SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน วัฒนธรรมไทย
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาว ณัฐศศิญา พรมวงค์ เลขที่ 32 ชั้น ม.6 ห้อง 2
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม 1
1. นางสาว ณัฐศศิญา พรมวงค์ เลขที่ 32
ชื่อโครงงาน
วัฒนธรรมไทย
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Thai wisdom
ประเภทโครงงาน การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ณัฐศศิญา พรมวงค์ เลขที่ 32
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน การดาเนินงานครั้งนี้ใช้ระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 30 สิงหาคม
สิ้นสุดวันที่ ๒o กันยายน ๒๕๖๒
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เนื่องจากในปัจจุบันวัฒนธรรมไทยได้เริ่มจากหายไปจากการดาเนินชีวิตของชาวไทยใน ปัจจุบัน
ซึ่งคนสมัยใหม่มักจะละเลย แม้จะมีการนามาปฏิบัติอยู่บ้าง แต่ยังขาดความรู้ความเข้าใจขั้นตอนในเรื่อง
ประเพณีต่าง ๆ จึงทาให้มีการปฏิบัติอย่างไม่ถูกต้อง ขาดความเป็นระเบียบเรียบร้อย หากหน่วยงาน
หรือส่วนราชการที่มีหน้าที่ดูแลรับผิดชอบ ไม่เผยแพร่ความรู้ที่ถูกต้อง อาจทาให้วัฒนธรรมและประเพณี
ที่ดีงามมีความเสื่อมถอยไปเรื่อย ๆ จนในที่สุดจะเลือนหายไปตามกาลเวลา วัฒนธรรมไทยที่ดีงาม ซึ่งเป็น
เอกลักษณ์ของท้องถิ่นนั้น ถือว่าเป็นสิ่งสาคัญที่จะต้องรวบรวมให้เป็นหนึ่งเดียว
เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและเป็นข้อมูลในการศึกษาอย่างตอเนือง ของรุ่นต่อ ๆ ไป ไม่ว่าจะ
เป็นรายวิชาคอมพิวเตอร์ หรือรายวิชาสังคมศึกษา
วัตถุประสงค์
๑.เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
๒.เพื่อใช้เป็นสื่อในการนาเสนอโครงงาน
๓.ศึกษาการทางานโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบเขตโครงงาน
๑.ประเภทของวัฒนธรรม
๒.หน้าที่ของวัฒนธรรม
๓.พัฒนาการของวัฒนธรรมไทย
3
หลักการและทฤษฎี
เรื่องของสังคมและ วัฒนธรรม เป็นสิ่งที่แยกจากกันไม่ได้ เปรียบเสมือนเหรียญเงินที่มีด้านหน้า และ
ด้านหลัง สังคมนั้นหมายถึง กลุ่มคนที่อยู่รวมกันในบริเวณใดบริเวณหนึ่งมาช้านาน จนมีความรู้สึกว่า
เป็นพวกเดียวกัน และมีภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี และวิถีทางในการดารงชีวิตร่วมกันเป็น
แบบอย่างเดียวกัน วัฒนธรรมนั้นหมายถึง บรรดาขนบธรรมเนียม ประเพณี ภาษา และทุกสิ่งทุกอย่างที่
คนในสังคมนั้น สร้างขึ้นมา เพื่อดารงชีวิตอยู่ร่วมกัน เพราะฉะนั้นถ้าไม่มีสังคม ก็ไม่มีวัฒนธรรม ทั้งสอง
อย่างจึงเป็นของคู่กันอย่างแยกไม่ออก
มนุษย์เป็นสัตว์โลกชนิดหนึ่งที่อยู่ด้วยตนเองตามลาพังไม่ได้ต้องอยู่ร่วมกับผู้อื่นตั้งแต่แรกเกิดจนตาย
มนุษย์เป็นสัตว์โลกชนิดหนึ่ง ที่อยู่ด้วยตนเองตามลาพังไม่ได้ ต้องอยู่ร่วมกับผู้อื่น ตั้งแต่แรกเกิด
จนตาย
แต่ทว่าการที่จะทาความเข้าใจกับคาว่า สังคม และวัฒนธรรมนั้น เป็นเรื่องค่อนข้างยาก เพราะดูเป็น
นามธรรม ที่ไม่อาจกาหนดให้เป็นรูปธรรมที่ชัดเจนได้ อย่างเช่น ถ้าหากว่า สังคมหมายถึง กลุ่มชนแล้ว ก็
ไม่มีอะไรมากาหนด เป็นกรอบเป็นเกณฑ์ว่า กลุ่มชนขนาดใด ถึงจะเป็นสังคม อาจเป็นได้ทั้งกลุ่มคนที่
รวมอยู่ในประเทศเดียวกันลงมา จนถึงเมือง บ้าน และครัวเรือนในระดับภูมิภาค และท้องถิ่น เป็นสิ่งที่
ส่งผลไปถึงวัฒนธรรม ทาให้บางสิ่งเห็นได้อย่างชัดเจน แต่บางสิ่งก็ไม่ชัดเจน ยกตัวอย่างเช่น สังคมไทย
เป็นสังคมที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เช่นนี้เห็นได้ชัด ทั้งบุคคลทุกผู้ทุกนามในประเทศ แต่ถ้าหาก
บอกว่า ในประเพณีการเกิดของคนไทยนั้น เมื่อเด็กเกิดมาแล้ว ต้องมีแม่ซื้อ กล่าวคือ สมมติให้ มีหญิงที่
คุ้นเคยกับครอบครัวของเด็ก มาขอซื้อเด็กไปจากพ่อแม่ เพื่อเป็นการอ้างและแสดงให้ผีรู้ว่า พ่อแม่ไม่
อาลัยรักในลูก จึงให้คนอื่นซื้อไป เพราะถ้าแสดงว่า รักลูกห่วงลูกแล้ว ผีที่มีจิตใจริษยา อาจมาเอาชีวิตเด็ก
ไปได้ ประเพณีเช่นนี้ไม่อาจกล่าวได้ว่า เป็นประเพณี หรือวัฒนธรรมของคนไทยทั้งประเทศได้ เพราะ
