SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
Download to read offline
โรงเรียนระยองวิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
รายงาน รุปผลการปฏิบัติงาน
เพื่อรับราง ัลทรงคุณค่า พฐ. (OBEC AWARDS)
ประจาปีการ ึก า 2563
-------------------------------------
รายการ ครูผู้ อนยอดเยี่ยม ระดับมัธยม ึก าตอนต้น
กลุ่ม าระการเรียนรู้คณิต า ตร์
ด้านน ัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการ อน
นาง า ุชีรา ุภพิมล รรณ
ตาแ น่ง ครู โรงเรียนระยอง ิทยาคม
านักงานเขตพื้นที่การ ึก ามัธยม ึก าชลบุรี ระยอง
0 0 3 2 4 5
ก
คำนำ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานฉบับนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นเอกสารประกอบสาหรับใช้ในการประเมิน
ตัวชี้วัดเฉพาะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนยอดเยี่ยมเพื่อขอรับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ.
(OBEC AWARDS) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนยอดเยี่ยม กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ของนางสาวสุชีรา ศุภพิมลวรรณ ตาแหน่ง ครูวิทยฐานะ ครูชานาญ
การ โรงเรียนระยองวิทยาคม จังหวัดระยอง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง
ผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่ผู้ที่สนใจศึกษาในการการประเมินเพื่อขอรับ
รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนยอดเยี่ยม
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หากแบบรายงานฉบับนี้มีข้อผิดพลาดประการใด
ผู้จัดทายินดีน้อมรับคาแนะนาในการปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้เอกสารมีความถูกต้องสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
นางสาวสุชีรา ศุภพิมลวรรณ
ผู้เสนอขอรับรางวัล
ข
สำรบัญ
เรื่อง หน้า
คานา ก
ตัวชี้วัดเฉพำะด้ำนนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อกำรเรียนกำรสอนยอดเยี่ยม
องค์ประกอบที่ 1 คุณภำพ 1
ตัวชี้วัด 1 คุณลักษณะของนวัตกรรม 1
ตัวชี้วัด 2 คุณภาพขององค์ประกอบในนวัตกรรม 4
ตัวชี้วัด 3 การออกแบบนวัตกรรม 6
ตัวชี้วัด 4 ประสิทธิภาพของนวัตกรรม 8
องค์ประกอบที่ 2 คุณประโยชน์ 9
ตัวชี้วัด 1 ความสามารถในการแก้ปัญหาหรือพัฒนา 9
ตัวชี้วัด 2 ประโยชน์ต่อบุคคล 11
ตัวชี้วัด 3 ประโยชน์ต่อหน่วยงาน 14
องค์ประกอบที่ 3 ควำมคิดริเริ่มสร้ำงสรรค์ 17
ตัวชี้วัด 1 ความแปลกใหม่ของนวัตกรรม 17
ตัวชี้วัด 2 จุดเด่นของนวัตกรรม 18
กำรประเมินตัวชี้วัดร่วม 18
องค์ประกอบที่ 1 ผลที่เกิดกับผู้เรียน 18
ตัวชี้วัดที่ 1 ผลที่เกิดกับผู้เรียน 18
1.1 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 18
1.2 ผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน/ผลการปฏิบัติงาน 24
1.3 การเผยแพร่ผลงานนักเรียน 26
1.4 การได้รับรางวัล/ยกย่องเชิดชู 29
องค์ประกอบที่ 2 ผลจำกกำรพัฒนำตนเอง 32
ตัวชี้วัดที่ 1 เป็นแบบอย่างและเป็นที่ยอมรับจากบุคคลอื่นๆ 32
ตัวชี้วัดที่ 2 พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 34
องค์ประกอบที่ 3 กำรดำเนินงำน/ผลงำนที่เป็นเลิศ 37
ตัวชี้วัดที่ 1 การนาองค์ความรู้จากการได้รับการพัฒนาหรือการพัฒนาตนเองไปใช้ประโยชน์ 37
ตัวชี้วัดที่ 2 การแก้ปัญหา/การพัฒนาผู้เรียน 38
ค
สำรบัญ (ต่อ)
เรื่อง หน้า
การรับรองเล่มรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานของผู้บังคับบัญชา
ภำคผนวก 40
รายการที่ 1 ประวัติ ก.พ7 41
รายการที่ 2 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน 44
รายการที่ 3 ครูสอนนักเรียนแข่งขัน 45
รายการที่ 4 รางวัลของนักเรียน 46
รายการที่ 5 อมรมสัมนา เป็นวิทยากร เป็นคณะกรรมการตัดสินการแข่งขัน 49
1
รำยงำนสรุปผลกำรปฏิบัติงำนเพื่อรับรำงวัลทรงคุณค่ำ สพฐ. (OBEC AWARDS)
ประจำปีกำรศึกษำ 2563 รำยกำร ครูผู้สอนยอดเยี่ยม
ด้ำนนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อกำรเรียนกำรสอน
ชื่อรำงวัลที่เสนอขอ ครูผู้สอนยอดเยี่ยม
ชื่อ นางสาวสุชีรา นามสกุล ศุภพิมลวรรณ
ตำแหน่ง ครู
ประเภท บุคคลยอดเยี่ยม
สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง
ด้ำน ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนยอดเยี่ยม
ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ตัวชี้วัดเฉพำะ
ด้ำนนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อกำรเรียนกำรสอนยอดเยี่ยม
กำรประเมินด้ำนนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อกำรเรียนกำรสอนยอดเยี่ยม
1. ตัวชี้วัดเฉพำะด้ำนนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อกำรเรียนกำรสอนยอดเยี่ยม
องค์ประกอบที่ 1 คุณภำพ
ตัวชี้วัด 1 คุณลักษณะของนวัตกรรม
1. มีรูปแบบนวัตกรรมถูกต้อง ครบถ้วนตำมประเภทของนวัตกรรมที่ระบุ
รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถใน
การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีความถูกต้อง ครบถ้วนโดยข้าพเจ้าได้
พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้หลักการของ ADDIE model และทิศนา แขมมณี ซึ่งรูปแบบ
การจัดการเรียนรู้ที่สร้างอยู่บนพื้นฐานของทฤษฎีการสร้างความรู้และแนวคิดหรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับ
ความสามารถในการแก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์ ดังต่อไปนี้
1. ทฤษฎีการสร้างความรู้ (Constructivism)
2. ทฤษฎีที่สาคัญในการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา ได้แก่
2.1 ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
2.2 ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของวิก๊อทสกี้
3. แนวคิดและทฤษฎีที่สาคัญในการพัฒนาความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ ได้แก่
✓ ทำได้ 3 รำยกำร
2
3.1 แนวคิดของฟรอยด์
3.2 แนวคิดของเทเลอร์และฮอลแลนด์
3.3 แนวคิดของทอแรนซ์
3.4 ทฤษฎีโครงสร้างสมรรถภาพทางสมอง ของกิลฟอร์ดและฮอฟเนอร์
องค์ประกอบของรูปแบบกำรจัดกำรเรียนรู้
รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการ
แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีองค์ประกอบต่าง ๆ ซึ่งได้ผ่านการสังเคราะห์
จากเอกสารที่เกี่ยวข้อง โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. หลักการ
2. จุดมุ่งหมาย
3. ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้
4. การวัดและประเมินผล
โดยมีรายละเอียดเพิ่
ิมเติมในรายงานการวิจัย
2. นวัตกรรมมีควำมสอดคล้องกับควำมรู้ควำมสำมำรถและกำรปฏิบัติหน้ำที่ในด้ำนที่ขอรับ
กำรประเมินคัดเลือก
ข้าพเจ้าบรรจุเข้ารับราชการครูปี 2554 จากนั้นศึกษาต่อระดับปริญญาโทศึกษาศาสตร์
มหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอนคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชและศึกษาต่อระดับ
ปริญญาเอกการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยบูรพา ผู้สอนจึงได้
ประมวลความรู้ทั้งจากการศึกษาด้านหลักสูตรและการสอนมาออกแบบ จัดทานวัตกรรมชุดนี้ โดยเลือก
การสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการสร้างความรู้ให้สอดคล้องกับความต้องการพัฒนานักเรียนใน
ยุคศตวรรณที่ 21 ให้นักเรียนได้สร้างความรู้ด้วยตนเอง และรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นนี้เน้นการ
พัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ที่เป็นสิ่งจาเป็นมากในการเรียน การทางานใน
อนาคตที่จะต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์ ความแปลกใหม่ในการแข่งขัน อ้างอิงจากภาคผนวก รายการที่ 1
ประวัติ ก.พ7 หน้า 41
3
3. รูปแบบกำรจัดพิมพ์ จัดรูปเล่มนวัตกรรม กำรนำเสนอน่ำสนใจ มีกำรจัดเรียงลำดับ
อย่ำงเป็นขั้นตอน
นวัตกรรมชุดนี้ ประกอบด้วย คู่มือการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิด
การสร้างความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 2 และแผนการจัดการเรียนรู้ โดยมีการอธิบายคู่มือการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้อย่างละเอียด
ทาให้ผู้สนใจนาไปใช้ได้ง่าย การจัดทารูปเล่มคู่มือการใช้งานน่าสนใจ การนาเสนอจัดเรียงลาดับอย่างเป็น
ขั้นตอน สวยงาม อ้างอิงจากคู่มือการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ และรายงานการพัฒนารูปแบบ
การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนระยอง
วิทยาคม
1. ใบรายงานผลศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต
สาขาหลักสูตรและการสอน
2.หนังสือรับรองวุฒิปริญญาเอกสาขาวิชา
หลักสูตรและการสอน
3.ผลการเรียนปริญญาเอกสาขาวิชา
หลักสูตรและการสอน
qr-code
ผลกำรเรียนปริญญำโทและเอก
4. สอบดุษฎีนิพนธ์มหาวิทยาลัยบูรพา
4
ตัวชี้วัด 2 คุณภำพขององค์ประกอบในนวัตกรรม
1. วัตถุประสงค์ เป้ำหมำยของนวัตกรรม สอดคล้องกับสภำพปัญหำควำมต้องกำรพัฒนำ
ผู้สอนกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมายของนวัตกรรม โดยวิเคราะห์จากสภาพปัญหาความ
ต้องการจาเป็นเร่งด่วนในการจัดการเรียนรู้ ซึ่งจากประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ การค้นคว้าเอกสาร
ทางวิชาการและผลการทดสอบวิชาการระดับชาติ พบว่า ปัญหาที่ควรได้รับการปรับปรุงแก้ไขเร่งด่วนคือ
เรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ต่ากว่ามาตรฐาน การคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบเกี่ยวกับการแก้
โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ทักษะการทางานกล่
ิมหรือการอยู่ร่วมกันในสังคมของผู้เรียน ซึ่งมีปัจจัยก่อให้เกิด
ปัญหาดังกล่าวหลายประการ ทั้งในส่วนของครูผู้สอนและผู้เรียน การปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ให้มี
ประสิทธิภาพ ถือเป็นหน้าที่ครูโดยตรง ครูผู้สอนต้องคานึงถึงระดับความสามารถและความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล
การจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้
เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สอดคล้องกับ
สภาพปัญหาความต้องการพัฒนา ซึ่งวัตถุประสงค์ของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นเพื่อช่วย
แก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้กับนักเรียน อ้างอิงจากคู่มือการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้
2. ควำมสมบูรณ์ในเนื้อหำสำระของของนวัตกรรม
ข้าพเจ้าได้จัดทารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้เพื่อพัฒนา
ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้แนวคิดและทฤษฎี
ที่ส่งผลต่อการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ โดยเลือกเนื้อหาเรื่อง การประยุกต์
ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว มาทดลองใช้ในรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นนี้ เนื่องจากเป็นเนื้อหา
ที่มีโจทย์ปัญหาหลายแบบและนักเรียนสามารถใช้ความคิดสร้างสรรค์มาออกแบบการแก้ปัญหาได้ เนื้อหา
สาระของนวัตกรรมมีความสมบูรณ์ โดยมีขั้นตอนการดาเนินการ ดังนี้
คู่มือการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ รายงานพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้
qr-code
รูปแบบกำรจัดกำรเรียนรู้
✓ ทำได้ 3 รำยกำร
5
ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาข้อมูลเบื้องต้น โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. การศึกษาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์
2. การศึกษาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสภาพและปัญหาการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์
3. การศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสร้างความรู้ (Constructivism)
4. การศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
5. การศึกษาแนวทางในการจัดการเรียนรู้การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้
1. การสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้
2. การประเมินและตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ก่อนนาไปใช้
3. การปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนรู้ก่อนนาไปทดลองใช้จริง
4. การสร้างเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตาม
แนวคิดการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 2
ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้
1. การศึกษานาร่อง (Pilot study)
2. นาไปทดลองใช้จริง
ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผลและปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิด
การสร้างความรู้
1. ประเมินผลและปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนรู้
2. จัดทาและเผยแพร่รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่สมบูรณ์
อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้
เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รูปแบบ
การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้รูปแบบ
การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา
อย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
3. ควำมถูกต้องตำมหลักวิชำกำร
ผู้สอนสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ อย่างมีลาดับ
ขั้นตอน ถูกต้องตามหลักการออกแบบรูปแบบการจัดการเรียนรู้ มีการศึกษาข้อมูลพื้นฐาน การประเมิน
ตรวจสอบรูปแบบ ปรับปรุง การนาไปทดลองใช้ มีการหาคุณภาพเครื่องมือ โดยใช้สถิติหาคุณภาพ
เครื่องมือ ได้แก่ แบบประเมินประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ ตามวิธีของลิเคิร์ท การวิเคราะห์หาค่า
ดัชนีความสอดคล้อง (Index of consistency: IOC) การค่าความยากและค่าอานาจจาแนกของข้อสอบ
6
การหาค่าความเชื่อมั่นภายในของแบบทดสอบ โดยมีขั้นตอนการสร้างนวัตกรรม รูปแบบการจัดการเรียนรู้
ดังนี้
อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้
เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 คู่มือการใช้
รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้
รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา
อย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ตัวชี้วัด 3 กำรออกแบบนวัตกรรม
1. มีแนวคิดทฤษฎีรองรับ อย่ำงสมเหตุสมผลสำมำรถอ้ำงอิงได้
ผู้สอนสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ เพื่อพัฒนา
ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยมีแนวคิดทฤษฎี
รองรับ อย่างสมเหตุสมผลสามารถอ้างอิงได้ ดังแผนภาพต่อไปนี้
✓ ทำได้ 3 รำยกำร
7
อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้
เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 คู่มือการใช้
รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้
2. แนวคิดทฤษฎีที่มีควำมเป็นไปได้ในกำรพัฒนำนวัตกรรมให้สัมฤทธิ์ผล
แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้
เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สามารถ
นาไปใช้ในการสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ที่ส่งผลต่อความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ได้
ซึ่งอ้างอิงได้จากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้าง
ความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในบทที่
2 และผลที่เกิดขึ้นจากการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ ในบทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
8
3. นวัตกรรมมีควำมสอดคล้องตำมแนวคิดทฤษฎีที่ระบุ
นวัตกรรมมีความสอดคล้องตามแนวคิดทฤษฎีที่ระบุ โดยสังเกตได้จากการอภิปรายผลการใช้
รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา
อย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
อ้างอิงได้จากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้าง
ความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ในบทที่ 5 การอภิปรายผล
ตัวชี้วัด 4 ประสิทธิภำพของนวัตกรรม
1. กระบวนกำรหำประสิทธิภำพของนวัตกรรมถูกต้องตำมหลักวิชำ
มีการทดสอบหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม เรื่องการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ตามแนวคิดการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนระยองวิทยาคมได้ถูกต้องตามหลักวิชา ดังนี้
การพัฒนารูปแบบการสอน โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานเพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนรู้
ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้
ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้
ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผลและปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิด
การสร้างความรู้
2. นวัตกรรมมีประสิทธิภำพตำมเกณฑ์ที่กำหนด
รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามแนวคิดการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถ
ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนระยองวิทยาคม มีประสิทธิภาพ
ตามเกณฑ์ที่กาหนด โดยมีองค์ประกอบ 4 องค์ประกอบคือ หลักการ จุดมุ่งหมาย ขั้นตอนการจัดการ
เรียนรู้ การวัดและประเมินผล โดยผู้วิจัยนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นซึ่งประกอบไปด้วยขั้นตอน
การจัดการเรียนรู้ 4 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 การเตรียมความพร้อม ขั้นที่ 2 การสร้างองค์ความรู้จาก
สถานการณ์ปัญหา ขั้นที่ 3 ตรวจสอบความคิดใหม่ และขั้นที่ 4 ประเมินผลการเรียนรู้ จากนั้นนาไป
ตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้กับผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 ท่าน พบว่า รูปแบบการจัดการเรียนรู้
ที่สร้างขึ้นมีคุณภาพอยู่ในระดับความเหมาะสมมาก โดยมีค่าเฉลี่ย 4.53 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน 0.63
✓ ทำได้ 3 รำยกำร
9
อ้างอิงได้จากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้าง
ความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ในบทที่ 5 สรุปผลการทดลอง
3. วิธีกำรหำประสิทธิภำพของนวัตกรรมครอบคลุมในด้ำนเนื้อหำ (Content validity)
และโครงสร้ำง (Construct validity)
ในการตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้ และเอกสารรูปแบบการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น
นั้น ได้ดาเนินการ กาหนดจุดประสงค์การประเมิน โดยพิจารณาในองค์ประกอบของรูปแบบการเรียนรู้ทุก
องค์ประกอบ รวมทั้งเอกสารประกอบรูปแบบการเรียนรู้ ศึกษาวิธีการสร้างแบบประเมิน และกาหนด
รูปแบบของแบบประเมิน พัฒนาแบบประเมินรูปแบบการเรียนรู้ และแบบประเมินเอกสารประกอบ
รูปแบบการเรียนรู้ โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า 4 ระดับ และ
ส่วนที่ 2 เป็นแบบปลายเปิดสาหรับผู้ประเมินให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม สาหรับประเด็นในการประเมิน
ได้กาหนดให้ครอบคลุมองค์ประกอบต่างๆ ได้แก่ ความเป็นมาของรูปแบบ แนวคิดพื้นฐานที่ใช้ใน
การพัฒนารูปแบบ การกาหนดองค์ประกอบของรูปแบบการสอน และมีการทดลองใช้นาร่องรูปแบบ
การเรียนรู้เพื่อพิจารณาความเป็นไปได้ เป็นขั้นที่ปรับปรุงแก้ไขรูปแบบการเรียนรู้ คู่มือการใช้รูปแบบการ
จัดการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้แล้ว โดยนาแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นไปทดลองนาร่องใช้
กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างจริง เพื่อตรวจสอบรูปแบบการจัดการเรียนรู้และ
เอกสารประกอบรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นสามารถนาไปใช้ได้มากน้อยเพียงใด
องค์ประกอบที่ 2 คุณประโยชน์
ตัวชี้วัด 1 ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำหรือพัฒนำ
1.1 สอดคล้องตำมวัตถุประสงค์และเป้ำหมำยที่ระบุได้ครบถ้วน
รายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ เพื่อพัฒนา
ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีวัตถุประสงค์ ดังนี้
1. เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้
2. เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ในด้าน
ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์
ผลการพัฒนา พบว่า
1. ได้รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ ที่มีองค์ประกอบ 4
องค์ประกอบคือ หลักการ จุดมุ่งหมาย ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล โดยผู้วิจัยนา
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นซึ่งประกอบไปด้วยขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ 4 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1
การเตรียมความพร้อม ขั้นที่ 2 การสร้างองค์ความรู้จากสถานการณ์ปัญหา ขั้นที่ 3 ตรวจสอบความคิด
✓ ทำได้ 3 รำยกำร
10
ใหม่ และขั้นที่ 4 ประเมินผลการเรียนรู้ จากนั้นนาไปตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้กับ
ผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 ท่าน พบว่า รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นมีคุณภาพอยู่ในระดับความเหมาะสม
มาก โดยมีค่าเฉลี่ย 4.53 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.63
2. ผลของการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 2 มีดังนี้
2.1 นักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เรื่องการประยุกต์ของสมการ
เชิงเส้นตัวแปรเดียวหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2.2 นักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิง
เส้นตัวแปรเดียวหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2.3 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัว
แปรเดียวหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2.4 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัว
แปรเดียวหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ดังนั้น นวัตกรรมนี้สามารถแก้ปัญหาหรือพัฒนาสอดคล้องตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ระบุได้
ครบถ้วน อ้างอิงในบทคัดย่อ รายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้าง
ความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รูปแบบ
การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้
1.2 แก้ปัญหำหรือพัฒนำได้ตรงตำมกลุ่มเป้ำหมำย
นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้าง
ความรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนระยองวิทยาคม สามารถแก้ปัญหาหรือพัฒนา
ได้ตรงตามกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ นักเรียนที่เรียนเนื้อหาในรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มพูน ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 2/1 และ 2/2 ซึ่งเรียนในรายวิชาเพิ่มพูน ค20214 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 ภายหลังการวิจัย
พบว่า นักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และสูงกว่า
เกณฑ์ร้อยละ 80 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และ
สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80
อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้
เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รูปแบบ
การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้รูปแบบ
การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา
อย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
11
1.3 นำไปประยุกต์ใช้ในสภำพบริบทที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน
ผู้สอนนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ไปประยุกต์ใช้กับ
ผู้เรียนในบริบทใกล้เคียงกัน ดังนี้
1. ใช้สอนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้อง 2/1-2/2 ในรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม
2. ใช้สอนโครงงานคณิตศาสตร์
3. ประยุกต์ใช้สอนนักเรียนชั้นม.5 ในรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานในเรื่องความน่าจะเป็น
อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้
เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รูปแบบ
การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้รูปแบบ
การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา
อย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ตัวชี้วัด 2 ประโยชน์ต่อบุคคล
2.1 ผลงำนส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียน
รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ที่ผู้สอนได้พัฒนาขึ้นนี้ ช่วย
นักเรียนได้ฝึกสร้างความรู้ด้วยตนเองผ่านการจัดกิจกรรม นักเรียนได้พัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา
อย่างสร้างสรรค์จากสถานการณ์ปัญหา นักเรียนได้ฝึกกระบวนการทางานเป็นกล่
ิม ได้ฝึกสื่อสารและสื่อ
ความหมายทางคณิตศาสตร์ ฝึกการอภิปราย ฝึกการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
คณิตศาสตร์สูงขึ้นและผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้
เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
2.2 ผลงำนส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อเพื่อนครู
ผลงานนี้สามารถเป็นแนวทางให้ครูท่านอื่นในสาขาเดียวกันนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน
หรือครูที่สนใจต้องการผลิตสื่อการจัดการเรียนรู้ โดยข้าพเจ้าได้นาเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการ
เครือข่ายครู สควค. ภาคกลาง ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 19-21 มีนาคม 2564 ณ โรงแรมศรีอู่ทอง จังหวัด
สุพรรณบุรี เรื่องการพัฒนารูปแบบการจัด การเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ เพื่อพัฒนา
ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งได้รับรางวัลเป็นผู้
นาเสนอผลงานวิชาการการระดับยอดเยี่ยม อ้างอิงจากเว็บไซต์
https://sites.google.com/rayongwit.ac.th/suchera-ryw http://www.trueplookpanya.com
Google drive งานวิจัยในชั้นเรียนของโรงเรียนระยองวิทยาคม และวารสารบัณฑิตวิทยาลัย พิชญทรรศน์
✓ ทำได้ 3 รำยกำร
12
qr-code เวปไซต์เผยแพร่งำนวิจัย
ในชั้นเรียน ครูสุชีรำ
qr-code เวปไซต์เผยแพร่งำนวิจัยใน
ชั้นเรียน ผ่ำนเวปไซต์ทรู ปลูกปัญญำ
เผยแพร่งานวิจัยในชั้นเรียนผ่านทางทางเวปไซต์ในชั้นเรียน ครูสุชีรา
เผยแพร่งานวิจัยในชั้นเรียนผ่านทางทางเวปไซต์ทรู ปลูกปัญญา
เผยแพร่งานวิจัยในชั้นเรียนผ่านทางทาง Google drive งานวิจัยในชั้นเรียนของโรงเรียนระยองวิทยาคม
13
นาเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการ เครือข่ายครู สควค. ภาคกลาง
qr-code ตัวชี้วัด 5
งำนวิจัยในชั้นเรียนที่เผยแพร่แล้ว
เผยแพร่งานวิจัยในวารสารบัณฑิตวิทยาลัย พิชญทรรศน์
เล่มการประชุมวิชาการ เครือข่ายครู สควค. ภาคกลาง
qr-code
เล่มกำรประชุมวิชำกำร
14
2.3 ผลงำนส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อผู้บริหำรสถำนศึกษำ
ทาให้ผู้บริหารประสบความสาเร็จในการพัฒนาบุคลากรครูในการจัดทา/พัฒนาสื่อการเรียนรู้
เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน และสามารถนาแนวคิดไปใช้ในการส่งเสริมให้ครูใน
โรงเรียนพัฒนาแนวทางในการจัดการเรียนรู้ของแต่ละรายวิชาที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่าง
สร้างสรรค์ และเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น
อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้
เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ตัวชี้วัด 3 ประโยชน์ต่อหน่วยงำน
3.1 ผลงำนส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อสถำนศึกษำ
1. ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของสถานศึกษาสูงขึ้น
2. ทาให้สถานศึกษามีผู้เรียนที่มีคุณภาพ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ ส่งผลให้ชุมชนเกิดความยอมรับในสถานศึกษา
3. เป็นส่วนหนึ่งที่สนับสนุนให้โรงเรียนประสบความสาเร็จในการบริหารและจัดการสถานศึกษา
เช่น การชนะเลิศการแข่งขันคณิตศาสตร์รายการต่างๆ ระดับโรงเรียน ระดับเขต/ภาค ระดับประเทศและ
ระดับนานาชาติ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ผู้สอนได้สอนโดยใช้นวัตกรรมนี้
อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้
เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
3.2 ผลงำนส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อวงกำรวิชำชีพ
1. สามารถนารายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้าง
ความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
นี้ไปเผยแพร่เพื่อเป็นแนวทางให้กับครูท่านอื่นที่สนใจจะผลิตสื่อการเรียนการสอน ทาให้วงการวิชาชีพครู
มีนวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์และผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของนักเรียน
2. ทาให้วงการวิชาชีพครูมีรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบใหม่ที่ผู้สอนได้จัดทาขึ้น มีเครื่องมือและ
แบบวัดที่มีประสิทธิภาพในการวัดผลทางการเรียนรู้
3. ทาให้ครูได้รับการยอมรับในวงวิชาชีพด้านการสอนนักเรียน ข้าพเจ้าได้นารูปแบบการจัดการ
เรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นนี้ไปใช้สอนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้อง 2/1 และ 2/2 ซึ่งเป็นห้องเรียน Gifted
เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกการสร้างความรู้ด้วยตนเอง ได้พัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
✓ ทำได้ 3 รำยกำร
15
สามารถนาไปต่อยอดในการทาข้อสอบแข่งขัน การทาโครงงาน จนนักเรียนได้รับรางวัลระดับโรงเรียน
ระดับเขต ระดับภาค ระดับประเทศและระดับนานาชาติ
อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้
เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนระยอง
วิทยาคม การเผยแพร่ผลงานตามโรงเรียนต่างๆ และเว็บไซด์ (เผยแพร่ผลงานทางเว็บไซต์
www.kroobannok.com, https://sites.google.com/rayongwit.ac.th/suchera-ryw,
http://www.trueplookpanya.com/ ) และรางวัลนักเรียน ภาคผนวกรายการที่ 4 รางวัลของนักเรียน
หน้า 46 – 48
1. เป็นครูผู้สอนโครงงานนักเรียนประเภทสร้างทฤษฎีหรือ
คาอธิบายทางคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ม.1-ม.3ได้รับเหรียญทอง
ชนะเลิศระดับสหวิทยาเขต ปี 2562
2. เป็นครูผู้สอนโครงงานนักเรียนประเภทบูรณาการความรู้ใน
คณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ระดับชั้น ม.1-ม.3ได้รับเหรียญทอง
ชนะเลิศระดับสหวิทยาเขต ปี 2562
3. เป็นครูผู้สอนโครงงานนักเรียนประเภทสร้างทฤษฎีหรือ
คาอธิบายทางคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ม.1-ม.3ได้รับเหรียญ
ทองแดง ระดับชาติ ปี 2562
4. เป็นครูผู้สอนโครงงานนักเรียนประเภทบูรณาการความรู้ใน
คณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ระดับชั้น ม.1-ม.3ได้รับเหรียญ
ทองแดง ระดับชาติ ปี 2562
16
7. เป็นครูผู้สอนนักเรียนแข่งโครงงานชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า ปี 2563 ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 1
5. การประกวดโครงงานระดับสหวิทยาเขตปี 2562
