SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
บทที่ 6
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เสนอ
รศ.ดร.สุมาลี ชัยเจริญ
ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร
จัดทาโดย
น.ส.ธนัญญา สุดโสม 553050288-3
น.ส.วิธูวีนย์ สมคะเณย์ 553050318-0
น.ส.ศุภศิริ ยศราวาส 553050322-9
สาขาคณิตศาสตรศึกษา sec.1
สถานการณ์ปัญหา
ภายหลังที่รัฐบาลได้จัดการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งมีหัวใจสาคัญอยู่ที่ "การยกระดับ
คุณภาพประชากรของประเทศให้สูงขึ้น คือ ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด ที่ต้องส่งเสริมและพัฒนาให้เต็มตามศักยภาพ
ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การประยุกต์ความรู้ และการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง สามารถใน
การคิดวิเคราะห์ และริเริ่มสร้างสรรค์ มีความสามารถในการแก้ปัญหา ตลอดจนรู้จักการทา
งานเป็นหมู่คณะ" มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ ที่
ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้อย่างหลากหลาย สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อที่จะทาให้ผู้เรียน
เกิดความรู้ความเข้าใจ และเหมาะสมกับยุคแห่งข้อมูลสารสนเทศที่มีอยู่อย่างมากมาย รวมไป
ถึงการทาให้การเรียนรู้นั้นเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งยังเพื่อเป็นการเตรียมพัฒนาผู้เรียน ให้มี
คุณลักษณะที่เหมาะสมกับสังคมยุคโลกาภิวัตน์ ในฐานะที่ท่านจะเป็นครูพันธ์ใหม่ ท่านจะต้อง
ปฏิบัติภารกิจต่อไปนี้
ภารกิจ
1. วิเคราะห์บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศกับ
การพัฒนาการศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา
ตอบ ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทต่อการศึกษาเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะ
เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ และการสื่อสารโทรคมนาคม บทบาทที่สาคัญของเทคโนโลยีต่อ
การพัฒนาการศึกษา
1. เทคโนโลยีที่เข้ามามีส่วนช่วยในเรื่องการเรียนรู้ ปัจจุบันมีเครื่องมือเครื่องใช้ที่ช่วย
สนับสนุนการเรียนรู้หลายอย่าง เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน, ระบบมัลติมีเดีย, ระบบวิดีโอ
ออนดีมานด์, วิดีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์ และอินเตอร์เน็ต (Internet) เป็นต้น ระบบเหล่านี้เป็นระบบ
สนับสนุนการรับรู้ข่าวสารและการค้นหาข้อมูลข่าวสารเพื่อการเรียนรู้
2. เทคโนโลยีที่เข้ามาสนับสนุนการจัดการศึกษา ในการจัดการศึกษาสมัยใหม่จาเป็นต้อง
อาศัยข้อมูลข่าวสารเพื่อการวางแผนการดาเนินการ การติดตาม ประเมินผลคอมพิวเตอร์และ
ระบบสื่อสารโทรคมนาคม
3. เทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยให้การสื่อสารระหว่างบุคคล เกือบทุกวงการทั้งทางด้าน
การศึกษาจาเป็นต้องอาศัยการสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน ซึ่งจะช่วยเพิ่ม
ประสิทธิภาพในกระบวนการเรียนการสอน และการดาเนินงานในหลายด้าน ทั้งนี้โดยอาศัย
เทคโนโลยีการสื่อสาร การดาเนินงานและเทคโนโลยีการสื่อสารระหว่างบุคคล เช่น การใช้โทรศัพท์
โทรสาร เทเลคอนเฟอเรนส์ และไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
ดังนั้น การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นการจัดการศึกษาที่
เป็นการศึกษาตลอดชีวิต นั่นคือ การจัดการศึกษาในภาพรวมทั้งหมดที่เกิดจากการ
ผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ที่
จัดให้แก่บุคคลทุกช่วงอายุตั้งแต่เกิดจนตาย เพื่อมุ่งพัฒนาบุคคลอย่างเต็มศักยภาพให้มี
ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์อย่างเพียงพอต่อการดารงชีวิต การประกอบอาชีพและ
การปรับตัวเข้ากับสภาพสังคมสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างเหมาะสมในทุกช่วง
ชีวิต
2. วิเคราะห์หาวิธีการที่จะประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ใน
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ตอบ การออกแบบการเรียนรู้ร่วมกับสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ประกอบด้วย
สถานการณ์ปัญหาที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเรียนรู้ สร้างแหล่งการเรียนรู้ที่จัดไว้ให้ผู้เรียนค้นหา
คาตอบ ตลอดจนการเรียนรู้แบบร่วมมือกันแก้ปัญหาที่สนับสนุนให้ผู้เรียนขยายมุมมอง
แนวคิดโดยให้สื่อเข้ามาช่วยในการเรียนรู้ เช่น การเรียนรู้แบบออนไลน์ ที่ผู้เรียน ผู้สอน
เพื่อนร่วมชั้นสามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปลี่ยนแนวคิดระหว่างกันได้
3. ให้ท่านพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ
จัดการเรียนรู้ ตามบริบทของโรงเรียนที่กาหนดให้ต่อไปนี้ พร้อมทั้งให้เหตุผล
ประกอบการอธิบาย
โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลในถิ่นธุระกันดาร
โรงเรียนมีคอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์
โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเมือง มีความพร้อม
ทางด้านสื่อ เทคโนโลยี มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แต่ครูมีไม่
เพียงพอเนื่องจากย้ายหนีเหตุการณ์ความไม่สงบ
ตอบ โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า ควรเลือกเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทแผนการ
จัดการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้เพราะโรงเรียนบ้านหนองงูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่
ห่างไกลในถิ่นธุระกันดาร โรงเรียนมีคอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์
ซึ่งเทคโนโลยีสารสนเทศด้านอื่นๆต้องอาศัยเครื่องคอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ อินเตอร์เน็ตและอื่นที่
ทางโรงเรียนไม่มีจึงทาให้ไม่สะดวกที่จะใช้เทคโนโลยีทางด้านอื่นๆที่เกี่ยวคอมพิวเตอร์และ
อินเตอร์เน็ต
โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง ควรเลือกเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทการ
เรียนรู้แบบออนไลน์ หนังสืออิเล็กทรอนิคส์และหนังสืออิเล็กทรอนิคส์เพราะสื่อเหล่านี้อาศัย
เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ ระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงในการศึกษาหรือใช้งานและที่โรงเรียนนี้
เกิดปัญหาเกี่ยวครูไม่พอ ดังนั้นนักเรียนควรที่จะมีการศึกษาด้วยตัวเองเป็นส่วนใหญ่และ
นักเรียนสามารถศึกษาเพิ่มเติมจากเทคโนโลยีเหล่านี้ด้วยตนเองได้อย่างสะดวกสบาย