บางท้องที่ บางครอบครัว อีกเป็นจานวนมาก อาจไม่มีประเพณีแม่ซื้อดังกล่าวก็ได้ ดังนั้นการที่จะอธิบาย
ว่า คนไทยต้องมีประเพณีแม่ซื้อ จึงเป็นเรื่องไม่ตรงกับความเป็นจริงทั้งหมด หรือบางทีในท้องถิ่นหนึ่ง
ผู้คนในท้องถิ่นนั้น เคยมีประเพณีแม่ซื้ออยู่ในสมัยหนึ่งนานมาแล้ว แต่ปัจจุบันประเพณีดังกล่าวเสื่อมหรือ
หมดไป โดยไม่มีใครปฏิบัติอีกแล้ว ก็เป็นเรื่องที่ไม่อาจจะอธิบายได้ว่า เป็นประเพณีของคนไทยในปัจจุบัน
เช่นกัน
สังคมในชนบทของไทย เป็นสังคมที่มีการช่วยเหลือเกื้อกูลกันในสิ่งต่าง ๆ เช่น งานทาบุญต่าง ๆ งานศพ
เป็นต้น
โดยนัยเช่นนี้การทาความเข้าใจเกี่ยวกับสังคม และวัฒนธรรม จึงเป็นเรื่องที่ไม่เพียงแต่สัมพันธ์กับกลุ่มคน
เท่านั้น หากยังเกี่ยวข้องกับสถานที่ และเวลาอีกด้วย ซึ่งผลของความสัมพันธ์เช่นนี้ ทาให้ลักษณะของ
สังคม และวัฒนธรรม เป็นสิ่งที่ไม่ใช่ภาพนิ่ง แต่เป็นภาพที่เคลื่อนไหว เพราะฉะนั้นสังคม และวัฒนธรรม
จึงมีธรรมชาติที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จึงทาให้การที่จะเข้าใจในเรื่องนี้เป็นเรื่องที่ต้องมีการ
วินิจ และวิเคราะห์กัน จึงจะแลเห็น และเกิดความเข้าใจได้ แต่ทว่า การจะวิเคราะห์ได้ก็ต้องมีแนวคิด
ทฤษฎี และวิธีการ ซึ่งเป็นเรื่องที่จะต้องทาความเข้าใจเป็นพื้นฐานเสียก่อน แนวคิดอย่างกว้างๆ ที่จะทา
4
ความเข้าใจเรื่องของสังคม และวัฒนธรรม ในที่นี้คือ การเริ่มต้นจากการทาความเข้าใจเกี่ยวกับมนุษย์
นั่นก็คือ มนุษย์เป็นสัตว์โลกชนิดหนึ่ง ที่อยู่ด้วยตนเองตามลาพังไม่ได้ ต้องอยู่ร่วมกับผู้อื่นตั้งแต่แรกเกิด
จนตาย จึงเป็นสัตว์ที่เรียกว่า สัตว์สังคม สัตว์สังคมอื่น ๆ ก็มีอีกมากมาย เช่น พวกมด ผึ้ง ปลวก ไปจนถึง
สัตว์ที่มีรูปร่างคล้ายกับมนุษย์ เช่น พวกลิง แต่มนุษย์ก็แตกต่างไปจากบรรดาสัตว์สังคมอื่น ๆ เหล่านั้น
ตรงที่ว่า มีช่วงเวลาที่ต้องพึ่งผู้อื่นยาวนานกว่า เช่น เมื่อเด็กแรกเกิดมาก็ต้องอาศัยการดูแลของพ่อแม่
ญาติพี่น้อง และครอบครัวเป็นเวลานานก่อนที่จะเติบโต และช่วยตัวเองได้ ยิ่งกว่านั้นต้องอาศัยการ
เรียนรู้ และปรับตัวเอง เพื่อที่จะอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นในสังคมตลอดเวลา โดยเฉพาะความสามารถในการ
เรียนรู้ การส่งภาษา อันเป็นเรื่องของสัญลักษณ์ และการสื่อสารได้อย่างกว้างขวางนั้น เป็นคุณสมบัติ
สาคัญ ที่ทาให้มนุษย์แตกต่างไปจากบรรดาสัตว์สังคมอื่นๆ อย่างสิ้นเชิง เพราะบรรดาสัตว์อื่นนั้น
ความสามารถในการเรียนรู้ และการส่งภาษามีน้อยมาก อีกทั้งการรวมกลุ่มอยู่รวมกัน ก็เป็นเรื่องที่เป็นไป
โดยสัญชาตญาณมากกว่า ดังเช่น พวกสัตว์ประเภทผึ้ง มด ปลวก เป็นต้น มีลักษณะอย่างใดก็เป็นอย่าง
นั้น โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงเท่าใด ในขณะที่การรวมกลุ่มทางสังคมของมนุษย์ มีลักษณะเคลื่อนไหว
และเปลี่ยนตลอดเวลา
สังคมไทยในสมัยก่อน ผู้ชายจะนิยมสักตนเองเป็นรูปต่างๆ เพื่อแสดงถึงความแข็งแกร่ง และมีความเป็น
ลูกผู้ชายเต็มตัว
ยิ่งไปกว่านั้นความสามารถในการเรียนรู้ การคิด และการส่งภาษาที่เป็นสัญลักษณ์ได้นี้เอง ยังทาให้มนุษย์
มีปฏิสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมที่นอกเหนือไปจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ในถิ่นฐานที่คนอาศัยอยู่
ไปถึงเรื่องของสิ่งที่นอกเหนือธรรมชาติ อันไม่อาจหาคาตอบได้ด้วย การพิสูจน์โดยวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ มนุษย์มีความสัมพันธ์กับปัญหาในเรื่องเวลา และสถานที่ อย่างไม่มีที่สิ้นสุด นั้นก็คือเวลา
และสถานที่ ก่อนที่ตนเองจะมาเกิดในโลกนี้ และเมื่อตายแล้ว จะไปที่ไหน เป็นอย่างใดในอนาคต จากสิ่ง
ที่เป็น ปัญหา และการต้องการหาคาตอบนี้เอง ทาให้ชีวิตของมนุษย์ที่อุบัติขึ้นมาในโลกนี้ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับ
การมีชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่น และมีการสังสรรค์กัน เพื่อให้มีอาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม และยารักษา