8. เป็นผู้ส่งเสริมและสนับสนุนให้
นักเรียนมีพัฒนาการทางวิชาการ
ASMO 2020
qr-code
ตัวชี้วัด 6 รำยกำร 1
ได้รับรำงวัลยกย่องเชิดชูเกียรติ
6. การประกวดโครงงานระดับชาติ ปี 2562
9. การแข่งขันคณิตศาสตร์
ปี2563 ASMO THAI
10. การแข่งขันคณิตศาสตร์
ปี2562 ASMO
17
3.3 ผลงำนส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน
ผู้เรียนสามารถนาหลักการ แนวคิด และกระบวนการเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างความรู้ไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันเพื่อพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นของตนเอง ส่งผลให้ชุมชนมีความเป็นอยู่ดี สังคม
มีความสุข
องค์ประกอบที่ 3 ควำมคิดริเริ่มสร้ำงสรรค์
ตัวชี้วัด 1 ควำมแปลกใหม่ของนวัตกรรม
1.1 เกิดจำกแนวคิดแปลกใหม่ ไม่เคยมีปรำกฏมำก่อน
นวัตกรรมนี้เป็นการจัดการเรียนรู้โดยใช้รายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ตามแนวคิดการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนระยองวิทยาคม ผู้จัดทาเป็นผู้ออกแบบและนามาใช้ในการเรียนการสอน
คณิตศาสตร์ โดยการวิเคราะห์และสังเคราะห์รูปแบบการจัดการเรียนรู้จากแนวคิดและทฤษฎีต่างๆ ซึ่งเป็น
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่มีแนวคิดที่แปลกใหม่
อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้
เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
1.2 เป็นกำรพัฒนำต่อยอดจำกแนวคิดเดิม
นวัตกรรมนี้เป็นสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้บนพื้นฐานแนวคิดและทฤษฎีที่มีอยู่แล้ว นามา
ต่อยอดในการสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้นักเรียนลงมือปฏิบัติ เน้นการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
การแก้ปัญหา ความคิดสร้างสรรค์ เพื่อให้นักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
ซึ่งสอดคล้องกับศตวรรษที่ 21
1.3 มีกำรปรับปรุงจำกแนวคิดเดิมและนำมำพัฒนำใหม่
นวัตกรรมนี้เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่มีการปรับปรุงกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้
แนวคิด/ทฤษฎีเดิมมาพัฒนาให้สอดคล้องกับยุคสมัยปัจจุบัน ได้แก่ ด้านเทคโนโลยีที่ใช้ในการจัด
การเรียนรู้ ครูผู้สอน เช่น การนาเสนอโดยใช้พาวเวอร์พอยท์ การใช้โทรศัพท์มือถือ ไอแพดหรือ
คอมพิวเตอร์ในการค้นคว้าหาข้อมูล
✓ ทำได้ 3 รำยกำร
18
ตัวชี้วัด 2 จุดเด่นของนวัตกรรม
2.1 ผลงำนมีจุดเด่น น่ำสนใจ สะท้อนถึงกำรมีแนวคิดใหม่
นวัตกรรมรูปแบบการจัดการเรียนรู้นี้ไม่เน้นคาตอบของปัญหา แต่เน้นกระบวนการแก้ปัญหา
โดยส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้แนวคิดในการแก้ปัญหาอย่างหลากหลาย ได้แก่ การใช้แผนภาพ การสร้าง
ตาราง พีชคณิต การวาดภาพ การเขียนกราฟ การสร้างสถานการณ์สมมติ เป็นต้น เพื่อให้นักเรียนได้นา
แนวทางในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ไปใช้ในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ส่งผลให้นักเรียนเห็นคุณค่าใน
การเรียนวิชาคณิตศาสตร์ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้
เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
2.2 ใช้ง่ำย สะดวก
นวัตกรรมชุดนี้สามารถใช้งานได้ง่ายและสะดวก เนื่องจากมีคู่มือการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้
อย่างละเอียดและชัดเจน มีแผนประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ นอกจากนี้ยังสามารถดาวน์โหลด
นวัตกรรมได้จากเว็บไซต์ซึ่งสามารถเข้าใช้ได้ในทันที
อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้
เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
2.3 ลงทุนน้อย
ลงทุนน้อย เนื่องจากผู้ใช้นวัตกรรมรูปแบบการสอนสามารถดาวน์โหลดได้ฟรีจากเวปไซต์ หรือ
สแกนบาร์โค้ดเพื่อเข้าสู่เวปไซต์ และสามารถให้ผู้เรียนทากิจกรรมผ่านเว็บไซต์หรือทากิจกรรมกล่
ิม ทาให้
ประหยัดการใช้ทรัพยากร
อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้
เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
2. กำรประเมินตัวชี้วัดร่วมสำหรับครูผู้สอนทุกชั้น ให้ใช้ตัวชี้วัดร่วมด้านวิชาการ ดังนี้
องค์ประกอบที่ 1 ผลที่เกิดกับผู้เรียน
ตัวชี้วัดที่ 1 ผลที่เกิดกับผู้เรียน
ตัวชี้วัดที่ 1.1 ด้ำนคุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. นักเรียนผ่ำนกำรประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ครบทั้ง 8 ข้อคิดเป็นร้อยละ 100
นักเรียนผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ครบทั้ง 8 ข้อ คือ
1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
✓ ทำได้ 3 รำยกำร
✓ ทำได้ 4 รำยกำร
19
2) ซื่อสัตย์สุจริต
3) มีวินัย
4) ใฝ่เรียนรู้
5) อยู่อย่างพอเพียง
6) มุ่งมั่นในการทางาน
7) รักความเป็นไทย
8) มีจิตสาธารณะ
อ้างอิงจากเล่มรายงานสรุปผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ดังในภาคผนวก รายการที่ 2 คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของผู้เรียน หน้า 44
2. นักเรียนประพฤติตนตำมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่เป็นจุดเน้นของสถำนศึกษำได้ครบ
ทุกข้อคิดเป็นร้อยละ 100
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่เป็นจุดเน้นของโรงเรียนระยองวิทยาคม คือ
1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2) ซื่อสัตย์สุจริต
3) มีวินัย
4) ใฝ่เรียนรู้
5) อยู่อย่างพอเพียง
6) มุ่งมั่นในการทางาน
7) รักความเป็นไทย
8) มีจิตสาธารณะ
อ้างอิงจากเล่มรายงานสรุปผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ดังในภาคผนวก รายการที่ 2 คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของผู้เรียน หน้า 44
3. นักเรียนได้รับรำงวัล/กำรยกย่องเชิดชูเกียรติ/ประกำศชมเชยจำกหน่วยงำน/องค์กร
ระดับเขต/จังหวัด
3.1 ข้าพเจ้าได้เป็นครูผู้สอนนักเรียนประกวดโครงานคณิตศาสตร์ตั้งแต่ปีการศึกษา 2555 จนถึงปี
2563 โดยในปีการศึกษา 2561 – 2563 นักเรียนได้รางวัลจากการประกวดโครงานในระดับเขต อ้างอิง
จากประกาศนียบัตร เกียรติบัตร และวุฒิบัตรของนักเรียน ดังในภาคผนวก รายการที่ 4 รางวัลของ
นักเรียน หน้า 47-48 ได้แก่
20
-นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง ชนะเลิศ กิจกรรมการแข่งขันโครงงานคณิตศาสตร์ประเภทสร้าง
ทฤษฎีหรือคาอธิบายทางคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ม.1 – ม.3 งานศิลปหัตกรรมนักเรียนระดับเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษา ครั้งที่ 68 ประจาปี 2561
-นักเรียนได้รับรางวัลระดับเขต เหรียญทอง การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทประเภท
บูรณาการความรู้ในคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ม.1-ม.3 งานศิลปหัตกรรมนักเรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา ครั้งที่ 68 ประจาปี 2561
- นักเรียนได้รับรางวัลระดับเขต ชนะเลิศ (เหรียญทอง) การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์
ประเภทสร้างทฤษฎีหรือคาอธิบายทางคณิตศาสตร์ ม.1-ม.3 (ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 69) ประจาปี
2562 สังกัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
-นักเรียนได้รับรางวัลระดับเขต ชนะเลิศ (เหรียญทอง) การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์
ประเภทประเภทบูรณาการความรู้ในคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ม.1-ม.3 (ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่
69) ประจาปี 2562 สังกัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
3.2 ข้าพเจ้าได้เป็นผู้ฝึกซ้อมนักเรียนโครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางคณิตศาสตร์ ในระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 2 ในปีการศึกษา 2560 – 2562 โดยติวนักเรียนในเวลา 7:30 – 8:20 เพื่อส่งเสริมและ
พัฒนาศักยภาพทางด้านคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกเข้าโครงการ ซึ่งนักเรียนก็ได้รับ
เกียรติบัตรจากการแข่งขันในรายการต่างๆ อ้างอิงจากรายงานแผนปฏิบัติการโรงเรียนระยองวิทยาคม
เรื่อง ส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ หน้า 196 – 200 เกียรติบัตรนักเรียน ภาคผนวกหน้า 52 – 53
ได้แก่
-นักเรียนได้รับรางวัลระดับจังหวัด โครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางคณิตศาสตร์
(TEDET) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกับธนาคารออมสิน วันที่ 9
ธันวาคม 2562
-เด็กชายกฤตวีร์ ชัยประเสริฐสุด ได้รับรางวัลเกียรติบัตรชมเชย ในการแข่งขันการคิดและ
แก้ปัญหาคณิตศาสตร์ ครั้งที่ 19 ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
-เด็กชายกฤตวีร์ ชัยประเสริฐสุด ได้รับรางวัลเหรียญเงิน ในการสอบแข่งขันวิชาคณิตศาสตร์
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น การแข่งขันทางวิชาการ ระดับนานาชาติ ประจาปี 2562 รอบแรก ระดับเขต
พื้นที่การศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้สู่สากล สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
-เด็กชายกฤตวีร์ ชัยประเสริฐสุด ได้รับรางวัลเหรียญทอง ในการสอบแข่งขันวิชาคณิตศาสตร์
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น การแข่งขันทางวิชาการ ระดับนานาชาติ ประจาปี 2563 รอบแรก ระดับเขต
พื้นที่การศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้สู่สากล สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ณ วันที่ 24 มกราคม พุทธศักราช 2563
21
4. นักเรียนได้รับรำงวัล/กำรยกย่องเชิดชูเกียรติ/ประกำศชมเชยจำกหน่วยงำน/องค์กร
ระดับชำติ/นำนำชำติ
4.1 ข้าพเจ้าได้เป็นครูผู้สอนนักเรียนประกวดโครงานคณิตศาสตร์ตั้งแต่ปีการศึกษา 2555 จนถึงปี
2562 โดยในปีการศึกษา 2561 – 2562 นักเรียนได้รางวัลจากการประกวดโครงานในระดับเขต อ้างอิง
จากประกาศนียบัตร เกียรติบัตร และวุฒิบัตรของนักเรียน ดังในภาคผนวก รายการที่ 3 ครูสอนนักเรียน
แข่งขัน หน้า 45 รายการที่ 4 รางวัลของนักเรียน หน้า 49 ได้แก่
- นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทองระดับชาติ จังหวัดนครปฐม กิจกรรมการแข่งขันโครงงาน
คณิตศาสตร์ประเภทสร้างทฤษฎีหรือคาอธิบายทางคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ม.1 – ม.3 งานศิลปหัตกรรม
นักเรียนระดับชาติ ภาคกลางและภาคตะวันออก ครั้งที่ 68 ประจาปี 2561
-นักเรียนได้รับรางวัลระดับชาติ (ภูมิภาคภาคกลางและภาคตะวันออก) รางวัลเหรียญทองแดง
การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทสร้างทฤษฎีหรือคาอธิบายทางคณิตศาสตร์ ม.1-ม.3
(ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 69) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) วันที่ได้รับรางวัล
7-9 ธันวาคม 2562
-นักเรียนได้รับรางวัลระดับชาติ (ภูมิภาคภาคกลางและภาคตะวันออก) รางวัลเหรียญทองแดง
การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ประเภทบูรณาการความรู้ในคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ม.1-ม.3
(ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 69) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) วันที่ได้รับรางวัล
7-9 ธันวาคม 2562
4.2 ข้าพเจ้าเป็นผู้ฝึกซ้อมนักเรียนโครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางคณิตศาสตร์ ในระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 2 ในปีการศึกษา 2560 – 2562 โดยติวนักเรียนในเวลา 7:30 – 8:20 เพื่อส่งเสริมและ
พัฒนาศักยภาพทางด้านคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกเข้าโครงการ ซึ่งนักเรียนก็ได้รับ
เกียรติบัตรจากการแข่งขันในรายการต่างๆ อ้างอิงจากรายงานแผนปฏิบัติการโรงเรียนระยองวิทยาคม
เรื่อง ส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ เกียรติบัตรนักเรียน ภาคผนวกหน้า 52, 55 ได้แก่
-เด็กชายกฤตวีร์ ชัยประเสริฐสุด ได้รับรางวัลชมเชย ในการแข่งขันทางวิชาการ ระดับ นานาชาติ
ประจาปี พ.ศ. 2562 (ระดับประเทศ) วิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
-เด็กชายแทนวงศ์ ปัทมมงคลชัย ได้รับรางวัลเกียรติบัตรเหรียญเงิน ประเภทบุคคล ระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น ระดับประเทศ การแข่งขันความสามารถทางคณิตศาสตร์ ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จ
พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 17 ปีการศึกษา 2562
-เด็กชายกฤตวีร์ ชัยประเสริฐสุด ได้รับรางวัลระดับเหรียญเงิน ในการแข่งขันทางวิชาการ ระดับ
นานาชาติ ประจาปี พ.ศ. 2563 (รอบสอง ระดับประเทศ) วิชาคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ณ
วันที่ 24 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2563
22
-เด็กชายแทนวงศ์ ปัทมมงคลชัย ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง ในการแข่งขันทางวิชาการ ระดับ
นานาชาติ ประจาปี พ.ศ. 2563 (รอบสอง ระดับประเทศ) วิชาคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ณ
วันที่ 24 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2563
-นักเรียนได้รับรางวัลโครงการแข่งขัน ASMO THAI Science & Math Competition 2017
รางวัลเหรียญทอง จานวน 3 รางวัล รางวัลเหรียญเงิน จานวน 2 รางวัล รางวัลเหรียญทองแดง จานวน 6
รางวัล และรางวัลทีมคณิต PLATINUM จานวน 12 รางวัล
-นางสาวณัฎฐนิชา สุวรรณพยัคฆ์ ได้รับรางวัลระดับประเทศ เหรียญทอง (อันดับ 1) การทดสอบ
วัดแววโอลิมปิกวิชาการ “How academic Olympics you are!” หน่วยงาน สสวท. สอวน. สพฐ. วันที่
ได้รับรางวัล 25 – 26 ตุลาคม 2562
-นักเรียนได้รับรางวัลระดับประเทศ เหรียญทอง การทดสอบวัดแววโอลิมปิกวิชาการ “How
academic Olympics you are!” หน่วยงาน สสวท. สอวน. สพฐ. วันที่ได้รับรางวัล 25 – 26 ตุลาคม
2562
-นักเรียนได้รับรางวัลระดับประเทศ เหรียญเงิน การทดสอบวัดแววโอลิมปิกวิชาการ “How
academic Olympics you are!” หน่วยงาน สสวท. สอวน. สพฐ. วันที่ได้รับรางวัล 25 – 26 ตุลาคม
2562
-นักเรียนได้รับรางวัลระดับประเทศ รางวัลเหรียญเงิน (ประเภทบุคคล) การเข้าร่วมการแข่งขัน
นานาชาติ Asmo (Asian Science and Mathematics Olympiad) ปี 2019 วันที่ได้รับรางวัล 15
มกราคม 2563
-นักเรียนได้รับรางวัลระดับประเทศ รางวัลเหรียญทองแดง (ประเภทบุคคล) การเข้าร่วมการ
แข่งขันนานาชาติ Asmo (Asian Science and Mathematics Olympiad) ปี 2019 วันที่ได้รับรางวัล 15
มกราคม 2563
-นักเรียนได้รับรางวัลระดับประเทศ รางวัลเหรียญทอง สอบแข่งขันวิชาการวัดความสามารถทาง
คณิตศาสตร์ ระดับนานาชาติ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) วันที่ได้รับรางวัล 12
มกราคม 2563
-นักเรียนได้รับรางวัลระดับประเทศ รางวัลเหรียญเงิน สอบแข่งขันวิชาการวัดความสามารถทาง
คณิตศาสตร์ ระดับนานาชาติ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) วันที่ได้รับรางวัล 12
มกราคม 2563
-นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทองแดง สอบแข่งขันวิชาการวัดความสามารถทางคณิตศาสตร์ ระดับ
นานาชาติ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) วันที่ได้รับรางวัล 12 มกราคม 2563
4.3 ข้าพเจ้าเป็นวิทยากรค่ายคณิตศาสตร์หลักสูตร สอวน.คณิตศาสตร์ โครงการศูนย์โรงเรียน
ขยายผลโอลิมปิกวิชาการ ตั้งแต่ปี 2555 ศูนย์ขยายผลโรงเรียนระยองวิทยาคม ซึ่งนักเรียนที่ได้ฝึกอบรม
สอบผ่านการคัดเลือกเข้าค่ายที่ 2 วิชาคณิตศาสตร์ ในปี 2562 จานวน 7 คน และนักเรียน 1 คนเป็น
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera

More Related Content

What's hot

06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมPrachoom Rangkasikorn
 
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1Areerat Sangdao
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนยิ่งใหญ่ไอที อ.รัตนวาปี
 
1st meeting report of eis secondary school network
1st  meeting report of eis secondary school network1st  meeting report of eis secondary school network
1st meeting report of eis secondary school networkKroo nOOy
 
การจัดทำแผนกลยุทธ์ กรณีศึกษา วท.ดอนบอสโก
การจัดทำแผนกลยุทธ์ กรณีศึกษา วท.ดอนบอสโกการจัดทำแผนกลยุทธ์ กรณีศึกษา วท.ดอนบอสโก
การจัดทำแผนกลยุทธ์ กรณีศึกษา วท.ดอนบอสโกSireetorn Buanak
 
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
โครงการE learning2559
โครงการE learning2559โครงการE learning2559
โครงการE learning2559Pa'rig Prig
 
1332 20210713 nichakarn_kaewchan
1332 20210713 nichakarn_kaewchan1332 20210713 nichakarn_kaewchan
1332 20210713 nichakarn_kaewchanssuserea9dad1
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57สมใจ จันสุกสี
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 

What's hot (20)

06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
 
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
 
Add m3-2-link
Add m3-2-linkAdd m3-2-link
Add m3-2-link
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
 
13นิตยา
13นิตยา13นิตยา
13นิตยา
 
1st meeting report of eis secondary school network
1st  meeting report of eis secondary school network1st  meeting report of eis secondary school network
1st meeting report of eis secondary school network
 
การจัดทำแผนกลยุทธ์ กรณีศึกษา วท.ดอนบอสโก
การจัดทำแผนกลยุทธ์ กรณีศึกษา วท.ดอนบอสโกการจัดทำแผนกลยุทธ์ กรณีศึกษา วท.ดอนบอสโก
การจัดทำแผนกลยุทธ์ กรณีศึกษา วท.ดอนบอสโก
 
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
 
โครงการE learning2559
โครงการE learning2559โครงการE learning2559
โครงการE learning2559
 
Higher Education Plan # 11
Higher Education Plan # 11Higher Education Plan # 11
Higher Education Plan # 11
 
ICT MOE Master Plan 2554 – 2556
ICT MOE Master Plan 2554 – 2556ICT MOE Master Plan 2554 – 2556
ICT MOE Master Plan 2554 – 2556
 
1332 20210713 nichakarn_kaewchan
1332 20210713 nichakarn_kaewchan1332 20210713 nichakarn_kaewchan
1332 20210713 nichakarn_kaewchan
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
Innovation333
Innovation333Innovation333
Innovation333
 
Basic m3-1-link
Basic m3-1-linkBasic m3-1-link
Basic m3-1-link
 

Similar to Book 1-report obec year 63 -teacher suchera

ผอ.สพป.ชัยภูมิ 1 พบเพื่อนครู
ผอ.สพป.ชัยภูมิ 1 พบเพื่อนครูผอ.สพป.ชัยภูมิ 1 พบเพื่อนครู
ผอ.สพป.ชัยภูมิ 1 พบเพื่อนครูพิพัฒน์ ตะภา
 
ข้อมูลครูอำนาจ1 2555
ข้อมูลครูอำนาจ1 2555ข้อมูลครูอำนาจ1 2555
ข้อมูลครูอำนาจ1 2555Koksi Vocation
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลdtschool
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลnarongsak promwang
 
