน์ของการสอนแบบ 
มุ่งประสบการณ์ภาษา 
1. รู้จักคุ้นเคย ในการใช้ภาษา ฟัง พูด อ่าน 
และเขียน 
2. มีความกระตือรือร้นที่จะได้แสดงความ 
สามารถ 
3. จะสนใจและรักการอ่าน การเขียนได้มาก 
ขึ้น 
4. สนุกสนานกับการลองผิดลองถูกในการ 
เรียน 
5. มีความรู้สึกรับผิดชอบแลการทำางานร่วมกับ 
ผู้อื่น 
6. จัดกิจกรรมการเรียนการสอน เอื้อต่อความ 
แตกต่างได้
……..TThhee EEnndd…….. 
TThhaannkk YYoouu..

More Related Content

What's hot

โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีSantichon Islamic School
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จNat Ty
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์bambookruble
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56Dhanee Chant
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3teerachon
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัยkrupornpana55
 
การสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยการสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยTupPee Zhouyongfang
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล natdhanai rungklin
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินpupphawittayacom
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยTupPee Zhouyongfang
 
พระบรมราโชวาท
พระบรมราโชวาทพระบรมราโชวาท
พระบรมราโชวาทพัน พัน
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 

What's hot (20)

โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย
 
การสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยการสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัย
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
พระบรมราโชวาท
พระบรมราโชวาทพระบรมราโชวาท
พระบรมราโชวาท
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 

Viewers also liked

ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความPensri Sangsuk
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านThanit Lawyer
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องAj.Mallika Phongphaew
 
Spelling bee จ.เพชรบูรณ์
Spelling bee จ.เพชรบูรณ์Spelling bee จ.เพชรบูรณ์
Spelling bee จ.เพชรบูรณ์Teacher Sophonnawit
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านAj.Mallika Phongphaew
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designคุณครูพี่อั๋น
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 
ข้อสอบการอ่าน (PISA)
ข้อสอบการอ่าน (PISA)ข้อสอบการอ่าน (PISA)
ข้อสอบการอ่าน (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบPeerapong Veluwanaruk
 

Viewers also liked (16)

ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่าน
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
Spelling bee จ.เพชรบูรณ์
Spelling bee จ.เพชรบูรณ์Spelling bee จ.เพชรบูรณ์
Spelling bee จ.เพชรบูรณ์
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่าน
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
ข้อสอบการอ่าน (PISA)
ข้อสอบการอ่าน (PISA)ข้อสอบการอ่าน (PISA)
ข้อสอบการอ่าน (PISA)
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
 

Similar to นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์

ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำsliderubtumproject.com
 
4 บทความ
4 บทความ4 บทความ
4 บทความKo Kung
 
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯการอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯsompoy
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญPiyarerk Bunkoson
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมดบทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมดChowwalit Chookhampaeng
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionarepingkung
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยน้อง มัดไหม
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8josodaza
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋Kaekea Bio
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecturesupimon1956
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1Kobwit Piriyawat
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final examKruBeeKa
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้aumkpru45
 

Similar to นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์ (20)

ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
4 บทความ
4 บทความ4 บทความ
4 บทความ
 
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯการอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
 
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมดบทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionare
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
 
Curriculum to learn
Curriculum to learnCurriculum to learn
Curriculum to learn
 
123
123123
123
 
123
123123
123
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecture
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 

นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์

  • 1. English Group Work Sakon Nakhon Rajabhat University
  • 2. กกาารออ่า่านเเชชิิง ววิิเเคครราาะะหห์์ นางสาววรรนิศา สายแวว รหัส 54201204110 นางสาววาสนา วรรณขาม รหัส 54201204114 นางสาวเกษณี สุพรรณ รหัส 54201204133 นายธันวา จันทชารี รหัส 54201204137 นางสาวทิพวัลย์ แสงทอง รหัส 54201204143 น.ส.กันยารัตน์ ต้นสายธนินทร์ โดย English Group Work Sakon Nakhon Rajabhat University
  • 3. 1.ความหมายของกกาาร ออ่า่านเเชชิิงววิิเเคครราาะะหห์์ การอ่านเชิงวิเคราะห์ วิจารณ์ หรือ การอ่านเชิงวิพากษ์ วิจารณ์ หมายถึงการอ่านทผีู่้อ่านนำาเอา วิธีคิดอย่างมีวิจารณญาณมาใช้ในการ รับสารจากการอ่าน ทงั้นเี้พอื่ประเมินสิ่ง ที่อ่านและตัดสินใจว่าสิ่งที่ผู้เขียนนำา เสนอมีเหตุผลน่าเชื่อถือหรือไม่ เพียงใด การอ่านอย่างมีวิจารณญาณเป็นทักษะ การอ่านขั้นสูงที่ผู้อ่านจำาเป็นต้องมีความ รู้เกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อเป็นพื้นฐานใน การวิเคราะห์วิจารณ์ในขั้นสูงต่อไป
  • 4. 22..จจุดุดมมุ่งุ่งหมมาายของกกาาร ออ่่าานเเชชิงิงววิิเเคครราาะะหห์์ 2.1 การอ่านเพอื่การศึกษาค้นคว้า คือ ต้องการได้ รับความรู้จากเนอื้เรื่องทอี่่าน เช่น การอ่านหนังสือ ประเภทตำารา สารคดี หรือหนังสืออ่านเพิ่มเติม 2.2 การอ่านเพอื่ความบันเทิง เช่น นวนิยาย เรื่อง สั้น สารคดี การ์ตูนมภีาพประกอบต่างๆ 2.3 การอ่านเพื่อความคิดหรือเพื่อสนองความ ต้องการอื่นๆ
  • 5. 22..จจุุดมมุ่งุ่งหมมาายของกกาาร ออ่า่านเเชชิิงววิิเเคครราาะะหห์์ นักอ่านที่ดีควรมีจุดมุ่งหมายว่า ต้องการอ่านเพอื่อะไร เพอื่จะได้กำาหนด วิธีอ่านได้เหมาะสม โดยมีจุดมงุ่หมายดังนี้ 1. อ่านเพื่อความรู้พื้นฐาน เป็นการ อ่านเพื่อรู้เรื่องโดยสังเขป หรือเพอื่ ลักษณะของหนังสือ 2. อ่านเพื่อรวบรวมข้อมูล เป็นการ อ่านให้เข้าในเนอื้หาสาระ และจัดลำาดับ ความคิดได้ 3. อ่านเพอื่หาแนวคิด หมายถึง การ อ่านเพื่อรู้ว่าสิ่งที่อ่านนั้นมีแนวคิดหรือ สาระสำาคัญอย่างไร 4. อ่านเพอื่วิเคราะห์หรือวิจารณ์ คือ การอ่านเพื่อให้เข้าใจลึกซึ้งพอที่จะนำา ความรู้ไปใช้ หรือแสดงข้อคิดเห็นเกยี่วกับ
  • 6. 33..คววาามสสาามมาารถททาางกกาาร ออ่า่านเเชชิงิงววิิเเคครราาะะหห์์ จากการศึกษาความสามารถใน การอ่านเชิงวิเคราะห์ทกี่ล่าวมา สรุปได้ว่า ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์แบ่ง ออกได้ 3 ประเด็น  การวิเคราะห์ความสำาคัญ หมายถึงการ หาความสำาคัญ วัตถุประสงค์ จุดเด่น จุดด้อย ของข้อความ เรื่องราว  การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ หมายถึง การหาความสัมพันธ์ของเหตุการณ์เรื่องราวที่ กำาหนด  การวิเคราะห์หลักการ หมายถึง ความ สามารถในการจับเค้าเงื่อน ระบบของเรื่อง ราวว่ายึดหลักการ เทคนิค และคติใด