โรค ที่เป็นปัจจัยสี่แต่เพียงอย่างเดียวไม่ หากยังมีความสัมพันธ์ข้ามพ้นมิติของความเป็นจริง ไปยังเรื่อง
ของจักรวาล ที่เป็นองค์รวมทั้งหมดในความรู้สึกนึกคิดของมนุษย์ เป็นเรื่องของการเปลี่ยนจากความ
พยายาม ที่จะพิสูจน์ให้เห็นจริงตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มาเป็นเรื่องของความเชื่อ ที่มีทั้งการ
หาเหตุผลอย่างเป็นตรรก มาอธิบายมาจัดให้เป็นระบบที่เรียกว่า ศาสนา และการสร้างบรรดาพิธีกรรม
ทางไสยศาสตร์ขึ้น เพื่อบรรเทาความกังวลใจ ในเรื่องความไม่แน่นอนต่าง ๆ ในชีวิต
ตามที่กล่าวมานี้ก็พอจะสรุปให้เห็นได้ว่า ชีวิตของมนุษย์โดยทั่วไปนั้น จะต้องเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบ ๓
อย่าง ที่มีความสัมพันธ์กันอย่างแยกไม่ได้ คือ โครงสร้างสังคม ระบบเศรษฐกิจ และระบบความเชื่อใน
เรื่องของจักรวาล ความสัมพันธ์อย่างได้ดุลระหว่างองค์ประกอบทั้ง ๓ อย่างนี้ จะเป็นสิ่งที่ทาให้สังคม
มนุษย์ดารงอยู่ได้ ทั้งความต้องการทางวัตถุ และด้านจิตใจ ดังนั้นในการเสนอให้เห็นภาพพจน์ทางสังคม
และวัฒนธรรมไทยในที่นี้ จึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับองค์ประกอบทางสังคม และวัฒนธรรม ทั้งสามอย่างที่
กล่าวมานี้เป็นสาคัญ
5
องค์ประกอบของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมเป็นผลจากการที่มนุษย์ได้เข้าควบคุมธรรมชาติและพฤติกรรมของมนุษย์ ทาให้เกิดการ
จัดระเบียบทางสังคม ระบบความเชื่อ ศิลปกรรม
ค่านิยมและวิทยาการต่าง ๆ อาจแยก องค์ประกอบของวัฒนธรรมได้เป็น 4 ประการ
1. องค์มติ (concept) บรรดาความคิด ความเชื่อ ความเข้าใจ ความคิดเห็น ตลอดจนอุดมการณ์
ต่าง ๆ
2. องค์พิธีการ (usage) หมายถึง ขนบธรรมเนียมประเพณีที่แสดงออกในรูปพิธีกรรม
3. องค์การ (organization) หมายถึง กลุ่มที่มีการจัดอย่างเป็นระเบียบหรือมีโครงสร้างอย่างเป็น
ทางการ มีการวางกฎเกณฑ์ระเบียบข้อบังคับและวัตถุประสงค์ไว้อย่างแน่นอน
4. องค์วัตถุ (instrumental and symbolic objects) ได้แก่ วัฒนธรรมทาง วัตถุทั้งหลาย เช่น
บ้าน โบสถ์ วิหาร รวมตลอดถึงเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ
ความสาคัญของวัฒนธรรม
1. วัฒนธรรมเป็นเครื่องกาหนดความเจริญหรือความเสื่อมของสังคม และเป็นเครื่องกาหนดชีวิต
ความเป็นอยู่ของคนในสังคม
2. การศึกษาวัฒนธรรมจะทาให้เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่ ค่านิยมของสังคม เจตคติความคิดเห็นและ
ความเชื่อถือของบุคคลได้อย่างถูกต้อง
3. ทาให้มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันและให้ความร่วมมือกันได้
4. ทาให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม เพราะวัฒนธรรมคือกรอบหรือแบบแผนของ การ
ดารงชีวิต
5. ทาให้มีพฤติกรรมเป็นแบบเดียวกัน
6. ทาให้เข้ากับคนพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้
7. ทาให้มนุษย์มีสภาวะที่แตกต่างจากสัตว์
ประเภทของวัฒนธรรม
1. วัฒนธรรมทางวัตถุ (material culture) หมายถึง สิ่งของหรือวัตถุอันเกิดจากความคิดและ
การประดิษฐ์ขึ้นมาของมนุษย์
2. วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ (non-material culture) หมายถึง วัฒนธรรมที่แสดงออกได้โดย
ทัศนะ ประเพณี ขนบธรรมเนียม การปฏิบัติสืบต่อกันมาและเป็นที่ยอมรับในกลุ่มของตน ว่าดีงาม
เหมาะสม
6
วัฒนธรรมไทย
ความหมายของวัฒนธรรม
วัฒนธรรม หมายความถึง ลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบ
เรียบร้อย ความกลมเกลียวก้าวหน้าของชาติ และศีลธรรมอันดีของประชาชน
1. ลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม
1.1 ความเจริญทางวัตถุ
1.2 ความงอกงามทางจิตใจ
2. ลักษณะที่แสดงถึงความเป็นระเบียบเรียบร้อย
2.1 ความเป็นระเบียบเรียบร้อยในการแต่งกาย จรรยามารยาทในที่สาธารณะ
2.2 ความเป็นระเบียบเรียบร้อยในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติต่อบ้านเมือง