More Related Content

What's hot

Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)Jutharat_thangsattayawiroon
 
Chapter 06
Chapter 06Chapter 06
Chapter 06ukbass13
 
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาLesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาsaowana
 
สถานการณ์บทที่ 4
สถานการณ์บทที่ 4สถานการณ์บทที่ 4
สถานการณ์บทที่ 4Bow Tananya
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3Ptato Ok
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6Zhao Er
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาWuth Chokcharoen
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีPennapa Kumpang
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา2
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา2เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา2
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา2Markker Promma
 
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษานวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษาAmu P Thaiying
 

What's hot (20)

Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
บทท 6
บทท   6บทท   6
บทท 6
 
Chapter 06
Chapter 06Chapter 06
Chapter 06
 
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาLesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
สถานการณ์บทที่ 4
สถานการณ์บทที่ 4สถานการณ์บทที่ 4
สถานการณ์บทที่ 4
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
 
Learning media 4 oct 2014
Learning media 4 oct 2014Learning media 4 oct 2014
Learning media 4 oct 2014
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
นวัต6เทคโนโลยีการศึกษา
นวัต6เทคโนโลยีการศึกษานวัต6เทคโนโลยีการศึกษา
นวัต6เทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
241203 chapter02
241203 chapter02241203 chapter02
241203 chapter02
 
1
11
1
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
 
241203 chapter06
241203 chapter06241203 chapter06
241203 chapter06
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา2
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา2เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา2
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา2
 
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษานวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
 

Similar to สถานการณ์ปัญหาบทที่6

บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Pari Za
 
สถานการณ์บทที่3
สถานการณ์บทที่3สถานการณ์บทที่3
สถานการณ์บทที่3Popeep Popy
 
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__Chanaaun Ying
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาFern's Supakyada
 
สถานการณ์ บทที่2
สถานการณ์ บทที่2สถานการณ์ บทที่2
สถานการณ์ บทที่2Popeep Popy
 
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)Naparat Sriton
 
บทท 3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
บทท   3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษาบทท   3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
บทท 3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษาNalintip Vongsapat
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาlikhit j.
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาAa-bb Sangwut
 

Similar to สถานการณ์ปัญหาบทที่6 (17)

บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
presentation 6
presentation 6presentation 6
presentation 6
 
Lesson6
Lesson6Lesson6
Lesson6
 
สถานการณ์บทที่3
สถานการณ์บทที่3สถานการณ์บทที่3
สถานการณ์บทที่3
 
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
สถานการณ์ บทที่2
สถานการณ์ บทที่2สถานการณ์ บทที่2
สถานการณ์ บทที่2
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700
 
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
 
Innovation chapter 6
Innovation chapter 6Innovation chapter 6
Innovation chapter 6
 
บทท 3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
บทท   3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษาบทท   3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
บทท 3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 

สถานการณ์ปัญหาบทที่6