Sure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยา
Sure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยาSure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยา
Sure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยาKruthai Kidsdee
 
Sure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยา
Sure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยาSure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยา
Sure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยาKruthai Kidsdee
 
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายในPrachoom Rangkasikorn
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)Denpong Soodphakdee
 
Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011Denpong Soodphakdee
 
บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1luanrit
 
รายงานประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2557
รายงานประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2557รายงานประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2557
รายงานประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2557Kongkrit Pimpa
 

Similar to Book 1-report obec year 63 -teacher suchera (20)

ผอ.สพป.ชัยภูมิ 1 พบเพื่อนครู
ผอ.สพป.ชัยภูมิ 1 พบเพื่อนครูผอ.สพป.ชัยภูมิ 1 พบเพื่อนครู
ผอ.สพป.ชัยภูมิ 1 พบเพื่อนครู
 
ข้อมูลครูอำนาจ1 2555
ข้อมูลครูอำนาจ1 2555ข้อมูลครูอำนาจ1 2555
ข้อมูลครูอำนาจ1 2555
 
แม่ปู[1]
แม่ปู[1]แม่ปู[1]
แม่ปู[1]
 
แม่ปู[1]
แม่ปู[1]แม่ปู[1]
แม่ปู[1]
 
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNtคู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
 
ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกล
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผล
 
Teachercom c
Teachercom cTeachercom c
Teachercom c
 
Sure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยา
Sure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยาSure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยา
Sure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยา
 
Sure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยา
Sure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยาSure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยา
Sure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยา
 
2552 high school performance standards.9
2552 high school performance standards.92552 high school performance standards.9
2552 high school performance standards.9
 
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
 
Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011
 
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
 
ก.ค.ศ.1
ก.ค.ศ.1ก.ค.ศ.1
ก.ค.ศ.1
 
บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1
 
รายงานประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2557
รายงานประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2557รายงานประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2557
รายงานประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2557
 

More from SucheraSupapimonwan

Quizzes measure your ability to solve problems creatively
Quizzes measure your ability to solve problems creativelyQuizzes measure your ability to solve problems creatively
Quizzes measure your ability to solve problems creativelySucheraSupapimonwan
 
Creative problem solving behavior criteria and assessment form
Creative problem solving behavior criteria and assessment formCreative problem solving behavior criteria and assessment form
Creative problem solving behavior criteria and assessment formSucheraSupapimonwan
 
Guidebook instructional model base on constructivism for developing creative ...
Guidebook instructional model base on constructivism for developing creative ...Guidebook instructional model base on constructivism for developing creative ...
Guidebook instructional model base on constructivism for developing creative ...SucheraSupapimonwan
 

More from SucheraSupapimonwan (13)

Learning management plan 1
Learning management plan 1Learning management plan 1
Learning management plan 1
 
Learning management plan 9
Learning management plan 9Learning management plan 9
Learning management plan 9
 
Learning management plan 8
Learning management plan 8Learning management plan 8
Learning management plan 8
 
Learning management plan 7
Learning management plan 7Learning management plan 7
Learning management plan 7
 
Learning management plan 6
Learning management plan 6Learning management plan 6
Learning management plan 6
 
Learning management plan 5
Learning management plan 5Learning management plan 5
Learning management plan 5
 
Learning management plan 4
Learning management plan 4Learning management plan 4
Learning management plan 4
 
Learning management plan 3
Learning management plan 3Learning management plan 3
Learning management plan 3
 
Learning management plan 2
Learning management plan 2Learning management plan 2
Learning management plan 2
 
Quizzes measure your ability to solve problems creatively
Quizzes measure your ability to solve problems creativelyQuizzes measure your ability to solve problems creatively
Quizzes measure your ability to solve problems creatively
 
Mathematics achievement test
Mathematics achievement testMathematics achievement test
Mathematics achievement test
 
Creative problem solving behavior criteria and assessment form
Creative problem solving behavior criteria and assessment formCreative problem solving behavior criteria and assessment form
Creative problem solving behavior criteria and assessment form
 
Guidebook instructional model base on constructivism for developing creative ...
Guidebook instructional model base on constructivism for developing creative ...Guidebook instructional model base on constructivism for developing creative ...
Guidebook instructional model base on constructivism for developing creative ...
 