2.3 ความเป็นระเบียบเรียบร้อยในการประพฤติตนอันเป็นทางนามาซึ่งเกียรติ ของชาติไทย
และพุทธศาสนา
3. ลักษณะที่แสดงถึงความกลมเกลียวก้าวหน้าของชาติ
3.1 ความสามัคคีของหมู่คณะ
3.2 ความเจริญก้าวหน้าในทางวรรณกรรมและศิลปกรรม
3.3 ความนิยมไทย
4. ลักษณะที่แสดงถึงศีลธรรมอันดีของประชาชน
4.1 ทาตนให้เป็นคนมีศาสนา
4.2 การปฏิบัติตนในหลักธรรมของพุทธศาสนา
4.3 การรักษาระเบียบประเพณีทางศาสนา
ที่มาของวัฒนธรรม
1. ทฤษฎี Parallelism เชื่อว่า วัฒนธรรมเกิดขึ้นในที่ต่าง ๆ พร้อมกัน เนื่องจาก ธรรมชาติของ
มนุษย์คล้ายคลึงกันมาก
2. ทฤษฎี Diffusionism เชื่อว่า วัฒนธรรมเกิดจากศูนย์กลางแห่งเดียวกันและแพร่ กระจาย
ออกไปยังชุมชนต่าง ๆ
ปัจจัยที่ทาให้ชาวไทยได้สร้างวัฒนธรรมขึ้นมา
1. สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์
2. ระบบเกษตรกรรม
3. ค่านิยมจากการที่ได้สะสมวัฒนธรรมต่อเนื่องกันเป็นเวลายาวนานจึงเป็นการหล่อหลอมให้เกิด
แนวความคิด
ความพึงพอใจ และความนิยม
4. อิทธิพลจากวัฒนธรรมอื่น
อิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติที่มีต่อสังคมไทย
7
สาเหตุของการหลั่งไหลเข้ามาของวัฒนธรรมตะวันตก
1. ความเจริญด้านการคมนาคมขนส่ง
2. อิทธิพลจากสื่อมวลชนต่าง ๆ
3. การเผยแพร่วัฒนธรรมโดยตรง
อิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติในสังคมไทย มีผลต่อ
1. ระบบการศึกษา
2. ระบบการเมือง
3. ระบบเศรษฐกิจ
4. ระบบสังคมและวัฒนธรรม
ประเภทของวัฒนธรรมไทย
1. คติธรรม คือ วัฒนธรรมที่เกี่ยวกับหลักในการดาเนินชีวิต
2. เนติธรรม คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย รวมทั้งระเบียบประเพณีที่ยอมรับนับถือกันว่ามีความสาคัญ
เช่นเดียวกับกฎหมาย
3. สหธรรม คือ วัฒนธรรมทางสังคม นอกจากหมายถึงคุณธรรมต่าง ๆ ที่ทาให้คนอยู่ร่วมกันอย่างผาสุก
ถ้อยทีถ้อยอาศัยกันแล้ว ยังรวมถึงระเบียบมารยาทที่จะติดต่อเกี่ยวข้องกับสังคมทุกชนิด
4. วัตถุธรรม คือ วัฒนธรรมทางวัตถุ เช่นที่เกี่ยวข้องกับการกินดีอยู่ดี เครื่อง
นุ่งห่ม บ้านเรือน และอื่น ๆ
เอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทย
1. ความรักอิสรภาพหรือความเป็นไท
2. การย้าความเป็นตัวของตัวเองหรือปัจเจกบุคคลนิยม
3. ความรู้สึกมักน้อย สันโดษ และพอใจในสิ่งที่มีอยู่
4. การทาบุญและการประกอบการกุศล
5. การย้าการหาความสุขจากชีวิต
6. การย้าการเคารพเชื่อฟังอานาจ
7. การย้าความสุภาพอ่อนโยนและความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
8. ความโอ่อ่า
8
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
ขั้นวางแผนเตรียมการ
- วางแผน
- เตรียมข้อมูล อุปกรณ์และสื่อต่าง ๆ ที่จาเป็นในการทาโครงงาน
ขั้นดาเนินการ
- ลงมือปฏิบัติ
- ศึกษา ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
๑.คอมพิวเตอร์ (โน้ตบุ๊ค)
๒.สุมด,ปากกา
๓.สื่อการเรียนทางอินเตอร์เน็ต
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน ณัฐศศิญา
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ณัฐศศิญา
3 จัดทาโครงร่างงาน ณัฐศศิญา
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ณัฐศศิญา
5 ปรับปรุงทดสอบ ณัฐศศิญา
6 การทาเอกสารรายงาน ณัฐศศิญา
7 ประเมินผลงาน ณัฐศศิญา
8 นาเสนอโครงงาน ณัฐศศิญา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
สถานที่ดาเนินการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
9
แหล่งอ้างอิง
https://www.gotoknow.org/posts/510879
https://sites.google.com/site/niwongsanaka/xngkh-prakxb-khxng-wathnthrrm
https://9a20237.wordpress.com/category/
https://thailovecultural.wordpress.com/
https://sites.google.com/site/niwongsanaka/xngkh-prakxb-khxng-wathnthrrm
http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/1885
http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=16&chap=5&page=t16-5-infodetail01.html
(สารานุกรมไทย)
https://www.gotoknow.org/posts/377088