  • 7. 4.ความสำาคัญและประโยชน์ของ การอ่ากานรอ่าเชินงมีวิควาเคมราะจำาเป็ห์ นต่อการดำาเนิน ชีวิตของคนในยุคปัจจุบันที่มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในทุก ๆ ด้าน การ อ่านช่วยให้เราสามารถติดตามความ เคลื่อนไหว และได้ก้าวทันเหตุการณ์ การ อ่านจะช่วยเพมิ่พูนความรู้ ความคิด และ ประสบการณ์ ส่งเสริมให้เกิดความงอกงาม ทางวุฒิภาวะ วุฒิปัญญา การอ่านเปรียบ เสมือนสะพานเชื่อมความรู้ ความเข้าใจของ มนุษย์ทุกชาติทุกภาษาให้ถึงกัน หรือกล่าว อีกนัยหนงึ่ว่า การอ่านนำามนุษย์ผ่าน พรมแดนทางภูมิประเทศ และวัฒนธรรม ขณะเดียวกันการอ่านช่วยให้ผู้อ่านได้รับ ความเพลิดเพลินในชีวิตมากขึ้น
  • 8. 4.ความสำาคัญและประโยชน์ของ การอ่านเชิงวิเคราะห์ 1. ช่วยให้ผู้อ่านเห็นภาพทั้งหมดของ งานเขียนแต่ละชิ้นเป็นส่วนรวมว่ามีอะไร ประกอบอยู่ในลักษณะใด 2. ช่วยให้ผู้อ่านเกิดทักษะในการอ่าน สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆสามารถเลือกได้ว่าอะไรควร อ่านหรืออะไรอ่านผ่านๆหรืออ่านอย่างตั้งใจ อย่างละเอียด 3. ช่วยให้ผู้อ่านเพิ่มประสิทธิภาพการ อ่านให้แก่ตนเองและทำาให้เกิดความรักความ ชื่นชมความซาบซึ้งอีกทั้งเล็งเห็นคุณค่าของ งานเขียน 4. ช่วยให้ผู้อ่านนำาเอาวิธีการและผล
  • 9. 5. หลักการสอนอ่าน กเาชรสิงอนวอิเ่าคนเชริงาวิเะครหาะ์ห์ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1. กำาหนดสิ่งที่ต้องการวิเคราะห์ เป็นการกำาหนด สิ่งของ เรื่องราว หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ขึ้นมา เพื่อจะใช้ วิเคราะห์ 2. กำาหนดปัญหาหรือวัตถุประสงค์ เป็นการกำาหนด ประเด็นข้อสงสัยจากปัญหาของสิ่งที่ต้องการวิเคราะห์ เพื่อค้นหาความจริง สาเหตุ หรือความสำาคัญ 3. กำาหนดหลักการหรือกฎเกณฑ์ เป็นการกำาหนด ข้อกำาหนดสำาหรับใช้แยกส่วนประกอบที่กำาหนดให้ 4. พิจารณาแยกแยะ เป็นการพินิจพิเคราะห์ ทำาการแยกแยะ กระจายสิ่งที่กำาหนดให้ออกเป็นส่วนย่อย ๆ โดยอาจใช้เทคนิคคำาถาม ที่ประกอบด้วย What Where Why Who How 5. สรุปคำาตอบ เป็นการรวบรวมประเด็นที่สำาคัญ เพื่อ ค้นหาข้อสรุปเป็นคำาตอบ หรือตอบปัญหาของสิ่งที่กำาหนด