Book 1-report obec year 63 -teacher suchera

  • 1. โรงเรียนระยองวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ รายงาน รุปผลการปฏิบัติงาน เพื่อรับราง ัลทรงคุณค่า พฐ. (OBEC AWARDS) ประจาปีการ ึก า 2563 ------------------------------------- รายการ ครูผู้ อนยอดเยี่ยม ระดับมัธยม ึก าตอนต้น กลุ่ม าระการเรียนรู้คณิต า ตร์ ด้านน ัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการ อน นาง า ุชีรา ุภพิมล รรณ ตาแ น่ง ครู โรงเรียนระยอง ิทยาคม านักงานเขตพื้นที่การ ึก ามัธยม ึก าชลบุรี ระยอง 0 0 3 2 4 5
  • 2. ก คำนำ แบบรายงานผลการปฏิบัติงานฉบับนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นเอกสารประกอบสาหรับใช้ในการประเมิน ตัวชี้วัดเฉพาะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนยอดเยี่ยมเพื่อขอรับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนยอดเยี่ยม กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ของนางสาวสุชีรา ศุภพิมลวรรณ ตาแหน่ง ครูวิทยฐานะ ครูชานาญ การ โรงเรียนระยองวิทยาคม จังหวัดระยอง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง ผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่ผู้ที่สนใจศึกษาในการการประเมินเพื่อขอรับ รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนยอดเยี่ยม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หากแบบรายงานฉบับนี้มีข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทายินดีน้อมรับคาแนะนาในการปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้เอกสารมีความถูกต้องสมบูรณ์ยิ่งขึ้น นางสาวสุชีรา ศุภพิมลวรรณ ผู้เสนอขอรับรางวัล
  • 3. ข สำรบัญ เรื่อง หน้า คานา ก ตัวชี้วัดเฉพำะด้ำนนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อกำรเรียนกำรสอนยอดเยี่ยม องค์ประกอบที่ 1 คุณภำพ 1 ตัวชี้วัด 1 คุณลักษณะของนวัตกรรม 1 ตัวชี้วัด 2 คุณภาพขององค์ประกอบในนวัตกรรม 4 ตัวชี้วัด 3 การออกแบบนวัตกรรม 6 ตัวชี้วัด 4 ประสิทธิภาพของนวัตกรรม 8 องค์ประกอบที่ 2 คุณประโยชน์ 9 ตัวชี้วัด 1 ความสามารถในการแก้ปัญหาหรือพัฒนา 9 ตัวชี้วัด 2 ประโยชน์ต่อบุคคล 11 ตัวชี้วัด 3 ประโยชน์ต่อหน่วยงาน 14 องค์ประกอบที่ 3 ควำมคิดริเริ่มสร้ำงสรรค์ 17 ตัวชี้วัด 1 ความแปลกใหม่ของนวัตกรรม 17 ตัวชี้วัด 2 จุดเด่นของนวัตกรรม 18 กำรประเมินตัวชี้วัดร่วม 18 องค์ประกอบที่ 1 ผลที่เกิดกับผู้เรียน 18 ตัวชี้วัดที่ 1 ผลที่เกิดกับผู้เรียน 18 1.1 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 18 1.2 ผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน/ผลการปฏิบัติงาน 24 1.3 การเผยแพร่ผลงานนักเรียน 26 1.4 การได้รับรางวัล/ยกย่องเชิดชู 29 องค์ประกอบที่ 2 ผลจำกกำรพัฒนำตนเอง 32 ตัวชี้วัดที่ 1 เป็นแบบอย่างและเป็นที่ยอมรับจากบุคคลอื่นๆ 32 ตัวชี้วัดที่ 2 พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 34 องค์ประกอบที่ 3 กำรดำเนินงำน/ผลงำนที่เป็นเลิศ 37 ตัวชี้วัดที่ 1 การนาองค์ความรู้จากการได้รับการพัฒนาหรือการพัฒนาตนเองไปใช้ประโยชน์ 37 ตัวชี้วัดที่ 2 การแก้ปัญหา/การพัฒนาผู้เรียน 38
  • 4. ค สำรบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้า การรับรองเล่มรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานของผู้บังคับบัญชา ภำคผนวก 40 รายการที่ 1 ประวัติ ก.พ7 41 รายการที่ 2 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน 44 รายการที่ 3 ครูสอนนักเรียนแข่งขัน 45 รายการที่ 4 รางวัลของนักเรียน 46 รายการที่ 5 อมรมสัมนา เป็นวิทยากร เป็นคณะกรรมการตัดสินการแข่งขัน 49
  • 5. 1 รำยงำนสรุปผลกำรปฏิบัติงำนเพื่อรับรำงวัลทรงคุณค่ำ สพฐ. (OBEC AWARDS) ประจำปีกำรศึกษำ 2563 รำยกำร ครูผู้สอนยอดเยี่ยม ด้ำนนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อกำรเรียนกำรสอน ชื่อรำงวัลที่เสนอขอ ครูผู้สอนยอดเยี่ยม ชื่อ นางสาวสุชีรา นามสกุล ศุภพิมลวรรณ ตำแหน่ง ครู ประเภท บุคคลยอดเยี่ยม สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง ด้ำน ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนยอดเยี่ยม ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ตัวชี้วัดเฉพำะ ด้ำนนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อกำรเรียนกำรสอนยอดเยี่ยม กำรประเมินด้ำนนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อกำรเรียนกำรสอนยอดเยี่ยม 1. ตัวชี้วัดเฉพำะด้ำนนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อกำรเรียนกำรสอนยอดเยี่ยม องค์ประกอบที่ 1 คุณภำพ ตัวชี้วัด 1 คุณลักษณะของนวัตกรรม 1. มีรูปแบบนวัตกรรมถูกต้อง ครบถ้วนตำมประเภทของนวัตกรรมที่ระบุ รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถใน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีความถูกต้อง ครบถ้วนโดยข้าพเจ้าได้ พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้หลักการของ ADDIE model และทิศนา แขมมณี ซึ่งรูปแบบ การจัดการเรียนรู้ที่สร้างอยู่บนพื้นฐานของทฤษฎีการสร้างความรู้และแนวคิดหรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับ ความสามารถในการแก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์ ดังต่อไปนี้ 1. ทฤษฎีการสร้างความรู้ (Constructivism) 2. ทฤษฎีที่สาคัญในการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา ได้แก่ 2.1 ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ 2.2 ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของวิก๊อทสกี้ 3. แนวคิดและทฤษฎีที่สาคัญในการพัฒนาความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ ได้แก่ ✓ ทำได้ 3 รำยกำร
  • 6. 2 3.1 แนวคิดของฟรอยด์ 3.2 แนวคิดของเทเลอร์และฮอลแลนด์ 3.3 แนวคิดของทอแรนซ์ 3.4 ทฤษฎีโครงสร้างสมรรถภาพทางสมอง ของกิลฟอร์ดและฮอฟเนอร์ องค์ประกอบของรูปแบบกำรจัดกำรเรียนรู้ รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการ แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีองค์ประกอบต่าง ๆ ซึ่งได้ผ่านการสังเคราะห์ จากเอกสารที่เกี่ยวข้อง โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. หลักการ 2. จุดมุ่งหมาย 3. ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ 4. การวัดและประเมินผล โดยมีรายละเอียดเพิ่ ิมเติมในรายงานการวิจัย 2. นวัตกรรมมีควำมสอดคล้องกับควำมรู้ควำมสำมำรถและกำรปฏิบัติหน้ำที่ในด้ำนที่ขอรับ กำรประเมินคัดเลือก ข้าพเจ้าบรรจุเข้ารับราชการครูปี 2554 จากนั้นศึกษาต่อระดับปริญญาโทศึกษาศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอนคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชและศึกษาต่อระดับ ปริญญาเอกการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยบูรพา ผู้สอนจึงได้ ประมวลความรู้ทั้งจากการศึกษาด้านหลักสูตรและการสอนมาออกแบบ จัดทานวัตกรรมชุดนี้ โดยเลือก การสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการสร้างความรู้ให้สอดคล้องกับความต้องการพัฒนานักเรียนใน ยุคศตวรรณที่ 21 ให้นักเรียนได้สร้างความรู้ด้วยตนเอง และรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นนี้เน้นการ พัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ที่เป็นสิ่งจาเป็นมากในการเรียน การทางานใน อนาคตที่จะต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์ ความแปลกใหม่ในการแข่งขัน อ้างอิงจากภาคผนวก รายการที่ 1 ประวัติ ก.พ7 หน้า 41
  • 7. 3 3. รูปแบบกำรจัดพิมพ์ จัดรูปเล่มนวัตกรรม กำรนำเสนอน่ำสนใจ มีกำรจัดเรียงลำดับ อย่ำงเป็นขั้นตอน นวัตกรรมชุดนี้ ประกอบด้วย คู่มือการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิด การสร้างความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 และแผนการจัดการเรียนรู้ โดยมีการอธิบายคู่มือการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้อย่างละเอียด ทาให้ผู้สนใจนาไปใช้ได้ง่าย การจัดทารูปเล่มคู่มือการใช้งานน่าสนใจ การนาเสนอจัดเรียงลาดับอย่างเป็น ขั้นตอน สวยงาม อ้างอิงจากคู่มือการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ และรายงานการพัฒนารูปแบบ การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนระยอง วิทยาคม 1. ใบรายงานผลศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน 2.หนังสือรับรองวุฒิปริญญาเอกสาขาวิชา หลักสูตรและการสอน 3.ผลการเรียนปริญญาเอกสาขาวิชา หลักสูตรและการสอน qr-code ผลกำรเรียนปริญญำโทและเอก 4. สอบดุษฎีนิพนธ์มหาวิทยาลัยบูรพา
  • 8. 4 ตัวชี้วัด 2 คุณภำพขององค์ประกอบในนวัตกรรม 1. วัตถุประสงค์ เป้ำหมำยของนวัตกรรม สอดคล้องกับสภำพปัญหำควำมต้องกำรพัฒนำ ผู้สอนกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมายของนวัตกรรม โดยวิเคราะห์จากสภาพปัญหาความ ต้องการจาเป็นเร่งด่วนในการจัดการเรียนรู้ ซึ่งจากประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ การค้นคว้าเอกสาร ทางวิชาการและผลการทดสอบวิชาการระดับชาติ พบว่า ปัญหาที่ควรได้รับการปรับปรุงแก้ไขเร่งด่วนคือ เรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ต่ากว่ามาตรฐาน การคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบเกี่ยวกับการแก้ โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ทักษะการทางานกล่ ิมหรือการอยู่ร่วมกันในสังคมของผู้เรียน ซึ่งมีปัจจัยก่อให้เกิด ปัญหาดังกล่าวหลายประการ ทั้งในส่วนของครูผู้สอนและผู้เรียน การปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ให้มี ประสิทธิภาพ ถือเป็นหน้าที่ครูโดยตรง ครูผู้สอนต้องคานึงถึงระดับความสามารถและความแตกต่าง ระหว่างบุคคล การจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สอดคล้องกับ สภาพปัญหาความต้องการพัฒนา ซึ่งวัตถุประสงค์ของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นเพื่อช่วย แก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้กับนักเรียน อ้างอิงจากคู่มือการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ 2. ควำมสมบูรณ์ในเนื้อหำสำระของของนวัตกรรม ข้าพเจ้าได้จัดทารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้เพื่อพัฒนา ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้แนวคิดและทฤษฎี ที่ส่งผลต่อการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ โดยเลือกเนื้อหาเรื่อง การประยุกต์ ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว มาทดลองใช้ในรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นนี้ เนื่องจากเป็นเนื้อหา ที่มีโจทย์ปัญหาหลายแบบและนักเรียนสามารถใช้ความคิดสร้างสรรค์มาออกแบบการแก้ปัญหาได้ เนื้อหา สาระของนวัตกรรมมีความสมบูรณ์ โดยมีขั้นตอนการดาเนินการ ดังนี้ คู่มือการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ รายงานพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ qr-code รูปแบบกำรจัดกำรเรียนรู้ ✓ ทำได้ 3 รำยกำร
  • 9. 5 ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาข้อมูลเบื้องต้น โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. การศึกษาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2. การศึกษาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสภาพและปัญหาการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 3. การศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสร้างความรู้ (Constructivism) 4. การศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 5. การศึกษาแนวทางในการจัดการเรียนรู้การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ 1. การสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ 2. การประเมินและตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ก่อนนาไปใช้ 3. การปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนรู้ก่อนนาไปทดลองใช้จริง 4. การสร้างเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตาม แนวคิดการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ 1. การศึกษานาร่อง (Pilot study) 2. นาไปทดลองใช้จริง ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผลและปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิด การสร้างความรู้ 1. ประเมินผลและปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนรู้ 2. จัดทาและเผยแพร่รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่สมบูรณ์ อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รูปแบบ การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้รูปแบบ การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา อย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 3. ควำมถูกต้องตำมหลักวิชำกำร ผู้สอนสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ อย่างมีลาดับ ขั้นตอน ถูกต้องตามหลักการออกแบบรูปแบบการจัดการเรียนรู้ มีการศึกษาข้อมูลพื้นฐาน การประเมิน ตรวจสอบรูปแบบ ปรับปรุง การนาไปทดลองใช้ มีการหาคุณภาพเครื่องมือ โดยใช้สถิติหาคุณภาพ เครื่องมือ ได้แก่ แบบประเมินประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ ตามวิธีของลิเคิร์ท การวิเคราะห์หาค่า ดัชนีความสอดคล้อง (Index of consistency: IOC) การค่าความยากและค่าอานาจจาแนกของข้อสอบ
  • 10. 6 การหาค่าความเชื่อมั่นภายในของแบบทดสอบ โดยมีขั้นตอนการสร้างนวัตกรรม รูปแบบการจัดการเรียนรู้ ดังนี้ อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 คู่มือการใช้ รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้ รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา อย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตัวชี้วัด 3 กำรออกแบบนวัตกรรม 1. มีแนวคิดทฤษฎีรองรับ อย่ำงสมเหตุสมผลสำมำรถอ้ำงอิงได้ ผู้สอนสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ เพื่อพัฒนา ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยมีแนวคิดทฤษฎี รองรับ อย่างสมเหตุสมผลสามารถอ้างอิงได้ ดังแผนภาพต่อไปนี้ ✓ ทำได้ 3 รำยกำร
  • 11. 7 อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 คู่มือการใช้ รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ 2. แนวคิดทฤษฎีที่มีควำมเป็นไปได้ในกำรพัฒนำนวัตกรรมให้สัมฤทธิ์ผล แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สามารถ นาไปใช้ในการสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ที่ส่งผลต่อความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ได้ ซึ่งอ้างอิงได้จากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้าง ความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในบทที่ 2 และผลที่เกิดขึ้นจากการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ ในบทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