More Related Content

What's hot

เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .Montita Kongmuang
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำSarid Nonthing
 
การนำเสนอถูกใจกรรมการนครพนม9ธันวาคม2556
การนำเสนอถูกใจกรรมการนครพนม9ธันวาคม2556การนำเสนอถูกใจกรรมการนครพนม9ธันวาคม2556
การนำเสนอถูกใจกรรมการนครพนม9ธันวาคม2556Kruthai Kidsdee
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องM'suKanya MinHyuk
 

What's hot (6)

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
123pj
123pj123pj
123pj
 
การนำเสนอถูกใจกรรมการนครพนม9ธันวาคม2556
การนำเสนอถูกใจกรรมการนครพนม9ธันวาคม2556การนำเสนอถูกใจกรรมการนครพนม9ธันวาคม2556
การนำเสนอถูกใจกรรมการนครพนม9ธันวาคม2556
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

Similar to 2562 final-project (1)

โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Gankorn Inpia
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Gankorn Inpia
 
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุขเลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุขCanned Pumpui
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5kruwaeo
 
วิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บวิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บJirawat Fishingclub
 
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซวิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซJirawat Fishingclub
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุคKruBeeKa
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้10871885581
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Thanyalux Kanthong
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Thanyalux Kanthong
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Thanyalux Kanthong
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project mew46716
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยกฤตพร สุดสงวน
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างPz'Peem Kanyakamon
 
2562 final-project -3-16
2562 final-project -3-162562 final-project -3-16
2562 final-project -3-16Tawanny Rawipon
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)Kritsanapong Manoreaung
 

Similar to 2562 final-project (1) (20)

โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุขเลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
วิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บวิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บ
 
เน อหา ว_จ_ย
เน  อหา ว_จ_ยเน  อหา ว_จ_ย
เน อหา ว_จ_ย
 
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซวิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
 
Sci 2009 03
Sci 2009 03Sci 2009 03
Sci 2009 03
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
genius and autism
genius and autismgenius and autism
genius and autism
 
Final1
Final1Final1
Final1
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
 
2562 final-project -3-16
2562 final-project -3-162562 final-project -3-16
2562 final-project -3-16
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
 

2562 final-project (1)