  • 10. PPlloott ssuummmmaarryy 6.วิธีการพัฒนาการ อ่าน วิธีการพัฒนาการอ่านหนังสือทดีี่ มขีั้นตอน ดังนี้ 1. อ่านทั้งย่อหน้า พยายามจับจุดสำาคัญของ เนอื้หาในย่อหน้านั้น ดูรายละเอียดนั้นว่ามี อะไรบ้างที่สัมพันธ์กับจุดสำาคัญ 2. สำารวจตำารา หรือหนังสือนนั้ ๆ ก่อนทจี่ะ ทำาการอ่านจริง ดังนี้ ดูสารบัญ คำานำา เพื่อทราบว่า ในเล่มนนั้ ๆ มเีนอื้หาอะไรบ้าง ตรวจดูบทที่จะอ่านว่ามี หัวข้ออะไรบ้าง อ่านคำานำาของหนังสือและบทนำาใน แต่ละบทด้วย 3. อ่านเป็นบท ๆ 3.1 อ่านทีละบทโดยไม่หยุดจนจบบท 3.2 อ่านบทเดิมอีกครั้ง 3.3 จดบันทึก
  • 11. 6.วิธีการพัฒนาการอ่าน 4. การอ่านแบบข้ามหรืออ่านแบบคร่าว ๆ ต้องการทราบข้อความบางอย่าง เท่านั้น เช่น หมายเลขโทรศัพท์ ความหมายของ คำา ใดคำาหนึ่ง ต้องการทราบว่าควรอ่านทั้งหมดหรือไม่ ช่วยให้ทราบคร่าว ๆ ว่าในแต่ละบท เป็นอย่างไร เพราะเป็นการอ่านเฉพาะหัวข้อหรือข้อสรุปเท่านั้น 5. สะสมประสบการณ์และคำาศัพท์ให้มากที่สุด การที่ผู้อ่านจะเข้าใจเรื่องที่อ่านได้ดีนั้นจำาเป็นต้อง อาศัยประสบการณ์เดิมและความรู้ เกี่ยวกับคำาศัพทท์ี่ สะสมไว้ เมื่ออ่านเรื่องใหม่จึงสามารถนำาเอาความรู้เดิม มาถ่ายโยงสัมพันธ์กับความรู้ใหม่ เพื่อเพิ่มความเข้าใจ ในเรื่องที่อ่านได้ดียิ่งขึ้น
  • 12. 7. ลักษณะของการอ่าน เชิงวิเคราะห์ การวิเคราะห์เรื่องที่อ่านทุกชนิด สิ่งที่จะละเลยเสียมิได้ก็คือการพิจารณา ถึงการใช้ถ้อยคำาสำานวนภาษาว่ามีความ เหมาะสมกับระดับและประเภทของงาน เขียนหรือไม่ ดังนั้นการอ่านวิเคราะห์จึงต้องใช้ เวลาอ่านมากและยิ่งมีเวลาอ่านมากก็ยิ่งมี โอกาสวิเคราะห์ ได้ดีมากขึ้นการอ่านใน ระดับนี้ต้องรู้จักตั้งคำาถามและจัดระเบียบ เรื่องราวทอี่่าน เพอื่จะได้เข้าใจเรื่องและ ความคิดของผู้เขียนต้องการ
  • 13. ววิิธธีอีอ่่าานแแบบบ ววิิเเคครราาะะหห์์ องค์ประกอบของคำา และวลี วิเคร าะห์ การใช้คำาในประโยสำานวนภาษา นั ย จุดประสงค์ ของผู้แต่ง
  • 14. 7. ลักษณะของการอ่าน เชิงวิเคราะห์ การวิเคราะห์เรื่องทอี่่านทุกชนิด สงิ่ทจี่ะละเลยเสียมิได้ก็คือ การพิจารณาถึงการใช้ถ้อยคำาสำานวน ภาษาว่ามีความเหมาะสมกับ ระดับและประเภทของงานเขียนหรือไม่ เช่น ในบทสนทนาก็ไม่ควรใช้ภาษาที่ เป็นแบบแผน ควรใช้สำานวนให้เหมาะ สมกับสภาพจริงหรือเหมาะแก่กาลสมัย ที่เหตุการณ์ในหนังสือนั้นเกิดขึ้น
  • 15. กกาารววิิเเคครราาะะหห์์ กกาารออ่า่าน ประกอบ ด้วย รูปแบบ สำานวนภาษา เนื้อหาหรือเนื้อเรื่อง กลวิธีในการประพันธ์
  • 16. ดูรูปแบบของงานประพันธ์ว่า ใช้รูปแบบใด อาจเป็นนิทาน บทละคร นวนิยาย เรื่องสั้น บทร้อยกรอง หรือบทควม ระบวนการวิเคราะห์ จากหนังสือพิมพ์ แยกเนื้อเรื่องออกเป็น ส่วนๆให้เห็นว่า ใครทำาอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อไร แยกพิจารณาแต่ละส่วน ให้ละเอียดลงไปว่า ประกอบกันอย่างไร หรือประกอบด้วยอะไร พิจารณาให้เห็นว่า ผู้เขียน ให้กลวิธีเสนอเรื่อง อย่างไร
  • 18. วิเคราะห์คำา การอ่านวิเคราะห์คำา เป็นการอ่านเพอื่ ให้ผู้อ่านแยกแยะถ้อยคำาในวลี ประโยค หรือข้อความต่างๆโดย สามารถบอกได้ว่า คำาใดใช้อย่างไร ผิดหน้าที่ ไม่เหมาะสม ไม่ชัดเจน อย่างไร ควรจะต้องหาทางแก้ไข ปรับปรุง อย่างไร
  • 19. วิเคราะห์ประโยค การอ่านวิเคราะห์ประโยคเป็นการ อ่านเพื่อแยกแยะประโยคต่างๆ ว่าเป็น ประโยคที่ถูกต้องชัดเจนหรือไม่ ใช้ ประโยคผิดไปจาก แบบแผนของภาษา อย่างไร เป็นประโยคที่ถูกต้องสมบรูณ์ เพียงใดหรือไม่ มีหน่วยความคดิใน ประโยคขาดเกินหรือไม่ เรียงลำาดับความในประโยคที่ใช้ได้ถูกต้อง
  • 20. วิเคราะห์ทัศนะของผู้แต่ง ผู้อ่านต้องพิจารณาไตร่ตรองให้ รอบคอบว่า ผู้เขียนเสนอทัศนะมีนำ้าหนักเหตุผล ประกอบข้อเท็จจริง น่าเชื่อถือเพียง ใด เป็นคนมองโลกในแง่ใด
  • 21. วิเคราะห์รส การอ่านวิเคราะห์รส หมายถึง การอ่านอย่าง พิจารณาถึงความซาบซึ้งประทับใจที่ได้จาก วิธีการที่จะทกำาาใรหอ้เ่าขน้า ถึงรสอย่างลกึ ซึ้ง คือการวิเคราะห์รสของเสียงและรส ของภาพ
  • 22. 8. ความพร้อมสำาหรับผู้ อ่านเชิงวิเคราะห์ กระบวนการอ่าน มี 4 ขั้นตอน คือ ขั้นแรกการอ่านออก อ่านได้ หรืออ่านออก เสียงได้ถูกต้อง ขั้นทสี่องการอ่านแล้วเข้าใจ ความหมาย ของคำา วลี ประโยค สรุปความได้ ขั้นที่สามการอ่านแล้วรู้จักใช้ความคิด วิเคราะห์ วิจารณ์และออกความเหน็ในทางทขีั่ด แย้งหรือเห็นด้วยกับผู้เขียนอย่างมเีหตุผล ขั้นสุดทา้ยคือการอ่านเพอื่นำาไปใช้ ประยุกต์ใช้ในเชิงสร้างสรรค์
  • 23. 8. ความพร้อมสำาหรับผู้ อ่านเชิงวิเคราะห์  คุณค่าของการอ่าน วัตถุประสงค์ในการอ่านของแต่ละ บุคคลย่อมแตกต่างกนัออกไป เช่น อ่านเพอื่ ความรู้ อ่านเพอื่ใหเ้กิดความคิด อ่านเพอื่ความ เพลิดเพลิน อ่านเพอื่ความจรรโลงใจ  การเตรียมพร้อมเพื่อการอ่าน การอ่านจะดำาเนินไปได้ดีเพียงใดขึ้น อยู่กบัสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และองค์ ประกอบที่อยภู่ายในร่างกาย การอ่าน ท่ามกลางบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่เหมาะ สม จะนำามาซึ่งประสิทธิและประสิทธิผลในการ อ่าน
  • 24. 8. ความพร้อมสำาหรับผู้ อ่านเชิงวิเคราะห์  กกาารเเลลือือกสรรววัสัสดดุกุกาารออ่า่าน การเลือกสรรวัสดุการอ่าน ขึ้นอยกูั่บจุดมงุ่ หมายหรือวัตถปุระสงค์ของการอ่าน เช่น การ อ่านเพอื่การศึกษา การอ่านเพอื่หาข้อมลู ประกอบการทำางาน การอ่านเพอื่ความ เพลิดเพลิน การอ่านเพื่อฆ่าเวลา  การกำาหนดจุดมุ่งหมายการอ่าน การรู้ความมุ่งหมายในการอ่าน เปรียบเหมือนการรู้จุดหมายปลายทางของการ เดินทาง ทำาใหส้ามารถเตรียมพร้อมสำาหรับ สถานการณ์ต่างๆ และเดินทางไปสู่ทหี่มายได้ นักอ่านที่ดีควรมีจุดมุ่งหมายว่าต้องการอ่าน เพอื่อะไร เพื่อจะได้กำาหนดวิธีอ่านได้เหมาะสม
  • 25. 9. การสอนแบบมุ่ง ประสบการณ์ภาษา การสอนแบบมงุ่ประสบการณ์ภาษา หรือ ( Lighthouse Literacy Project Through Concentrated Language Encounter Instruction) เป็นกระบวนการเรียนการสอนที่มุ่งเน้น ธรรมชาติในการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นหลัก ใช้ กิจกรรมที่กระตุ้นการเรียนรู้แบบธรรมชาติให้ผู้ เรียนได้ทดลองใช้ภาษา ซึ่งไม่ว่าจะเป็นภาษา แม่ หรือภาษาทสี่อง ทสี่าม กระบวนการทาง ภาษาด้วยกระบวนการทางความคิดของตัวเอง ใช้หลักการทางสมองเป็นหลัก ควบคู่ไปกับ ศักยภาพส่วนตัวที่เรียกว่าพหุปัญญาและใช้ จิตวิทยาหลายด้านเข้ามาร่วม สิ่งสำาคัญเด็กได้ ค้นคว้า ลงมือปฏิบัติทางภาษาด้วยตัวเอง
  • 26. 9. การสอนแบบมุ่ง ประสบการณ์ภาษา วิธีสอนแบบมงุ่ประสบการณ์ภาษามี 3 รูป แบบ ดังนี้ 1. วิธีสอนแบบมุ่งประสบการณ์ ภาษา รูปแบบที่ 1 เป็นการสอนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1-2 มีจุดมงุ่หมายทสี่ำาคัญ คือ ผู้เรียนสามารถฟังเรื่องราวง่ายๆ ซึ่งเป็น ภาษาที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจำาวันได้อย่าง เข้าใจ สามารถจำาสัญลักษณ์ของคำาและ เข้าใจความหมายของคำาในประโยคต่างๆ ตามความคิดเห็นของตนเองได้
  • 27. 9. การสอนแบบมุ่ง ประสบการณ์ภาษา 2. วิธีสอนแบบมงุ่ประสบการณ์ภาษา รูป แบบที่ 2 เป็นการสอนระดับชั้นประถม ศึกษาปีที่ 3-4 เมอื่นักเรียนได้ ประสบการณ์ในการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนในรูปแบบที่ 1 แล้วในระดับ ชนั้ประถมศึกษาปีที่ 3-4 นักเรียนจะเริ่มฝึก อ่านและเขียนเรื่องต่างๆ ทมีี่ลักษณะการ เขียนที่หลากหลายพร้อมทั้งใช้ความ สามารถในการคิดแต่งความด้วยตนเอง มากขึ้น โดยอาศัยโดยอาศัยการเลียนแบบ หรืออิงแบบจากบทเรียน
  • 28. 9. การสอนแบบมุ่ง ประสบการณ์ภาษา 3. วิธีสอนแบบมุ่งประสบการณ์ ภาษา รูปแบบที่ 3เป็นการสอนระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6เน้นความ หลากหลาย ของการอ่านการใช้ภาษา ต่างๆ ตามความสนใจ และเน้นความ หลากหลายของการประมวลผล ประสบการณ์ต่างๆ ฝึกไปให้นักเรียน รู้จัก ค้นคว้าหาข้อมูล จากแหล่งสอื่ ด้วยตนเองเริ่มให้นักเรียนรู้จัก วิเคราะห์เรื่องทอี่่าน มีการคิดรูปแบบ การเขียนร่วมกันก่อนที่จะแยกเขียน
  • 29. 10. แนวทฤษฏีการสอน แบบอรรถฐาน การสอนแบบมุ่งประสบการณ์ ภาษาว่า จำาเป็นจะต้องยึดบทเรียน หรือกิจกรรมเป็นหลัก ซงึ่ถือว่าเป็น ปัจจัยที่สำาคัญในการให้รูปแบบภาษา แก่ผู้เรียน ดังนั้นบทเรียนหรือกิจกรรม นนั้ ต้องได้รับการพัฒนาอย่างถูกต้อง และเหมาะสมเพื่อให้เป็นรูปแบบของ ภาษาที่เหมาะสมด้วย
  • 30. 10. แนวทฤษฏีการสอน แบบอรรถฐาน  ภาษาและความหมาย (Language and Meaning)  ภาษาและบริบททางภาษา (Language Context) 1.เป็นผล (OutputหรือProduct) 2.เป็นกระบวนการ(Process)  ภาษาและทำาเนียบภาษา (Language and Register)  การเรียนรู้ภาษาในบริบท (Language Learning in context)
  • 31. 11. อรรถลักษณะของ ภ ในาภษาษาา ไ(ทGยeแnละrภeา)ษาต่างประเทศ อรรถลักษณะของภาษาทั้งที่เป็นภาษาพูด และภาษาเขียนมีหลายชนิด ดังต่อไปนี้ 1.เรื่องเล่าจากประสบการณ์ (Recount) 2.รายงาน (Report) 3.การเล่าหรือบรรยายเชิง จินตนาการ(Narration) 4.เรื่องเกี่ยวกับความคิดเห็น (Exposition) 5.การอภิปราย (Discussion) 6. การอธิบาย (Explanation) 7. วิธีการ (Procedure) 8. การสังเกต (Observation)
  • 32. 12. ประโยชน์ของการสอนแบบ มุ่งประสบการณ์ภาษา  การสอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา The concentrated language encounter) เป็นวิธีการที่สามารถแก้ไขปัญหาในการ เรียนการสอนภาษาอังกฤษได้เนื่องจาก การสอนวิธีนี้เป็นการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น ศูนย์กลาง โดยผ่านประสบการณ์ตรงทุก ด้านของทักษะภาษา  การสอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา เป็นการสอนที่มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาโดยผ่านประสบการณ์ตรงทุกด้าน ของทักษะภาษาที่อาศัยหลักการให้ปัจจัย ป้อนที่มีความหมายเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความ
  • 33. 12. ประโยชน์ของการสอนแบบ มุ่งประสบการณ์ภาษา 1. รู้จักคุ้นเคย ในการใช้ภาษา ฟัง พูด อ่าน และเขียน 2. มีความกระตือรือร้นที่จะได้แสดงความ สามารถ 3. จะสนใจและรักการอ่าน การเขียนได้มาก ขึ้น 4. สนุกสนานกับการลองผิดลองถูกในการ เรียน 5. มีความรู้สึกรับผิดชอบแลการทำางานร่วมกับ ผู้อื่น 6. จัดกิจกรรมการเรียนการสอน เอื้อต่อความ แตกต่างได้
  • 34.