  • 12. 8 3. นวัตกรรมมีควำมสอดคล้องตำมแนวคิดทฤษฎีที่ระบุ นวัตกรรมมีความสอดคล้องตามแนวคิดทฤษฎีที่ระบุ โดยสังเกตได้จากการอภิปรายผลการใช้ รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา อย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 อ้างอิงได้จากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้าง ความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในบทที่ 5 การอภิปรายผล ตัวชี้วัด 4 ประสิทธิภำพของนวัตกรรม 1. กระบวนกำรหำประสิทธิภำพของนวัตกรรมถูกต้องตำมหลักวิชำ มีการทดสอบหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม เรื่องการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ตามแนวคิดการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนระยองวิทยาคมได้ถูกต้องตามหลักวิชา ดังนี้ การพัฒนารูปแบบการสอน โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานเพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผลและปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิด การสร้างความรู้ 2. นวัตกรรมมีประสิทธิภำพตำมเกณฑ์ที่กำหนด รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามแนวคิดการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถ ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนระยองวิทยาคม มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ที่กาหนด โดยมีองค์ประกอบ 4 องค์ประกอบคือ หลักการ จุดมุ่งหมาย ขั้นตอนการจัดการ เรียนรู้ การวัดและประเมินผล โดยผู้วิจัยนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นซึ่งประกอบไปด้วยขั้นตอน การจัดการเรียนรู้ 4 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 การเตรียมความพร้อม ขั้นที่ 2 การสร้างองค์ความรู้จาก สถานการณ์ปัญหา ขั้นที่ 3 ตรวจสอบความคิดใหม่ และขั้นที่ 4 ประเมินผลการเรียนรู้ จากนั้นนาไป ตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้กับผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 ท่าน พบว่า รูปแบบการจัดการเรียนรู้ ที่สร้างขึ้นมีคุณภาพอยู่ในระดับความเหมาะสมมาก โดยมีค่าเฉลี่ย 4.53 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 0.63 ✓ ทำได้ 3 รำยกำร
  • 13. 9 อ้างอิงได้จากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้าง ความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในบทที่ 5 สรุปผลการทดลอง 3. วิธีกำรหำประสิทธิภำพของนวัตกรรมครอบคลุมในด้ำนเนื้อหำ (Content validity) และโครงสร้ำง (Construct validity) ในการตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้ และเอกสารรูปแบบการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น นั้น ได้ดาเนินการ กาหนดจุดประสงค์การประเมิน โดยพิจารณาในองค์ประกอบของรูปแบบการเรียนรู้ทุก องค์ประกอบ รวมทั้งเอกสารประกอบรูปแบบการเรียนรู้ ศึกษาวิธีการสร้างแบบประเมิน และกาหนด รูปแบบของแบบประเมิน พัฒนาแบบประเมินรูปแบบการเรียนรู้ และแบบประเมินเอกสารประกอบ รูปแบบการเรียนรู้ โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า 4 ระดับ และ ส่วนที่ 2 เป็นแบบปลายเปิดสาหรับผู้ประเมินให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม สาหรับประเด็นในการประเมิน ได้กาหนดให้ครอบคลุมองค์ประกอบต่างๆ ได้แก่ ความเป็นมาของรูปแบบ แนวคิดพื้นฐานที่ใช้ใน การพัฒนารูปแบบ การกาหนดองค์ประกอบของรูปแบบการสอน และมีการทดลองใช้นาร่องรูปแบบ การเรียนรู้เพื่อพิจารณาความเป็นไปได้ เป็นขั้นที่ปรับปรุงแก้ไขรูปแบบการเรียนรู้ คู่มือการใช้รูปแบบการ จัดการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้แล้ว โดยนาแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นไปทดลองนาร่องใช้ กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างจริง เพื่อตรวจสอบรูปแบบการจัดการเรียนรู้และ เอกสารประกอบรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นสามารถนาไปใช้ได้มากน้อยเพียงใด องค์ประกอบที่ 2 คุณประโยชน์ ตัวชี้วัด 1 ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำหรือพัฒนำ 1.1 สอดคล้องตำมวัตถุประสงค์และเป้ำหมำยที่ระบุได้ครบถ้วน รายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ เพื่อพัฒนา ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ 2. เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ในด้าน ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ผลการพัฒนา พบว่า 1. ได้รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ ที่มีองค์ประกอบ 4 องค์ประกอบคือ หลักการ จุดมุ่งหมาย ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล โดยผู้วิจัยนา รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นซึ่งประกอบไปด้วยขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ 4 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 การเตรียมความพร้อม ขั้นที่ 2 การสร้างองค์ความรู้จากสถานการณ์ปัญหา ขั้นที่ 3 ตรวจสอบความคิด ✓ ทำได้ 3 รำยกำร
  • 14. 10 ใหม่ และขั้นที่ 4 ประเมินผลการเรียนรู้ จากนั้นนาไปตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้กับ ผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 ท่าน พบว่า รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นมีคุณภาพอยู่ในระดับความเหมาะสม มาก โดยมีค่าเฉลี่ย 4.53 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.63 2. ผลของการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 มีดังนี้ 2.1 นักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เรื่องการประยุกต์ของสมการ เชิงเส้นตัวแปรเดียวหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.2 นักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิง เส้นตัวแปรเดียวหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.3 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัว แปรเดียวหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.4 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัว แปรเดียวหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ดังนั้น นวัตกรรมนี้สามารถแก้ปัญหาหรือพัฒนาสอดคล้องตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ระบุได้ ครบถ้วน อ้างอิงในบทคัดย่อ รายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้าง ความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รูปแบบ การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ 1.2 แก้ปัญหำหรือพัฒนำได้ตรงตำมกลุ่มเป้ำหมำย นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้าง ความรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนระยองวิทยาคม สามารถแก้ปัญหาหรือพัฒนา ได้ตรงตามกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ นักเรียนที่เรียนเนื้อหาในรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มพูน ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2/1 และ 2/2 ซึ่งเรียนในรายวิชาเพิ่มพูน ค20214 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 ภายหลังการวิจัย พบว่า นักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และสูงกว่า เกณฑ์ร้อยละ 80 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และ สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รูปแบบ การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้รูปแบบ การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา อย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
  • 15. 11 1.3 นำไปประยุกต์ใช้ในสภำพบริบทที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน ผู้สอนนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ไปประยุกต์ใช้กับ ผู้เรียนในบริบทใกล้เคียงกัน ดังนี้ 1. ใช้สอนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้อง 2/1-2/2 ในรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม 2. ใช้สอนโครงงานคณิตศาสตร์ 3. ประยุกต์ใช้สอนนักเรียนชั้นม.5 ในรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานในเรื่องความน่าจะเป็น อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รูปแบบ การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้รูปแบบ การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา อย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตัวชี้วัด 2 ประโยชน์ต่อบุคคล 2.1 ผลงำนส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียน รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ที่ผู้สอนได้พัฒนาขึ้นนี้ ช่วย นักเรียนได้ฝึกสร้างความรู้ด้วยตนเองผ่านการจัดกิจกรรม นักเรียนได้พัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา อย่างสร้างสรรค์จากสถานการณ์ปัญหา นักเรียนได้ฝึกกระบวนการทางานเป็นกล่ ิม ได้ฝึกสื่อสารและสื่อ ความหมายทางคณิตศาสตร์ ฝึกการอภิปราย ฝึกการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณิตศาสตร์สูงขึ้นและผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2.2 ผลงำนส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อเพื่อนครู ผลงานนี้สามารถเป็นแนวทางให้ครูท่านอื่นในสาขาเดียวกันนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน หรือครูที่สนใจต้องการผลิตสื่อการจัดการเรียนรู้ โดยข้าพเจ้าได้นาเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการ เครือข่ายครู สควค. ภาคกลาง ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 19-21 มีนาคม 2564 ณ โรงแรมศรีอู่ทอง จังหวัด สุพรรณบุรี เรื่องการพัฒนารูปแบบการจัด การเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ เพื่อพัฒนา ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งได้รับรางวัลเป็นผู้ นาเสนอผลงานวิชาการการระดับยอดเยี่ยม อ้างอิงจากเว็บไซต์ https://sites.google.com/rayongwit.ac.th/suchera-ryw http://www.trueplookpanya.com Google drive งานวิจัยในชั้นเรียนของโรงเรียนระยองวิทยาคม และวารสารบัณฑิตวิทยาลัย พิชญทรรศน์ ✓ ทำได้ 3 รำยกำร
  • 16. 12 qr-code เวปไซต์เผยแพร่งำนวิจัย ในชั้นเรียน ครูสุชีรำ qr-code เวปไซต์เผยแพร่งำนวิจัยใน ชั้นเรียน ผ่ำนเวปไซต์ทรู ปลูกปัญญำ เผยแพร่งานวิจัยในชั้นเรียนผ่านทางทางเวปไซต์ในชั้นเรียน ครูสุชีรา เผยแพร่งานวิจัยในชั้นเรียนผ่านทางทางเวปไซต์ทรู ปลูกปัญญา เผยแพร่งานวิจัยในชั้นเรียนผ่านทางทาง Google drive งานวิจัยในชั้นเรียนของโรงเรียนระยองวิทยาคม
  • 17. 13 นาเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการ เครือข่ายครู สควค. ภาคกลาง qr-code ตัวชี้วัด 5 งำนวิจัยในชั้นเรียนที่เผยแพร่แล้ว เผยแพร่งานวิจัยในวารสารบัณฑิตวิทยาลัย พิชญทรรศน์ เล่มการประชุมวิชาการ เครือข่ายครู สควค. ภาคกลาง qr-code เล่มกำรประชุมวิชำกำร
  • 18. 14 2.3 ผลงำนส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อผู้บริหำรสถำนศึกษำ ทาให้ผู้บริหารประสบความสาเร็จในการพัฒนาบุคลากรครูในการจัดทา/พัฒนาสื่อการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน และสามารถนาแนวคิดไปใช้ในการส่งเสริมให้ครูใน โรงเรียนพัฒนาแนวทางในการจัดการเรียนรู้ของแต่ละรายวิชาที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่าง สร้างสรรค์ และเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตัวชี้วัด 3 ประโยชน์ต่อหน่วยงำน 3.1 ผลงำนส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อสถำนศึกษำ 1. ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของสถานศึกษาสูงขึ้น 2. ทาให้สถานศึกษามีผู้เรียนที่มีคุณภาพ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ ส่งผลให้ชุมชนเกิดความยอมรับในสถานศึกษา 3. เป็นส่วนหนึ่งที่สนับสนุนให้โรงเรียนประสบความสาเร็จในการบริหารและจัดการสถานศึกษา เช่น การชนะเลิศการแข่งขันคณิตศาสตร์รายการต่างๆ ระดับโรงเรียน ระดับเขต/ภาค ระดับประเทศและ ระดับนานาชาติ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ผู้สอนได้สอนโดยใช้นวัตกรรมนี้ อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 3.2 ผลงำนส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อวงกำรวิชำชีพ 1. สามารถนารายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้าง ความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 นี้ไปเผยแพร่เพื่อเป็นแนวทางให้กับครูท่านอื่นที่สนใจจะผลิตสื่อการเรียนการสอน ทาให้วงการวิชาชีพครู มีนวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์และผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียน 2. ทาให้วงการวิชาชีพครูมีรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบใหม่ที่ผู้สอนได้จัดทาขึ้น มีเครื่องมือและ แบบวัดที่มีประสิทธิภาพในการวัดผลทางการเรียนรู้ 3. ทาให้ครูได้รับการยอมรับในวงวิชาชีพด้านการสอนนักเรียน ข้าพเจ้าได้นารูปแบบการจัดการ เรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นนี้ไปใช้สอนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้อง 2/1 และ 2/2 ซึ่งเป็นห้องเรียน Gifted เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกการสร้างความรู้ด้วยตนเอง ได้พัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ✓ ทำได้ 3 รำยกำร
  • 19. 15 สามารถนาไปต่อยอดในการทาข้อสอบแข่งขัน การทาโครงงาน จนนักเรียนได้รับรางวัลระดับโรงเรียน ระดับเขต ระดับภาค ระดับประเทศและระดับนานาชาติ อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนระยอง วิทยาคม การเผยแพร่ผลงานตามโรงเรียนต่างๆ และเว็บไซด์ (เผยแพร่ผลงานทางเว็บไซต์ www.kroobannok.com, https://sites.google.com/rayongwit.ac.th/suchera-ryw, http://www.trueplookpanya.com/ ) และรางวัลนักเรียน ภาคผนวกรายการที่ 4 รางวัลของนักเรียน หน้า 46 – 48 1. เป็นครูผู้สอนโครงงานนักเรียนประเภทสร้างทฤษฎีหรือ คาอธิบายทางคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ม.1-ม.3ได้รับเหรียญทอง ชนะเลิศระดับสหวิทยาเขต ปี 2562 2. เป็นครูผู้สอนโครงงานนักเรียนประเภทบูรณาการความรู้ใน คณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ระดับชั้น ม.1-ม.3ได้รับเหรียญทอง ชนะเลิศระดับสหวิทยาเขต ปี 2562 3. เป็นครูผู้สอนโครงงานนักเรียนประเภทสร้างทฤษฎีหรือ คาอธิบายทางคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ม.1-ม.3ได้รับเหรียญ ทองแดง ระดับชาติ ปี 2562 4. เป็นครูผู้สอนโครงงานนักเรียนประเภทบูรณาการความรู้ใน คณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ระดับชั้น ม.1-ม.3ได้รับเหรียญ ทองแดง ระดับชาติ ปี 2562
  • 20. 16 7. เป็นครูผู้สอนนักเรียนแข่งโครงงานชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า ปี 2563 ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 1 5. การประกวดโครงงานระดับสหวิทยาเขตปี 2562 8. เป็นผู้ส่งเสริมและสนับสนุนให้ นักเรียนมีพัฒนาการทางวิชาการ ASMO 2020 qr-code ตัวชี้วัด 6 รำยกำร 1 ได้รับรำงวัลยกย่องเชิดชูเกียรติ 6. การประกวดโครงงานระดับชาติ ปี 2562 9. การแข่งขันคณิตศาสตร์ ปี2563 ASMO THAI 10. การแข่งขันคณิตศาสตร์ ปี2562 ASMO