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน วัฒนธรรมไทย ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาว ณัฐศศิญา พรมวงค์ เลขที่ 32 ชั้น ม.6 ห้อง 2 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 1. นางสาว ณัฐศศิญา พรมวงค์ เลขที่ 32 ชื่อโครงงาน วัฒนธรรมไทย ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Thai wisdom ประเภทโครงงาน การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ณัฐศศิญา พรมวงค์ เลขที่ 32 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน การดาเนินงานครั้งนี้ใช้ระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 30 สิงหาคม สิ้นสุดวันที่ ๒o กันยายน ๒๕๖๒ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เนื่องจากในปัจจุบันวัฒนธรรมไทยได้เริ่มจากหายไปจากการดาเนินชีวิตของชาวไทยใน ปัจจุบัน ซึ่งคนสมัยใหม่มักจะละเลย แม้จะมีการนามาปฏิบัติอยู่บ้าง แต่ยังขาดความรู้ความเข้าใจขั้นตอนในเรื่อง ประเพณีต่าง ๆ จึงทาให้มีการปฏิบัติอย่างไม่ถูกต้อง ขาดความเป็นระเบียบเรียบร้อย หากหน่วยงาน หรือส่วนราชการที่มีหน้าที่ดูแลรับผิดชอบ ไม่เผยแพร่ความรู้ที่ถูกต้อง อาจทาให้วัฒนธรรมและประเพณี ที่ดีงามมีความเสื่อมถอยไปเรื่อย ๆ จนในที่สุดจะเลือนหายไปตามกาลเวลา วัฒนธรรมไทยที่ดีงาม ซึ่งเป็น เอกลักษณ์ของท้องถิ่นนั้น ถือว่าเป็นสิ่งสาคัญที่จะต้องรวบรวมให้เป็นหนึ่งเดียว เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและเป็นข้อมูลในการศึกษาอย่างตอเนือง ของรุ่นต่อ ๆ ไป ไม่ว่าจะ เป็นรายวิชาคอมพิวเตอร์ หรือรายวิชาสังคมศึกษา วัตถุประสงค์ ๑.เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมไทย ๒.เพื่อใช้เป็นสื่อในการนาเสนอโครงงาน ๓.ศึกษาการทางานโครงงานคอมพิวเตอร์ ขอบเขตโครงงาน ๑.ประเภทของวัฒนธรรม ๒.หน้าที่ของวัฒนธรรม ๓.พัฒนาการของวัฒนธรรมไทย
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี เรื่องของสังคมและ วัฒนธรรม เป็นสิ่งที่แยกจากกันไม่ได้ เปรียบเสมือนเหรียญเงินที่มีด้านหน้า และ ด้านหลัง สังคมนั้นหมายถึง กลุ่มคนที่อยู่รวมกันในบริเวณใดบริเวณหนึ่งมาช้านาน จนมีความรู้สึกว่า เป็นพวกเดียวกัน และมีภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี และวิถีทางในการดารงชีวิตร่วมกันเป็น แบบอย่างเดียวกัน วัฒนธรรมนั้นหมายถึง บรรดาขนบธรรมเนียม ประเพณี ภาษา และทุกสิ่งทุกอย่างที่ คนในสังคมนั้น สร้างขึ้นมา เพื่อดารงชีวิตอยู่ร่วมกัน เพราะฉะนั้นถ้าไม่มีสังคม ก็ไม่มีวัฒนธรรม ทั้งสอง อย่างจึงเป็นของคู่กันอย่างแยกไม่ออก มนุษย์เป็นสัตว์โลกชนิดหนึ่งที่อยู่ด้วยตนเองตามลาพังไม่ได้ต้องอยู่ร่วมกับผู้อื่นตั้งแต่แรกเกิดจนตาย มนุษย์เป็นสัตว์โลกชนิดหนึ่ง ที่อยู่ด้วยตนเองตามลาพังไม่ได้ ต้องอยู่ร่วมกับผู้อื่น ตั้งแต่แรกเกิด จนตาย แต่ทว่าการที่จะทาความเข้าใจกับคาว่า สังคม และวัฒนธรรมนั้น เป็นเรื่องค่อนข้างยาก เพราะดูเป็น นามธรรม ที่ไม่อาจกาหนดให้เป็นรูปธรรมที่ชัดเจนได้ อย่างเช่น ถ้าหากว่า สังคมหมายถึง กลุ่มชนแล้ว ก็ ไม่มีอะไรมากาหนด เป็นกรอบเป็นเกณฑ์ว่า กลุ่มชนขนาดใด ถึงจะเป็นสังคม อาจเป็นได้ทั้งกลุ่มคนที่ รวมอยู่ในประเทศเดียวกันลงมา จนถึงเมือง บ้าน และครัวเรือนในระดับภูมิภาค และท้องถิ่น เป็นสิ่งที่ ส่งผลไปถึงวัฒนธรรม ทาให้บางสิ่งเห็นได้อย่างชัดเจน แต่บางสิ่งก็ไม่ชัดเจน ยกตัวอย่างเช่น สังคมไทย เป็นสังคมที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เช่นนี้เห็นได้ชัด ทั้งบุคคลทุกผู้ทุกนามในประเทศ แต่ถ้าหาก บอกว่า ในประเพณีการเกิดของคนไทยนั้น เมื่อเด็กเกิดมาแล้ว ต้องมีแม่ซื้อ กล่าวคือ สมมติให้ มีหญิงที่ คุ้นเคยกับครอบครัวของเด็ก มาขอซื้อเด็กไปจากพ่อแม่ เพื่อเป็นการอ้างและแสดงให้ผีรู้ว่า พ่อแม่ไม่ อาลัยรักในลูก จึงให้คนอื่นซื้อไป เพราะถ้าแสดงว่า รักลูกห่วงลูกแล้ว ผีที่มีจิตใจริษยา อาจมาเอาชีวิตเด็ก ไปได้ ประเพณีเช่นนี้ไม่อาจกล่าวได้ว่า เป็นประเพณี หรือวัฒนธรรมของคนไทยทั้งประเทศได้ เพราะ บางท้องที่ บางครอบครัว อีกเป็นจานวนมาก อาจไม่มีประเพณีแม่ซื้อดังกล่าวก็ได้ ดังนั้นการที่จะอธิบาย ว่า คนไทยต้องมีประเพณีแม่ซื้อ จึงเป็นเรื่องไม่ตรงกับความเป็นจริงทั้งหมด หรือบางทีในท้องถิ่นหนึ่ง ผู้คนในท้องถิ่นนั้น เคยมีประเพณีแม่ซื้ออยู่ในสมัยหนึ่งนานมาแล้ว แต่ปัจจุบันประเพณีดังกล่าวเสื่อมหรือ หมดไป โดยไม่มีใครปฏิบัติอีกแล้ว ก็เป็นเรื่องที่ไม่อาจจะอธิบายได้ว่า เป็นประเพณีของคนไทยในปัจจุบัน เช่นกัน สังคมในชนบทของไทย เป็นสังคมที่มีการช่วยเหลือเกื้อกูลกันในสิ่งต่าง ๆ เช่น งานทาบุญต่าง ๆ งานศพ เป็นต้น โดยนัยเช่นนี้การทาความเข้าใจเกี่ยวกับสังคม และวัฒนธรรม จึงเป็นเรื่องที่ไม่เพียงแต่สัมพันธ์กับกลุ่มคน เท่านั้น หากยังเกี่ยวข้องกับสถานที่ และเวลาอีกด้วย ซึ่งผลของความสัมพันธ์เช่นนี้ ทาให้ลักษณะของ สังคม และวัฒนธรรม เป็นสิ่งที่ไม่ใช่ภาพนิ่ง แต่เป็นภาพที่เคลื่อนไหว เพราะฉะนั้นสังคม และวัฒนธรรม จึงมีธรรมชาติที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จึงทาให้การที่จะเข้าใจในเรื่องนี้เป็นเรื่องที่ต้องมีการ วินิจ และวิเคราะห์กัน จึงจะแลเห็น และเกิดความเข้าใจได้ แต่ทว่า การจะวิเคราะห์ได้ก็ต้องมีแนวคิด ทฤษฎี และวิธีการ ซึ่งเป็นเรื่องที่จะต้องทาความเข้าใจเป็นพื้นฐานเสียก่อน แนวคิดอย่างกว้างๆ ที่จะทา
  • 4. 4 ความเข้าใจเรื่องของสังคม และวัฒนธรรม ในที่นี้คือ การเริ่มต้นจากการทาความเข้าใจเกี่ยวกับมนุษย์ นั่นก็คือ มนุษย์เป็นสัตว์โลกชนิดหนึ่ง ที่อยู่ด้วยตนเองตามลาพังไม่ได้ ต้องอยู่ร่วมกับผู้อื่นตั้งแต่แรกเกิด จนตาย จึงเป็นสัตว์ที่เรียกว่า สัตว์สังคม สัตว์สังคมอื่น ๆ ก็มีอีกมากมาย เช่น พวกมด ผึ้ง ปลวก ไปจนถึง สัตว์ที่มีรูปร่างคล้ายกับมนุษย์ เช่น พวกลิง แต่มนุษย์ก็แตกต่างไปจากบรรดาสัตว์สังคมอื่น ๆ เหล่านั้น ตรงที่ว่า มีช่วงเวลาที่ต้องพึ่งผู้อื่นยาวนานกว่า เช่น เมื่อเด็กแรกเกิดมาก็ต้องอาศัยการดูแลของพ่อแม่ ญาติพี่น้อง และครอบครัวเป็นเวลานานก่อนที่จะเติบโต และช่วยตัวเองได้ ยิ่งกว่านั้นต้องอาศัยการ เรียนรู้ และปรับตัวเอง เพื่อที่จะอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นในสังคมตลอดเวลา โดยเฉพาะความสามารถในการ เรียนรู้ การส่งภาษา อันเป็นเรื่องของสัญลักษณ์ และการสื่อสารได้อย่างกว้างขวางนั้น เป็นคุณสมบัติ สาคัญ ที่ทาให้มนุษย์แตกต่างไปจากบรรดาสัตว์สังคมอื่นๆ อย่างสิ้นเชิง เพราะบรรดาสัตว์อื่นนั้น ความสามารถในการเรียนรู้ และการส่งภาษามีน้อยมาก อีกทั้งการรวมกลุ่มอยู่รวมกัน ก็เป็นเรื่องที่เป็นไป โดยสัญชาตญาณมากกว่า ดังเช่น พวกสัตว์ประเภทผึ้ง มด ปลวก เป็นต้น มีลักษณะอย่างใดก็เป็นอย่าง นั้น โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงเท่าใด ในขณะที่การรวมกลุ่มทางสังคมของมนุษย์ มีลักษณะเคลื่อนไหว และเปลี่ยนตลอดเวลา สังคมไทยในสมัยก่อน ผู้ชายจะนิยมสักตนเองเป็นรูปต่างๆ เพื่อแสดงถึงความแข็งแกร่ง และมีความเป็น ลูกผู้ชายเต็มตัว ยิ่งไปกว่านั้นความสามารถในการเรียนรู้ การคิด และการส่งภาษาที่เป็นสัญลักษณ์ได้นี้เอง ยังทาให้มนุษย์ มีปฏิสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมที่นอกเหนือไปจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ในถิ่นฐานที่คนอาศัยอยู่ ไปถึงเรื่องของสิ่งที่นอกเหนือธรรมชาติ อันไม่อาจหาคาตอบได้ด้วย การพิสูจน์โดยวิธีการทาง วิทยาศาสตร์ มนุษย์มีความสัมพันธ์กับปัญหาในเรื่องเวลา และสถานที่ อย่างไม่มีที่สิ้นสุด นั้นก็คือเวลา และสถานที่ ก่อนที่ตนเองจะมาเกิดในโลกนี้ และเมื่อตายแล้ว จะไปที่ไหน เป็นอย่างใดในอนาคต จากสิ่ง ที่เป็น ปัญหา และการต้องการหาคาตอบนี้เอง ทาให้ชีวิตของมนุษย์ที่อุบัติขึ้นมาในโลกนี้ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับ การมีชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่น และมีการสังสรรค์กัน เพื่อให้มีอาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม และยารักษา โรค ที่เป็นปัจจัยสี่แต่เพียงอย่างเดียวไม่ หากยังมีความสัมพันธ์ข้ามพ้นมิติของความเป็นจริง ไปยังเรื่อง ของจักรวาล ที่เป็นองค์รวมทั้งหมดในความรู้สึกนึกคิดของมนุษย์ เป็นเรื่องของการเปลี่ยนจากความ พยายาม ที่จะพิสูจน์ให้เห็นจริงตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มาเป็นเรื่องของความเชื่อ ที่มีทั้งการ หาเหตุผลอย่างเป็นตรรก มาอธิบายมาจัดให้เป็นระบบที่เรียกว่า ศาสนา และการสร้างบรรดาพิธีกรรม ทางไสยศาสตร์ขึ้น เพื่อบรรเทาความกังวลใจ ในเรื่องความไม่แน่นอนต่าง ๆ ในชีวิต ตามที่กล่าวมานี้ก็พอจะสรุปให้เห็นได้ว่า ชีวิตของมนุษย์โดยทั่วไปนั้น จะต้องเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบ ๓ อย่าง ที่มีความสัมพันธ์กันอย่างแยกไม่ได้ คือ โครงสร้างสังคม ระบบเศรษฐกิจ และระบบความเชื่อใน เรื่องของจักรวาล ความสัมพันธ์อย่างได้ดุลระหว่างองค์ประกอบทั้ง ๓ อย่างนี้ จะเป็นสิ่งที่ทาให้สังคม มนุษย์ดารงอยู่ได้ ทั้งความต้องการทางวัตถุ และด้านจิตใจ ดังนั้นในการเสนอให้เห็นภาพพจน์ทางสังคม และวัฒนธรรมไทยในที่นี้ จึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับองค์ประกอบทางสังคม และวัฒนธรรม ทั้งสามอย่างที่ กล่าวมานี้เป็นสาคัญ
  • 5. 5 องค์ประกอบของวัฒนธรรม วัฒนธรรมเป็นผลจากการที่มนุษย์ได้เข้าควบคุมธรรมชาติและพฤติกรรมของมนุษย์ ทาให้เกิดการ จัดระเบียบทางสังคม ระบบความเชื่อ ศิลปกรรม ค่านิยมและวิทยาการต่าง ๆ อาจแยก องค์ประกอบของวัฒนธรรมได้เป็น 4 ประการ 1. องค์มติ (concept) บรรดาความคิด ความเชื่อ ความเข้าใจ ความคิดเห็น ตลอดจนอุดมการณ์ ต่าง ๆ 2. องค์พิธีการ (usage) หมายถึง ขนบธรรมเนียมประเพณีที่แสดงออกในรูปพิธีกรรม 3. องค์การ (organization) หมายถึง กลุ่มที่มีการจัดอย่างเป็นระเบียบหรือมีโครงสร้างอย่างเป็น ทางการ มีการวางกฎเกณฑ์ระเบียบข้อบังคับและวัตถุประสงค์ไว้อย่างแน่นอน 4. องค์วัตถุ (instrumental and symbolic objects) ได้แก่ วัฒนธรรมทาง วัตถุทั้งหลาย เช่น บ้าน โบสถ์ วิหาร รวมตลอดถึงเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ความสาคัญของวัฒนธรรม 