  • 21. 17 3.3 ผลงำนส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน ผู้เรียนสามารถนาหลักการ แนวคิด และกระบวนการเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างความรู้ไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันเพื่อพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นของตนเอง ส่งผลให้ชุมชนมีความเป็นอยู่ดี สังคม มีความสุข องค์ประกอบที่ 3 ควำมคิดริเริ่มสร้ำงสรรค์ ตัวชี้วัด 1 ควำมแปลกใหม่ของนวัตกรรม 1.1 เกิดจำกแนวคิดแปลกใหม่ ไม่เคยมีปรำกฏมำก่อน นวัตกรรมนี้เป็นการจัดการเรียนรู้โดยใช้รายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามแนวคิดการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนระยองวิทยาคม ผู้จัดทาเป็นผู้ออกแบบและนามาใช้ในการเรียนการสอน คณิตศาสตร์ โดยการวิเคราะห์และสังเคราะห์รูปแบบการจัดการเรียนรู้จากแนวคิดและทฤษฎีต่างๆ ซึ่งเป็น รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่มีแนวคิดที่แปลกใหม่ อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 1.2 เป็นกำรพัฒนำต่อยอดจำกแนวคิดเดิม นวัตกรรมนี้เป็นสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้บนพื้นฐานแนวคิดและทฤษฎีที่มีอยู่แล้ว นามา ต่อยอดในการสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้นักเรียนลงมือปฏิบัติ เน้นการสร้างความรู้ด้วยตนเอง การแก้ปัญหา ความคิดสร้างสรรค์ เพื่อให้นักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ซึ่งสอดคล้องกับศตวรรษที่ 21 1.3 มีกำรปรับปรุงจำกแนวคิดเดิมและนำมำพัฒนำใหม่ นวัตกรรมนี้เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่มีการปรับปรุงกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้ แนวคิด/ทฤษฎีเดิมมาพัฒนาให้สอดคล้องกับยุคสมัยปัจจุบัน ได้แก่ ด้านเทคโนโลยีที่ใช้ในการจัด การเรียนรู้ ครูผู้สอน เช่น การนาเสนอโดยใช้พาวเวอร์พอยท์ การใช้โทรศัพท์มือถือ ไอแพดหรือ คอมพิวเตอร์ในการค้นคว้าหาข้อมูล ✓ ทำได้ 3 รำยกำร
  • 22. 18 ตัวชี้วัด 2 จุดเด่นของนวัตกรรม 2.1 ผลงำนมีจุดเด่น น่ำสนใจ สะท้อนถึงกำรมีแนวคิดใหม่ นวัตกรรมรูปแบบการจัดการเรียนรู้นี้ไม่เน้นคาตอบของปัญหา แต่เน้นกระบวนการแก้ปัญหา โดยส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้แนวคิดในการแก้ปัญหาอย่างหลากหลาย ได้แก่ การใช้แผนภาพ การสร้าง ตาราง พีชคณิต การวาดภาพ การเขียนกราฟ การสร้างสถานการณ์สมมติ เป็นต้น เพื่อให้นักเรียนได้นา แนวทางในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ไปใช้ในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ส่งผลให้นักเรียนเห็นคุณค่าใน การเรียนวิชาคณิตศาสตร์ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2.2 ใช้ง่ำย สะดวก นวัตกรรมชุดนี้สามารถใช้งานได้ง่ายและสะดวก เนื่องจากมีคู่มือการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ อย่างละเอียดและชัดเจน มีแผนประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ นอกจากนี้ยังสามารถดาวน์โหลด นวัตกรรมได้จากเว็บไซต์ซึ่งสามารถเข้าใช้ได้ในทันที อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2.3 ลงทุนน้อย ลงทุนน้อย เนื่องจากผู้ใช้นวัตกรรมรูปแบบการสอนสามารถดาวน์โหลดได้ฟรีจากเวปไซต์ หรือ สแกนบาร์โค้ดเพื่อเข้าสู่เวปไซต์ และสามารถให้ผู้เรียนทากิจกรรมผ่านเว็บไซต์หรือทากิจกรรมกล่ ิม ทาให้ ประหยัดการใช้ทรัพยากร อ้างอิงจากรายงานการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการสร้างความรู้ เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2. กำรประเมินตัวชี้วัดร่วมสำหรับครูผู้สอนทุกชั้น ให้ใช้ตัวชี้วัดร่วมด้านวิชาการ ดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 ผลที่เกิดกับผู้เรียน ตัวชี้วัดที่ 1 ผลที่เกิดกับผู้เรียน ตัวชี้วัดที่ 1.1 ด้ำนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. นักเรียนผ่ำนกำรประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ครบทั้ง 8 ข้อคิดเป็นร้อยละ 100 นักเรียนผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ครบทั้ง 8 ข้อ คือ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ✓ ทำได้ 3 รำยกำร ✓ ทำได้ 4 รำยกำร
  • 23. 19 2) ซื่อสัตย์สุจริต 3) มีวินัย 4) ใฝ่เรียนรู้ 5) อยู่อย่างพอเพียง 6) มุ่งมั่นในการทางาน 7) รักความเป็นไทย 8) มีจิตสาธารณะ อ้างอิงจากเล่มรายงานสรุปผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ดังในภาคผนวก รายการที่ 2 คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ของผู้เรียน หน้า 44 2. นักเรียนประพฤติตนตำมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่เป็นจุดเน้นของสถำนศึกษำได้ครบ ทุกข้อคิดเป็นร้อยละ 100 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่เป็นจุดเน้นของโรงเรียนระยองวิทยาคม คือ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2) ซื่อสัตย์สุจริต 3) มีวินัย 4) ใฝ่เรียนรู้ 5) อยู่อย่างพอเพียง 6) มุ่งมั่นในการทางาน 7) รักความเป็นไทย 8) มีจิตสาธารณะ อ้างอิงจากเล่มรายงานสรุปผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ดังในภาคผนวก รายการที่ 2 คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ของผู้เรียน หน้า 44 3. นักเรียนได้รับรำงวัล/กำรยกย่องเชิดชูเกียรติ/ประกำศชมเชยจำกหน่วยงำน/องค์กร ระดับเขต/จังหวัด 3.1 ข้าพเจ้าได้เป็นครูผู้สอนนักเรียนประกวดโครงานคณิตศาสตร์ตั้งแต่ปีการศึกษา 2555 จนถึงปี 2563 โดยในปีการศึกษา 2561 – 2563 นักเรียนได้รางวัลจากการประกวดโครงานในระดับเขต อ้างอิง จากประกาศนียบัตร เกียรติบัตร และวุฒิบัตรของนักเรียน ดังในภาคผนวก รายการที่ 4 รางวัลของ นักเรียน หน้า 47-48 ได้แก่
  • 24. 20 -นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง ชนะเลิศ กิจกรรมการแข่งขันโครงงานคณิตศาสตร์ประเภทสร้าง ทฤษฎีหรือคาอธิบายทางคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ม.1 – ม.3 งานศิลปหัตกรรมนักเรียนระดับเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา ครั้งที่ 68 ประจาปี 2561 -นักเรียนได้รับรางวัลระดับเขต เหรียญทอง การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทประเภท บูรณาการความรู้ในคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ม.1-ม.3 งานศิลปหัตกรรมนักเรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา ครั้งที่ 68 ประจาปี 2561 - นักเรียนได้รับรางวัลระดับเขต ชนะเลิศ (เหรียญทอง) การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทสร้างทฤษฎีหรือคาอธิบายทางคณิตศาสตร์ ม.1-ม.3 (ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 69) ประจาปี 2562 สังกัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) -นักเรียนได้รับรางวัลระดับเขต ชนะเลิศ (เหรียญทอง) การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทประเภทบูรณาการความรู้ในคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ม.1-ม.3 (ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 69) ประจาปี 2562 สังกัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) 3.2 ข้าพเจ้าได้เป็นผู้ฝึกซ้อมนักเรียนโครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางคณิตศาสตร์ ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 ในปีการศึกษา 2560 – 2562 โดยติวนักเรียนในเวลา 7:30 – 8:20 เพื่อส่งเสริมและ พัฒนาศักยภาพทางด้านคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกเข้าโครงการ ซึ่งนักเรียนก็ได้รับ เกียรติบัตรจากการแข่งขันในรายการต่างๆ อ้างอิงจากรายงานแผนปฏิบัติการโรงเรียนระยองวิทยาคม เรื่อง ส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ หน้า 196 – 200 เกียรติบัตรนักเรียน ภาคผนวกหน้า 52 – 53 ได้แก่ -นักเรียนได้รับรางวัลระดับจังหวัด โครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางคณิตศาสตร์ (TEDET) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกับธนาคารออมสิน วันที่ 9 ธันวาคม 2562 -เด็กชายกฤตวีร์ ชัยประเสริฐสุด ได้รับรางวัลเกียรติบัตรชมเชย ในการแข่งขันการคิดและ แก้ปัญหาคณิตศาสตร์ ครั้งที่ 19 ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร -เด็กชายกฤตวีร์ ชัยประเสริฐสุด ได้รับรางวัลเหรียญเงิน ในการสอบแข่งขันวิชาคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น การแข่งขันทางวิชาการ ระดับนานาชาติ ประจาปี 2562 รอบแรก ระดับเขต พื้นที่การศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้สู่สากล สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน -เด็กชายกฤตวีร์ ชัยประเสริฐสุด ได้รับรางวัลเหรียญทอง ในการสอบแข่งขันวิชาคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น การแข่งขันทางวิชาการ ระดับนานาชาติ ประจาปี 2563 รอบแรก ระดับเขต พื้นที่การศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้สู่สากล สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ณ วันที่ 24 มกราคม พุทธศักราช 2563
  • 25. 21 4. นักเรียนได้รับรำงวัล/กำรยกย่องเชิดชูเกียรติ/ประกำศชมเชยจำกหน่วยงำน/องค์กร ระดับชำติ/นำนำชำติ 4.1 ข้าพเจ้าได้เป็นครูผู้สอนนักเรียนประกวดโครงานคณิตศาสตร์ตั้งแต่ปีการศึกษา 2555 จนถึงปี 2562 โดยในปีการศึกษา 2561 – 2562 นักเรียนได้รางวัลจากการประกวดโครงานในระดับเขต อ้างอิง จากประกาศนียบัตร เกียรติบัตร และวุฒิบัตรของนักเรียน ดังในภาคผนวก รายการที่ 3 ครูสอนนักเรียน แข่งขัน หน้า 45 รายการที่ 4 รางวัลของนักเรียน หน้า 49 ได้แก่ - นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทองระดับชาติ จังหวัดนครปฐม กิจกรรมการแข่งขันโครงงาน คณิตศาสตร์ประเภทสร้างทฤษฎีหรือคาอธิบายทางคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ม.1 – ม.3 งานศิลปหัตกรรม นักเรียนระดับชาติ ภาคกลางและภาคตะวันออก ครั้งที่ 68 ประจาปี 2561 -นักเรียนได้รับรางวัลระดับชาติ (ภูมิภาคภาคกลางและภาคตะวันออก) รางวัลเหรียญทองแดง การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทสร้างทฤษฎีหรือคาอธิบายทางคณิตศาสตร์ ม.1-ม.3 (ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 69) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) วันที่ได้รับรางวัล 7-9 ธันวาคม 2562 -นักเรียนได้รับรางวัลระดับชาติ (ภูมิภาคภาคกลางและภาคตะวันออก) รางวัลเหรียญทองแดง การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ประเภทบูรณาการความรู้ในคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ม.1-ม.3 (ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 69) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) วันที่ได้รับรางวัล 7-9 ธันวาคม 2562 4.2 ข้าพเจ้าเป็นผู้ฝึกซ้อมนักเรียนโครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางคณิตศาสตร์ ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 ในปีการศึกษา 2560 – 2562 โดยติวนักเรียนในเวลา 7:30 – 8:20 เพื่อส่งเสริมและ พัฒนาศักยภาพทางด้านคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกเข้าโครงการ ซึ่งนักเรียนก็ได้รับ เกียรติบัตรจากการแข่งขันในรายการต่างๆ อ้างอิงจากรายงานแผนปฏิบัติการโรงเรียนระยองวิทยาคม เรื่อง ส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ เกียรติบัตรนักเรียน ภาคผนวกหน้า 52, 55 ได้แก่ -เด็กชายกฤตวีร์ ชัยประเสริฐสุด ได้รับรางวัลชมเชย ในการแข่งขันทางวิชาการ ระดับ นานาชาติ ประจาปี พ.ศ. 2562 (ระดับประเทศ) วิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น -เด็กชายแทนวงศ์ ปัทมมงคลชัย ได้รับรางวัลเกียรติบัตรเหรียญเงิน ประเภทบุคคล ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น ระดับประเทศ การแข่งขันความสามารถทางคณิตศาสตร์ ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 17 ปีการศึกษา 2562 -เด็กชายกฤตวีร์ ชัยประเสริฐสุด ได้รับรางวัลระดับเหรียญเงิน ในการแข่งขันทางวิชาการ ระดับ นานาชาติ ประจาปี พ.ศ. 2563 (รอบสอง ระดับประเทศ) วิชาคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ณ วันที่ 24 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2563
  • 26. 22 -เด็กชายแทนวงศ์ ปัทมมงคลชัย ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง ในการแข่งขันทางวิชาการ ระดับ นานาชาติ ประจาปี พ.ศ. 2563 (รอบสอง ระดับประเทศ) วิชาคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ณ วันที่ 24 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2563 -นักเรียนได้รับรางวัลโครงการแข่งขัน ASMO THAI Science & Math Competition 2017 รางวัลเหรียญทอง จานวน 3 รางวัล รางวัลเหรียญเงิน จานวน 2 รางวัล รางวัลเหรียญทองแดง จานวน 6 รางวัล และรางวัลทีมคณิต PLATINUM จานวน 12 รางวัล -นางสาวณัฎฐนิชา สุวรรณพยัคฆ์ ได้รับรางวัลระดับประเทศ เหรียญทอง (อันดับ 1) การทดสอบ วัดแววโอลิมปิกวิชาการ “How academic Olympics you are!” หน่วยงาน สสวท. สอวน. สพฐ. วันที่ ได้รับรางวัล 25 – 26 ตุลาคม 2562 -นักเรียนได้รับรางวัลระดับประเทศ เหรียญทอง การทดสอบวัดแววโอลิมปิกวิชาการ “How academic Olympics you are!” หน่วยงาน สสวท. สอวน. สพฐ. วันที่ได้รับรางวัล 25 – 26 ตุลาคม 2562 -นักเรียนได้รับรางวัลระดับประเทศ เหรียญเงิน การทดสอบวัดแววโอลิมปิกวิชาการ “How academic Olympics you are!” หน่วยงาน สสวท. สอวน. สพฐ. วันที่ได้รับรางวัล 25 – 26 ตุลาคม 2562 -นักเรียนได้รับรางวัลระดับประเทศ รางวัลเหรียญเงิน (ประเภทบุคคล) การเข้าร่วมการแข่งขัน นานาชาติ Asmo (Asian Science and Mathematics Olympiad) ปี 2019 วันที่ได้รับรางวัล 15 มกราคม 2563 -นักเรียนได้รับรางวัลระดับประเทศ รางวัลเหรียญทองแดง (ประเภทบุคคล) การเข้าร่วมการ แข่งขันนานาชาติ Asmo (Asian Science and Mathematics Olympiad) ปี 2019 วันที่ได้รับรางวัล 15 มกราคม 2563 -นักเรียนได้รับรางวัลระดับประเทศ รางวัลเหรียญทอง สอบแข่งขันวิชาการวัดความสามารถทาง คณิตศาสตร์ ระดับนานาชาติ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) วันที่ได้รับรางวัล 12 มกราคม 2563 -นักเรียนได้รับรางวัลระดับประเทศ รางวัลเหรียญเงิน สอบแข่งขันวิชาการวัดความสามารถทาง คณิตศาสตร์ ระดับนานาชาติ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) วันที่ได้รับรางวัล 12 มกราคม 2563 -นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทองแดง สอบแข่งขันวิชาการวัดความสามารถทางคณิตศาสตร์ ระดับ นานาชาติ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) วันที่ได้รับรางวัล 12 มกราคม 2563 4.3 ข้าพเจ้าเป็นวิทยากรค่ายคณิตศาสตร์หลักสูตร สอวน.คณิตศาสตร์ โครงการศูนย์โรงเรียน ขยายผลโอลิมปิกวิชาการ ตั้งแต่ปี 2555 ศูนย์ขยายผลโรงเรียนระยองวิทยาคม ซึ่งนักเรียนที่ได้ฝึกอบรม สอบผ่านการคัดเลือกเข้าค่ายที่ 2 วิชาคณิตศาสตร์ ในปี 2562 จานวน 7 คน และนักเรียน 1 คนเป็น