1. วัฒนธรรมเป็นเครื่องกาหนดความเจริญหรือความเสื่อมของสังคม และเป็นเครื่องกาหนดชีวิต ความเป็นอยู่ของคนในสังคม 2. การศึกษาวัฒนธรรมจะทาให้เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่ ค่านิยมของสังคม เจตคติความคิดเห็นและ ความเชื่อถือของบุคคลได้อย่างถูกต้อง 3. ทาให้มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันและให้ความร่วมมือกันได้ 4. ทาให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม เพราะวัฒนธรรมคือกรอบหรือแบบแผนของ การ ดารงชีวิต 5. ทาให้มีพฤติกรรมเป็นแบบเดียวกัน 6. ทาให้เข้ากับคนพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้ 7. ทาให้มนุษย์มีสภาวะที่แตกต่างจากสัตว์ ประเภทของวัฒนธรรม 1. วัฒนธรรมทางวัตถุ (material culture) หมายถึง สิ่งของหรือวัตถุอันเกิดจากความคิดและ การประดิษฐ์ขึ้นมาของมนุษย์ 2. วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ (non-material culture) หมายถึง วัฒนธรรมที่แสดงออกได้โดย ทัศนะ ประเพณี ขนบธรรมเนียม การปฏิบัติสืบต่อกันมาและเป็นที่ยอมรับในกลุ่มของตน ว่าดีงาม เหมาะสม
  • 6. 6 วัฒนธรรมไทย ความหมายของวัฒนธรรม วัฒนธรรม หมายความถึง ลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ความกลมเกลียวก้าวหน้าของชาติ และศีลธรรมอันดีของประชาชน 1. ลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม 1.1 ความเจริญทางวัตถุ 1.2 ความงอกงามทางจิตใจ 2. ลักษณะที่แสดงถึงความเป็นระเบียบเรียบร้อย 2.1 ความเป็นระเบียบเรียบร้อยในการแต่งกาย จรรยามารยาทในที่สาธารณะ 2.2 ความเป็นระเบียบเรียบร้อยในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติต่อบ้านเมือง 2.3 ความเป็นระเบียบเรียบร้อยในการประพฤติตนอันเป็นทางนามาซึ่งเกียรติ ของชาติไทย และพุทธศาสนา 3. ลักษณะที่แสดงถึงความกลมเกลียวก้าวหน้าของชาติ 3.1 ความสามัคคีของหมู่คณะ 3.2 ความเจริญก้าวหน้าในทางวรรณกรรมและศิลปกรรม 3.3 ความนิยมไทย 4. ลักษณะที่แสดงถึงศีลธรรมอันดีของประชาชน 4.1 ทาตนให้เป็นคนมีศาสนา 4.2 การปฏิบัติตนในหลักธรรมของพุทธศาสนา 4.3 การรักษาระเบียบประเพณีทางศาสนา ที่มาของวัฒนธรรม 1. ทฤษฎี Parallelism เชื่อว่า วัฒนธรรมเกิดขึ้นในที่ต่าง ๆ พร้อมกัน เนื่องจาก ธรรมชาติของ มนุษย์คล้ายคลึงกันมาก 2. ทฤษฎี Diffusionism เชื่อว่า วัฒนธรรมเกิดจากศูนย์กลางแห่งเดียวกันและแพร่ กระจาย ออกไปยังชุมชนต่าง ๆ ปัจจัยที่ทาให้ชาวไทยได้สร้างวัฒนธรรมขึ้นมา 1. สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ 2. ระบบเกษตรกรรม 3. ค่านิยมจากการที่ได้สะสมวัฒนธรรมต่อเนื่องกันเป็นเวลายาวนานจึงเป็นการหล่อหลอมให้เกิด แนวความคิด ความพึงพอใจ และความนิยม 4. อิทธิพลจากวัฒนธรรมอื่น อิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติที่มีต่อสังคมไทย
  • 7. 7 สาเหตุของการหลั่งไหลเข้ามาของวัฒนธรรมตะวันตก 1. ความเจริญด้านการคมนาคมขนส่ง 2. อิทธิพลจากสื่อมวลชนต่าง ๆ 3. การเผยแพร่วัฒนธรรมโดยตรง อิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติในสังคมไทย มีผลต่อ 1. ระบบการศึกษา 2. ระบบการเมือง 3. ระบบเศรษฐกิจ 4. ระบบสังคมและวัฒนธรรม ประเภทของวัฒนธรรมไทย 1. คติธรรม คือ วัฒนธรรมที่เกี่ยวกับหลักในการดาเนินชีวิต 2. เนติธรรม คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย รวมทั้งระเบียบประเพณีที่ยอมรับนับถือกันว่ามีความสาคัญ เช่นเดียวกับกฎหมาย 3. สหธรรม คือ วัฒนธรรมทางสังคม นอกจากหมายถึงคุณธรรมต่าง ๆ ที่ทาให้คนอยู่ร่วมกันอย่างผาสุก ถ้อยทีถ้อยอาศัยกันแล้ว ยังรวมถึงระเบียบมารยาทที่จะติดต่อเกี่ยวข้องกับสังคมทุกชนิด 4. วัตถุธรรม คือ วัฒนธรรมทางวัตถุ เช่นที่เกี่ยวข้องกับการกินดีอยู่ดี เครื่อง นุ่งห่ม บ้านเรือน และอื่น ๆ เอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทย 1. ความรักอิสรภาพหรือความเป็นไท 2. การย้าความเป็นตัวของตัวเองหรือปัจเจกบุคคลนิยม 3. ความรู้สึกมักน้อย สันโดษ และพอใจในสิ่งที่มีอยู่ 4. การทาบุญและการประกอบการกุศล 5. การย้าการหาความสุขจากชีวิต 6. การย้าการเคารพเชื่อฟังอานาจ 7. การย้าความสุภาพอ่อนโยนและความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ 8. ความโอ่อ่า
  • 8. 8 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ขั้นวางแผนเตรียมการ - วางแผน - เตรียมข้อมูล อุปกรณ์และสื่อต่าง ๆ ที่จาเป็นในการทาโครงงาน ขั้นดาเนินการ - ลงมือปฏิบัติ - ศึกษา ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ๑.คอมพิวเตอร์ (โน้ตบุ๊ค) ๒.สุมด,ปากกา ๓.สื่อการเรียนทางอินเตอร์เน็ต งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน ณัฐศศิญา 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ณัฐศศิญา 3 จัดทาโครงร่างงาน ณัฐศศิญา 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ณัฐศศิญา 5 ปรับปรุงทดสอบ ณัฐศศิญา 6 การทาเอกสารรายงาน ณัฐศศิญา 7 ประเมินผลงาน ณัฐศศิญา 8 นาเสนอโครงงาน ณัฐศศิญา ผลที่คาดว่าจะได้รับ สถานที่ดาเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง