SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
การสร้างงาน
โปรแกรมด้วย
ภาษาคอมพิวเตอร์
ความสําคัญของภาษาคอมพิวเตอร์
 ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เป็นสัญลักษณ์ที่ผู้พัฒนาภาษา
กําหนดรหัสคําสั่ง ขึ้นมา ใช้ควบคุมการทํางานอุปกรณ์ในระบบคอมพิวเตอร์
พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ เริ่มจากรหัส คําสั่งอยู่ในรูปแบบเลขฐานสอง
จากนั้นพัฒนารูปแบบเป็นข้อความภาษาอังกฤษ ในยุคปัจจุบัน
ภาษาคอมพิวเตอร์มีอีกมากมายหลายภาษาให้เลือกใช้งาน มีจุดเด่นด้าน
ประสิทธิภาพคําสั่งแตกตางกันไป ดังนั้นผู้สร้างงานโปรแกรมต้องศึกษาว่า
ภาษาใดมีคําสั่งที่มีประสิทธิภาพควบคุมการทํางานตามต้องการ เพื่อเลือกไป
ใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์งานตามที่ได้กําหนดจุดประสงค์ไว้
1. พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์
 ภาษาคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนาควบคู่กับการประดิษฐ์เครื่อง
คอมพิวเตอร์ เพื่อใช้เป็นคําสั่ง ควบคุมการทํางาน มีพัฒนาการของการสร้าง
รหัสคําสั่งจนมาเป็นรูปแบบในปัจจุบัน ดังนี้
 ช่วงที่ 1 คอมพิวเตอร์จัดเป็นเครื่องมือคํานวณทางอิเล็กทรอนิกส์ จึง
ทํางานลักษณะวงจรเปิด – ปิด แทนค่าด้วย 0 กับ 1 ผู้สร้างภาษาจึงออกแบบ
รหัสคําสั่งเป็นชุดเลขฐานสอง เรียกว่า ภาษาเครื่อง (Machine Language) ผู้ที่จะ
เขียนรหัสคําสั่งควบคุมระบบได้จึงจํากัดอยู่เฉพาะกลุ่ม และใช้ใน
ห้องปฏิบัติการทดลองดําเนินงาน
 ช่วงที่ 2 จากช่วงแรกที่รหัสคําสั่งเป็นชุดเลขฐานสองมีความยุ่งยากในการ
จําชุดของรหัสคําสั่ง ควบคุมการทํางาน จึงมีผู้พัฒนารหัสคําสั่งเป็นอักษร
ภาษาอังกฤษรวมกับเลขฐานอื่น เช่น เลขฐานสิบหก เพื่อให้เขียนคําสั่งควบคุม
งานง่ายขึ้น ตั้งชื่อภาษาว่า แอสแซมบลีหรือภาษาสัญลักษณ์ (Assembly/
Symbolic Language) พร้อมกันนี้ต้องพัฒนาโปรแกรมแปลภาษาขึ้นมาด้วย
(TranslatorProgram) คือโปรแกรมแอสแซมเบลอร์ (Assembler)ใช้แปลรหัสคําสั่ง
กลับมาเป็นเลขฐานสองเพื่อให้ระบบ สามารถประมวลผลได้
 ช่วงที่ 3 เป็นช่วงที่บริษัทหลายแห่งสร้างภาษาคอมพิวเตอร์หลากหลาย
ภาษา เน้นให้ใช้งานง่ายขึ้น โดยรหัสคําสั่งเป็นข้อความใกล้เคียงกับ
ภาษาอังกฤษที่ใช้ในการสื่อสารกันอยู่แล้ว จัดให้เป็นกลุ่ม ภาษาระดับสูง (High
Level Language) เช่น ภาษาเบสิก ภาษาปาสคาล ภาษาซี ในส่วนของ โปรแกรม
แปลภาษามี 2 ลักษณะ คือ อินเทอรพรีตเทอร์ และคอมไพเลอร์
 ช่วงที่ 4 เน้นเพิ่มประสิทธิภาพภาษาคอมพิวเตอร์ให้นําไปใช้ควบคุมการ
ทํางานระบบ คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานรวมกับเทคโนโลยีการสื่อสาร ภาษามี
รูปแบบการเขียนรหัสคําสั่งเป็นงานโปรแกรม เชิงวัตถุ (Object – Oriented
Programming Language : OOP) ติดต่อใช้งานกับผู้ใช้โปรแกรมเชิง กราฟฟิก
(Graphic User Interface : GUI) ลดขั้นตอนการจดจําเพื่อพิมพ์รหัสคําสั่งมาเป็นการ
คลิก เลือกรายการคําสั่ง และป้อนค่าควบคุม เช่น ภาษาวิชวลเบสิก (Visual
BASIC)ภาษาจาว่า (JAVA)
2. ภาษาระดับสูง
 ภาษาคอมพิวเตอร์กลุ่มภาษาระดับสูงได้รับความนิยมใช้งานจนถึง
ปัจจุบัน เพราะเป็นภาษาที่มี รูปแบบการเขียนรหัสคําสั่งสั้น สื่อความหมายตรง
กับการทํางาน ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้เพื่อเขียน ชุดรหัสคําสั่งควบคุม
การทํางาน ใช้หน่วยความจําระบบน้อย จึงเหมาะกับผู้เริ่มฝึกทักษะการสร้าง
งาน โปรแกรมประยุกต์งานคํานวณในสาขางานต่าง ๆ เช่น ระบบงานคํานวณ
ทางวิศวกรรมโยธา ระบบงาน คํานวณทางวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างภาษาระดับสูง
ที่ได้รับความนิยมใช้งาน มีดังนี้
 1) ภาษาเบสิก (BASIC: Beginner’s All-purposeSymbolic InstructionCode) เป็น
ภาษาในระยะเริ่มแรกที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในห้องปฏิบัติการของ
สถาบันการศึกษา เพื่อฝึกทักษะการ เขียนรหัสคําสั่งควบคุมการทํางานของ
คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก คือ ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี คือ รูปแบบที่ใช้งานสั้น มี
จํานวนคําสั่งไม่มาก กฎเกณฑ์การใช้คําสั่งน้อย ใช้ระยะเวลาศึกษาเรียนรู้สั้น
เหมาะสมที่จะใช่ในการเรียนการสอน เพื่อฝึกทักษะการเขียนรหัสควบคุมการ
ทํางานระบบ ข้อจํากัด คือ ประสิทธิภาพของคําสั่งงานมีน้อย เป็นภาษาที่ไม่มี
รูปแบบโครงสร้าง จึงไม่เหมาะสมในการนําไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์งาน
ในองค์กร
 2) ภาษาโคบอล (COBOL: Common Business OrientedLanguage) เป็นภาษาใน
ยุคแรกที่มีลักษณะโปรแกรมเชิงโครงสร้าง ช่วงต้นของภาษาได้รับการ
ออกแบบรหัสคําสั่งเพื่อ ควบคุมการทํางานคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ประเภท
เมนเฟรม และมินิ ต่อมาจึงปรับรูปแบบคําสั่งให้ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ได้
ข้อดี คือ ให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการเขียนรหัสคําสั่งควบคุมการทํางาน
ไมโครคอมพิวเตอร์ก่อนที่จะไปเขียนรหัสคําสั่งควบคุมคอมพิวเตอร์ขนาด
ให้ญืในการทํางานจริง ข้อจํากัด คือ โครงสร้างภาษามีส่วนประกอบของ
บรรทัดคําสั่งงานมาก รูปแบบรหัส คําสั่งมีความยาว จดจําคําสั่งได้ยาก ไม่
เหมาะกับผู้เริ่มฝึกทักษะสร้างงานโปรแกรม
 3) ภาษาปาสคาล (PASCAL)เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้าง ได้รับ
การออกแบบ มาเพื่อใช้เขียนรหัสคําสั่งควบคุมการทํางานไมโครคอมพิวเตอร์
ข้อดี คือ แต่ละส่วนของโครงสร้างกําหนดหน้าที่การเขียนรหัสคําสั่งควบคุม
งาน ชัดเจน คําสั่งสั้น สื่อความหมายดี จึงจดจําได้งาย ประสิทธิภาพคําสั่งงานมี
เลือกใช้งานหลากหลาย รูปแบบ ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้ เหมาะสมกับ
การนําไปใช้ในหลักสูตรการเรียนการสอน ข้อจํากัด คือ ประสิทธิภาพของ
คําสั่งไม่สามารถใช้ควบคุมการทํางานในลักษณะ ระบบงานแบบฐานข้อมูล
หรือแบบเครือขายได้แต่อาจใช้พื้นฐานความรู้สําหรับภาษาอื่นได้ เช่น ภาษา
เดลไฟ (DELPHI)ที่คําสั่งงานคลายภาษาปาสคาล
 4) ภาษาซี เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้าง เน้นให้คําสั่งมี
ประสิทธิภาพการคํานวณที่ รวดเร็ว เข้าถึงอุปกรณ์ในระบบรวมกับภาษาแอส
แซมบลีได้ใช้ควบคุมการทํางานไมโครคอมพิวเตอร์
 ข้อดี คือ ภาษาได้รับการพัฒนามาอย่างตอเนื่อง การออกแบบรหัสคําสั่งมี
มาตรฐาน รวมกัน ถึงแม้จะเป็นภาษาซีตางบริษัทก็ใช้งานส่วนคําสั่งพื้นฐาน
รวมกันได้ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้ จึงเหมาะสมสําหรับนําไปใช้ใน
หลักสูตรการเรียนการสอน และนําไปใช้สร้างงานโปรแกรมระบบขนาด ใหญ่
ได้ข้อจํากัด คือ อยู่ในส่วนของรุนภาษาซีมากกว่า เช่น เทอรโบซีจะไม่
สามารถนําไป สร้างระบบงานฐานข้อมูลได้แต่หากต้องการนําไปสร้างงาน
โปรแกรมแบบฐานข้อมูล ต้องใช้วิชวล ซีพลัสพลัส (Visual C++) เป็นต้น
3. ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator Program)
 การเขียนรหัสคําสั่งควบคุมการทํางานระบบด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ใด ๆ
ก็ตาม ที่มิใช้ภาษาเครื่อง ระบบไม่สามารถประมวลผลได้ทันที เพราะการ
ทํางานของระบบเป็นรหัสเลขฐานสอง คือ 0 กับ 1 ดังนั้นผู้สร้าง
ภาษาคอมพิวเตอร์ ต้องสร้างโปรแกรมสําหรับแปลรหัสคําสั่งให้เป็นรหัส
เลขฐานสองด้วย โปรแกรมแปลรหัสคําสั่งภาษาคอมพิวเตอร์มีการทํางาน 3
ลักษณะ คือ
 1.)โปรแกรมแปลภาษาแบบแอสแซมเบลอร (Assembler)ใช้แปลรหัส
คําสั่งเฉพาะภาษา แอสแซมบลีให้เป็นเลขฐานสอง
 2.)โปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์ (Compiler) ลักษณะการแปลคือ แปล
คําสั่งทั้ง โครงสร้างโปรแกรมแล้วจึงแจงข้อผิดพลาดทั้งหมดเพื่อให้แก้ไข จากนั้น
ต้องประมวลผลให้ หากไม่มี ข้อผิดพลาดจะสร้างแฟ้มโปรแกรมให้อัตโนมัติเพื่อเก็บ
รหัสเครื่องภายหลังเมื่อเรียกใช้โปรแกรมนี้ เครื่อง จะอ่านรหัสจากโปรแกรมที่สร้าง
ไว้นั้น จึงไม่ต้องเริ่มแปลรหัสให้ ข้อดี คือ ทํางานได้รวดเร็ว เพราะไม่ต้องแปลรหัสให้
ทุกครั้ง ข้อจํากัด คือ ต้องเขียนโปรแกรมให้ครบทุกส่วนของโครงสร้าง
ภาษาคอมพิวเตอร์ จึง จะสามารถคอมไพลปละประมวลผลเพื่อแสดงผลได้
 3.)โปรแกรมแปลภาษาแบบอินเทอรพรีตเทอร์ (Interpreter) ลักษณะการแปล คือ
แปลรหัสทีละคําสั่ง เมื่อพบข้อผิดพรากจะหยุดทํางาน แล้วจึงแจงข้อผิดพลาดให้ทราบ
เพื่อแก้ไข จากนั้นประมวลผลให้ จนกว่าจะไม่มีข้อผิดพลาด แต่ไม่มีการสร้างแฟ้ม
โปรแกรมให้เพื่อเก็บรหัสคําสั่ง คือ สั่งให้ประมวลผลรหัสคําสั่งเพื่อดูผลการทํางานได้
ทันทีที่ต้องการ โดยไม่ ข้อดี ต้องเขียนโปรแกรมถึงบรรทัดสุดทาย ข้อจํากัด คือ หาก
โปรแกรมมีบรรทัดคําสั่งจํานวนมากจะประมวลผลชา เพราะต้องเริ่ม แปลรหัสคําสั่ง
ให้ที่บรรทัดคําสั่งแรกทุกครั้งที่สั่งให้ประมวลผล
 4.)การเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ มี
ข้อแนะนําในการนําไปใช้เป็นแนวทางพิจารณา เลือกภาษาคอมพิวเตอร์ ดังนี้
 1. พิจารณาจุดเด่นประสิทธิภาพของคําสั่งงานของแต่ละภาษา เปรียบเทียบกับ
ลักษณะงาน เช่น สร้างโปรแกรมระบบงานคํานวณทางวิศวกรรมศาสตร์ อาจ
เลือกใช้ภาษาซี ภาษา ปาสคาล
 2. พิจารณาลักษณะการประมวลผล เช่น ระบบงานต้องประมวลผลบน
เครือข่ายอาจ เลือกใช้ภาษาวิชวลเบสิก ในรุ่นของโปรแกรมที่มีคําสั่งควบคุมการ
ทํางานได้
 3. พิจารณาคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์และรุนของระบบปฏิบัติการที่ใช้
ควบคุม เพื่อเลือก ภาษาคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้งานรวมกันกับระบบได้
 4. ควรเลือกภาษาที่ทีมงานพัฒนาระบบงานโปรแกรมมีความชํานาญอยู่แล้ว
เพื่อไม่ต้อง เสียเวลาเริ่มต้นศึกษาเรียนรู้ภาษาให้ หรือหากเป็นภาษาให้ ควรเป็นภาษา
ที่มี ลักษณะใกล้เคียงกับความรู้เดิม
 5. ควรเป็นภาษาที่มีลักษณะเป็นโครงสร้าง มีความยืดหยุ่นสูง เอื้ออํานวยความ
สะดวกใน การปรับปรุงพัฒนาระบบงานในอนาคต
 6. หากระบบงานต้องการความปลอดภัยเรื่องการเข้าถึงข้อมูล ต้อง
คัดเลือก ภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพเรื่องนี้ด้วย
 7. พิจารณางบประมาณ ใช้จัดหาคอมพิวเตอร์ที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้องมาใช้
งาน เพื่อป้องกัน ปัญหาทางกฎหมายและโดยเฉพาะอย่างยิ่งจะไม่ก่อปัญหา
เมื่อขยายพัฒนาระบบงานเพิ่ม มากขึ้นในอนาคต
 8. เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมใช้งานทั่วไปเพื่อศึกษา
รวบรวมข้อมูล และ ป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต และมีความ
เชื่อมั่นว่าจะมีผู้เชี่ยวชาญให้ คําปรึกษาหากเกิดปัญหาขึ้น
4.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์
 การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ การพัฒนาระบบงาน (System
Development) เป็นกระบวนการพัฒนาระบบงานเดิม ให้เป็น ระบบการทํางานแบบให้
มีจุดประสงค์ให้ระบบการทํางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น สําหรับการพัฒนา ระบบงาน
ทางคอมพิวเตอร์นอกจากจัดหาอุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อนํามาใช้งานแล้ว
ยังต้อง จัดหาโปรแกรมประยุกต์งานมาใช้ในการดําเนินงานอีกด้วย ขั้นตอนการสร้าง
โปรแกรมประยุกต์งาน อาจปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม ในที่นี้มีแนวทาง
ดําเนินงานดังนี้
 1) ขั้นกําหนดขอบเขตปัญหา
 2) ขั้นวางแผนและการออกแบบ
 3) ขั้นดําเนินการเขียน คําสั่งงาน
 4) ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
 5) ขั้นจัดทําคู่มือระบบ
 6) ขั้นการติดตั้ง
 7) ขั้น การบํารุงรักษา
1. ขั้นกําหนดขอบเขตปัญหา (Problem Definition)
 เริ่มต้นด้วยการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานเดิม เพื่อพัฒนาระบบงานให้ อาจ
วิเคราะห์งานจาก ผลลัพธ์ เช่น รูปแบบรายงาน เพื่อวิเคราะห์ส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป
เช่น สมการที่ใช้คํานวณ การนําเข้า ข้อมูลที่ใช้ประมวลผล กรณีเป็นระบบงานใหญ่
ความซับซ้อนของงาน
 ย่อมมากขึ้น อาจเริ่มจากสภาพปัญหา โดย รวบรวมข้อมูลปัญหาและ ความต้องการ
ต่าง ๆ จากผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน เพื่อสรุป และศึกษา ความเป็นไปได้
ในการพัฒนาระบบงานให้ การกําหนดความต้องการ (Requirements Specification) เป็น
ความต้องการ ประสิทธิภาพการทํางานจากระบบงานให้ รวบรวมข้อมูลความต้องการ
โดยใช้เครื่องมือทางสถิติ เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ การสังเกต เพื่อหาข้อสรุป
รวมกันที่ชัดเจนระหว่างผู้พัฒนาระบบและผู้ใช้ ระบบ การกําหนดความต้องการนั้นมี
แนวทางในการดําเนินงาน ดังนี้
 1) ประสานงานรวบรวมข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวของกับระบบ เพื่อประมวลความ
ต้องการทั้งหมด
 2) จัดทําข้อสรุปความต้องการ บันทึกลงเอกสาร และลงนามทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
เพื่อป้องกัน ข้อขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นในขั้นตอนรับมอบระบบงาน
 3) การให้คําจํากัดความตาง ๆ ในเอกสาร ต้องมีความชัดเจน ไม่กํากวม
การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) ศึกษาสิ่งที่เกี่ยวของกับระบบงานที่เป็น
ปัจจัย เอื้อต่อการทํางาน หรืออุปสรรคในการทํางานมีแนวศึกษา ดังนี้
 1) ศึกษาความเป็นไปได้ด้านเทคนิค (Technical Feasibility) เช่น ศึกษาระบบ
คอมพิวเตอร์ที่มีอยู่เดิมต้องปรับปรุง (Upgrade) ประสิทธิภาพเครื่องอย่างไรบาง
 2) ศึกษาความเป็นไปได้เชิงเศรษฐศาสตร์ (Economical Feasibility) เช่น ต้นทุน
ค่าใช้จ่าย ในการดําเนินงานระบบงานให้ หรือด้านงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร
รวบรวมโดย นางพวงพรรณ สุพิพัฒนโมลี ตําแหน่ง ครูชํานาญการ โรงเรียนชัยภูมิ
ภักดีชุมพล
 3) ศึกษาความเป็นไปได้ด้านการปฏิบัติงาน (Operational Feasibility) เช่น ทักษะ
เดิมของ ผู้ใช้ระบบงานให้ การยอมรับระบบให้ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการ
ทํางาน
2. ขั้นวางแผนและการออกแบบ (Planning & Design)
 ขั้นตอนการวางแผนวิเคราะลําดับการทํางานมีหลายวิธีให้เลือกใช้ เช่น วิธี
อัลกอริทึม (Algorithm) วิธีซูโดโคด (Pseudocode Design) วิธีผังงาน (Flowchart) ลําดับ
ขั้นตอนการออกแบบ ระบบ เช่น การออกแบบรูปแบบการแสดงผล (Output Design)
การออกแบบรูปแบบการนําเข้า ข้อมูล (Input Design) มีแนวทางการออกแบบระบบ
ดังนี้
 1) จํานวนและประเภทเนื้อหาของข้อมูล (Content) ต้องมีเพียงพอ ครบถ้วน
สมบูรณ์ นําเสนอเฉพาะข้อมูลที่เกี่ยวของกันและแยกเป็นระบบงานย่อย
 2) รูปแบบ (Form) การนําเสนอข้อมูลต้องอยู่ในรูปแบบที่ผู้ใช้ระบบเข้าใจงาย
เช่น การ นําเสนอข้อมูลสรุปด้วยกราฟดีกว่าการนําเสนอข้อมูลสรุปในรูปแบบตาราง
 3) รูปแบบแสดงผล (Output Format) คํานึงว่าเป็นการแสดงผลรายงานทางจอภาพ
หรือ เครื่องพิมพ์เพราะการกําหนดรูปแบบ และรายละเอียดมีความแตกตางกัน
3. ขั้นดําเนินการเขียนคําสั่งงาน (Coding)
 เป็นขั้นตอนเขียนคําสั่งควบคุมงาน ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ตามกฎเกณฑ์
ไวยากรณ์ที่กําหนดไว้ต้องลําดับคําสั่งตามขั้นตอนที่วิเคราะห์ว่า สําหรับ
ขั้นตอนการเขียนคําสั่งงานมีแนวทางดําเนินงาน ดังนี้
 1) จัดทีมงานในองค์กรวิเคราะห์และพัฒนาระบบงานเอง มีข้อดี คือ
ปรับแก้ไขโปรแกรมได้ตามต้องการ ได้รับความรวมมือจากคนในองค์กรใน
ระดับดี เพราะเป็นกลุ่มบุคคลในองค์กร เดียวกัน ข้อเสีย คือ หากไม่มี
หน่วยงานรับผิดชอบโดยตรง เป็นการทํางานเฉพาะกิจ จะ เกิดความเสี่ยงใน
ระบบงาน เช่น งานลาชา หรืองานไม่เสร็จสิ้นตามกําหนด
 2) จัดซื้อโปรแกรมสําเร็จรูป ข้อดี คือ มีโปรแกรมที่นํามาใช้กับงานได้
ทันที งานขององค์กรไม่ หยุดชะงัก และมีบริการอบรมการใช้โปรแกรม ส่วน
ใหญ่โปรแกรมออกแบบมาดี จึงใช้งาน ง่าย ข้อเสีย คือ โปรแกรมสําเร็จรูปมี
ข้อจํากัดในตัวเอง ไม่สามารถตอบสนองความ ต้องการผู้ใช้ระบบได้
ครอบคลุมทุกด้าน และผู้ใช้ไม่สามารถแก้ไขข้อจํากัดตาง ๆ ของ โปรแกรมได้
ด้วยต้นเอง
 3) จัดจ้างบริษัทพัฒนาระบบ ข้อดี คือ พัฒนาระบบงานได้รวดเร็วเพราะมี
ทีมงานที่มีความ ชํานาญงานระบบงานตรงตามความต้องการของผู้ใช้ระบบ
ข้อเสีย คือ ค่าจ้างการพัฒนามี ราค่าสูง เพราะต้องวิเคราะห์ระบบงานให้ และ
รวมราคาการบํารุงรักษาโปรแกรมใน อนาคตไวแล้ว

4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม (Testing & Debugging)
 การทดสอบการทํางานของโปรแกรมแบงออกเป็น2 ช่วงคือ ช่วงแรกทดสอบโดย
พัฒนา ระบบงานเองโดยใช้ข้อมูลสมมติ ทดสอบเพื่อหาข้อผิดพลาดจากการใช้ไวยากรณ์คําสั่ง
และวิเคราะห์ เปรียบเทียบผลลัพธ์การทํางานกับจุดประสงค์ของงานหากไม่มีข้อผิดพลาดใด
ๆ จึงสงมอบการทําสอบอีกช่วงคือ ทดสอบโดยผู้ใช้ระบบงานจริง ทั้งนี้ข้อผิดพลาดที่เกิดจาก
การทดสอบ โดยสรุปมี 2 รูปแบบ คือ
 1) ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการใช้คําสั่งผิดรูปแบบไวยากรณ์ที่ภาษากําหนดไว้(Syntex
Errors)
 2) ข้อผิดพลาดที่เกิดจากกระบวนการวิเคราะห์งานผิด (Logic Error) กรณีระบบงานขนาด
ใหญ่ การทดสอบระบบงานให้โดยผู้ใช้ระบบอาจต้องฝึกอบรมการใช้โปรแกรมก่อนแล้วจึง
หาข้อสรุปข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น มีแนวทางจัดฝึกอบรมการใช้โปรแกรมดังนี้
 1) ฝึกอบรมโดยวิทยากร ใช้วิธี บรรยาย สาธิต และจําลองข้อมูลนําเข้า เพื่อทดสอบ
ระบบ
 2) เรียนรู้ด้วยต้นเอง ผู้ใช้ระบบศึกษาอ่านจากคู่มือระบบงาน หรือใช้ซีดีรอมเรียนรู้
ด้วยต้นเอง
5. ขั้นจัดทําคู่มือระบบ (Documentation)
 เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบ ผู้พัฒนาระบบจะต้องรวบรวมเอกสารเพื่อ
จัดทําคู่มือการใช้ ระบบงานให้ คู่มือระบบงานมีความสําคัญมาก เพราะ
เปรียบเสมือนกับพิมพ์เขียวของบานคู่มือระบบ จึงถูกใช้เพื่อศึกษารูปแบบ
ระบบงานเพื่อพัฒนาระบบในอนาคต คู่มือระบบมีหลายรูปแบบ เช่น
 1) คู่มือสําหรับผู้ใช้ระบบ (User Documentation) เป็นส่วนอธิบายขั้นตอน
การทํางานของ ระบบเพื่อให้ผู้ใช้ระบบเรียนรู้การทํางาน เช่น วิธีกรอกข้อมูล
ในส่วนตาง ๆ
 2) คู่มือระบบงาน (System Documentation) จัดทําสําหรับผู้ดูแลระบบ เช่น
ขั้นตอนการ ติดตั้งโปรแกรม การแก้ปัญหาระบบงานขั้นพื้นฐาน
6. ขั้นการติดตั้ง (Implementation)
 เป็นขั้นตอนนําระบบให้ที่ผ่านการทดสอบ และได้รับการยอมรับจากกลุ่ม
ตัวแทนผู้ใช้ระบบว่า สามารถนํามาทดแทนระบบงานเดิม มีแนวทางใช้ระบบงานให้
ดังนี้
 1) ติดตั้งระบบแบบหยุดระบบงานเดิมทั้งหมด และใช้ระบบงานให้ทันที (Direct
Changeover) วิธีนี้สะดวกกับผู้ใช้คือ ทํางานระบบงานเดียว แต่มีความเสี่ยงสูงหาก
ระบบงานให้มีปัญหาจะไม่สามารถใช้ระบบงานระบบใดได้เลย
 2) ติดตั้งระบบแบบคู่ขนาน (Parallel Running) เป็นการทํางาน 2 ระบบในคราว
เดียวกัน เพื่อป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นกับระบบงานให้ ยังคงมีระบบงานเดิมสํารอง
ความผิดพลาด ที่ไม่อาจคาดคิด เกิดขึ้นได้แต่เป็นการเพิ่มภาระงานของผู้ใช้ระบบที่
ต้องทํางานทั้ง 2 ระบบ จนกว่าแน่ใจว่าระบบงานให้ สามารถใช้รองรับการทํางานได้
โดยไม่มีข้อผิดพลาดใด ๆ

 3) ติดตั้งระบบแบบทีละเฟส (Phase Changeover) เป็นการติดตั้งระบบ
ย่อยทีละระบบจาก ระบบงานทั้งหมด เพื่อพิจารณาประสิทธิภาพการทํางาน
หากมีข้อผิดพลาดที่เฟสใดจะ ดําเนินการแก้ไขเฉพาะเฟสนั้นก่อน จากนั้นจึง
ขยายจนครบทั้งระบบ
 4) ติดตั้งระบบแบบโครงการนํารอง (Pilot Project) พิจารณาจัดทํา
เฉพาะงานของหน่วยงาน ในองค์กรที่มีความสําคัญและความจําเป็น พิจารณา
ผลงานที่ได้หากไม่มีปัญหาเรื่องใด จึง ขยายระบบงานตอไป
7. ขั้นการบํารุงรักษา (Maintenance)
 เป็นการดูแลระบบงานหลังติดตั้งระบบ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานได้
ตลอดเวลา สาเหตุที่ต้อง บํารุงรักษา มีดังนี้
 1) การบํารุงรักษาด้วยการแก้ไขระบบให้ถูกต้อง (Corrective Maintenance) เป็น
ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นหลังจากมีการใช้ข้อมูลจริงในระบบงาน ซี่งตรวจสอบไม่พบใน
ขั้นการ ทดสอบระบบ
 2) การบํารุงรักษาด้วยการปรับปรุงให้ดีขึ้น (Perfective Maintenance) เป็นการปรับ
ระบบงานกรณีผลกระทบอื่น เช่น การปรับปรุงการคํานวณภาษีที่มีการเปลี่ยนแปลง
ไปตาม นโยบายของรัฐ
 3) การบํารุงรักษาด้วยการป้องกัน (Preventive Maintenance) เช่น ป้องกันการเกิด
ความ สูญหายของข้อมูลที่อาจเกิดจากระบบไฟฟ้า การทําระบบสํารองข้อมูล การ
ป้องกันไวรัส คอมพิวเตอร์ (Virus) การบุกรุกข้อมูล (Hacker)
แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน
 แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน กรณีโปรแกรมประยุกต์งาน
เป็นงานโปรแกรมเพื่อใช้แก้ปัญหางานคํานวณในสายวิชาชีพเฉพาะ สาขา เช่น
งานวิศวกรรมศาสตร์ งานวิทยาศาสตร์ ดังนั้นหากผู้สร้างงานโปรแกรมเป็นผู้
อยู่ในสาย วิชาชีพนั้นยอมสามารถวิเคราะห์ วางแผนลําดับการทํางาน และ
ลําดับคําสั่งควบคุมการทํางานได้ดี ถูกต้องกว่าให้ผู้อื่นจัดทํา ระบบงาน
โปรแกรมมีลักษณะตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ระบบได้มากที่สุด และ
สามารถปรับระบบงานได้ด้วยต้นเอง มีแนวทางดําเนินงานสร้างโปรแกรม
ประยุกต์งาน ดังนี้
1. ขั้นวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น
 อาจวิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรือลักษณะรูปแบบรายงานของระบบงานนั้น เพื่อ
วิเคราะห์ย้อนกลับ ไปถึงที่มาของข้อมูลคือสมการคํานวณ จนถึงข้อมูลที่ต้องปอนเข้า
ระบบเพื่อใช้ในสมการ แนวทางการ วิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นโดยสรุปมีขั้นตอน
ย่อยดังนี้
 1) สิ่งที่ต้องการ
 2) สมการคํานวณ
 3) ข้อมูล นําเข้า
 4) การแสดงผล
 5) กําหนดคุณสมบัติตัวแปร
 6) ลําดับขั้นตอนการทํางาน

2. ขั้นวางแผนลําดับการทํางาน
 มีหลายวิธี เช่น อัลกอริทึม ซูโดโคด ผังงาน ต่างมีจุดประสงค์เพื่อแสดง
ลําดับขั้นตอน กระบวนการแก้ปัญหางานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ก่อน
ไปสู่ขั้นตอนการเขียนคําสั่งงานและกรณี โปรแกรมมีข้อผิดพลาด สามารถ
ย้อนกลับมาตรวจสอบที่ขั้นตอนนี้ได้
3. ขั้นดําเนินการเขียนโปรแกรม
 เป็นขั้นตอนการเขียนคําสั่งควบคุมตามลําดับการทํางานที่ได้วิเคราะห์ไว้ใน
กระบวนการวางแผน ลําดับการทํางาน ขั้นตอนนี้ต้องใช้คําสั่งให้ถูกต้องตาม
รูปแบบกฎเกณฑ์ไวยากรณ์การใช้งานคําสั่ง ที่แต่ ละภาษาได้กําหนดไว้
4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
 กรณีผู้สร้างระบบงานและผู้ใช้ระบบงานเป็นคนเดียวกันการทดสอบจึงมี
ขั้นตอนเดียวคือ ทดสอบไวยากรณ์คําสั่งงาน และทดสอบโดยใช้ข้อมูลจริงเพื่อ
ตรวจสอบค่าผลลัพธ์ แต่กรณีที่ผู้สร้าง ระบบงานและผู้ใช้ระบบงานมิใช้คน
เดียวกัน การทดสอบระบบจะมี 2 ช่วงคือ ทดสอบโดยใช้ผู้สร้าง ระบบงาน เมื่อ
ไม่มีข้อผิดพลาดใด จึงส่งให้ผู้ใช้ระบบงานเป็นผู้ทดสอบหากมีข้อผิดพลาดใด
จะถูก ส่งกลับไปให้ผู้สร้างระบบงานแก้ไข และตรวจสอบจนกว่าจะถูกต้อง
แล้วจึงสงมอบระบบงาน
5. ขั้นเขียนเอกสารประกอบ
 เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบให้ผลลัพธ์การทํางานถูกต้อง ต้องจัดทํา
เอกสารประกอบการใช้ โปรแกรมด้วย คู่มือระบบงานที่งายที่สุดคือ รวมรวม
เอกสารที่จัดทําจาก 1 – 4 มารวมเล่ม นอกนั้น อาจมีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีใช้
โปรแกรมระบบงาน เช่น วิธีปอนข้อมูล หรืออาจมีวิธีติดตั้งโปรแกรม
ระบบงาน รวมทั้งคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถนําโปรแกรมไปใช้
งาน เป็นต้น
การลําดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน
 การลําดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน ผังงานเป็นขั้นตอนวางแผนการทํางาน
ของคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่ง มีจุดประสงค์เพื่อแสดงลําดับ การควบคุมการ
ทํางาน โดยใช้สัญลักษณที่กําหนดความหมายใช้งานเป็นมาตรฐาน เชื่อมโยง
การทํางาน ด้วยลูกศร ในที่นี้กล่าวถึงการลําดับขั้นตอนการทํางานด้วยผังงาน
ประเภทผังงานโปรแกรม ดังนี้
 1.สัญลักษณ์ของผังงาน ในที่นี้กล่าวถึงเฉพาะสัญลักษณ์ที่ใช้ในการ
เขียนผังงานโปรแกรมเป็นส่วนใหญ่ ดังนี้
2. หลักในการเขียนผังงาน
ข้อแนะนําในการเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อานระบบงาน ใช้ศึกษา ตรวจสอบลําดับการ
ทํางานได้งาย ไม่สับสน มีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้
 1. ทิศทางการทํางานต้องเรียงลําดับตามขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้
 2. ใช้ชื่อหนวยความจํา เช่น ตัวแปร ให้ตรงกับขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้
 3. ลูกศรกํากับทิศทางใช้หัวลูกศรตรงปลายทางเทานั้น
 4. เส้นทางการทํางานหามมีจุดตัดการทํางาน
 5. ต้องไม่มีลูกศรลอย ๆ โดยไม่มีการตอจุดการทํางานใด ๆ
 6. ใช้สัญลักษณ์ให้ตรงกับความหมายการใช้งาน
 7. หากมีคําอธิบายเพิ่มเติมให้เขียนไว้ด้านขวาของสัญลักษณ์นั้น
3. ประโยชน์ของผังงาน
 การเขียนผังงานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์นั้นมีประโยชน ดังนี้
 1. ทําให้องเห็นรูปแบบของงานได้ทั้งหมด โดยใช้เวลาไม่มาก
 2. การเขียนผังงานเป็นสากล สามารถนําไปเขียนคําสั่งได้ทุกภาษา
 3. สามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ว
 4. รูปแบบการเขียนผังงาน การเขียนผังงานแสดงลําดับการทํางานของ
ระบบงานไม่มีรูปแบบการเขียนตายตัว เพราะเป็น เรื่องการออกแบบ
ระบบงานของแต่ละบุคคล ในส่วนนี้เป็นการนําเสนอรูปแบบการเขียนผังงาน
โปรแกรม ดังนี้
 1.) การเขียนผังงานแบบเรียงลําดับ แสดงขั้นตอนการทํางานตามลําดับ
โดยไม่มีทางแยกการ ทํางานแต่อย่างใด เช่น
 2. ) การเขียนผังงานแบบมีทางเลือกการทํางาน แสดงขั้นตอนการ
ทํางานที่มีลักษณะกําหนด เงื่อนไขทางตรรกะ ให้ระบบสรุปว่าจริงหรือเท็จ
เพื่อเลือกทิศทางประมวลผลคําสั่งที่ได้กําหนดไว้เช่น รวบรวมโดย นางพวง
พรรณ สุพิพัฒนโมลี ตําแหน่ง ผู้ชํานาญการ โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล
 3. ) การเขียนผังงานตรวจสอบเงื่อนไขก่อนวนซํ้าแสดงขั้นตอนการ
ทํางานที่มีลักษณะกําหนด เงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบก่อน เพื่อ
เลือกทิศทางการวนซํ้าหรือออกจากการวน ซํ้าเช่น
 4. ) การเขียนผังงานแบบตรวจสอบเงื่อนไขหลังวนซํ้าแสดงขั้นตอน
การทํางานที่มีลักษณะ ทํางานก่อน 1 รอบ แล้วจึงกําหนดเงื่อนไขทางตรรกะ
ให้ระบบตรวจสอบ เพื่อเลือกทิศ ทางการวนซํ้าหรือออกจากการวนซํ้า
จัดทําโดย
1.นายณรงค์เดช บุญพุ่มพวง เลขที่ 2
2.นายชุติพนธ์ บัวเพชร เลขที่ 8
3.นายปรินทร สุกุลธนาศร เลขที่ 10
4.นางสาวอรปรียา สงวนศักดิ์ เลขที่ 23
5.นางสาวปัทมา พรหมขนะ เลขที่ 30
6.นางสาวอรฤทัย อินทนิล เลขที่ 32
7.นางสาวมนัชญา วสุอนันต์กุล เลขที่ 38
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1
เสนอ
อาจารย์ ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
รายวิชาการเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ (ง30212)
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาPhanupong Chanayut
 
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์นุ๊ก ฆ่าตกรโรคจิต
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9naraporn buanuch
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Saipanyarangsit School
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมSarocha Makranit
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3Diiz Yokiiz
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์WEDPISIT KHAMCHAROEN
 
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-717 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอAum Forfang
 
13 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-713 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-7naraporn buanuch
 
26 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_726 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_7naraporn buanuch
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Primprapa Palmy Eiei
 

What's hot (20)

หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
 
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
Intro program php
Intro program phpIntro program php
Intro program php
 
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-717 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
13 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-713 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-7
 
26 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_726 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_7
 
งาน #1
งาน #1งาน #1
งาน #1
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

Seminarios grupos de trabajo proyectos formación en centros. convocatoria 201...
Seminarios grupos de trabajo proyectos formación en centros. convocatoria 201...Seminarios grupos de trabajo proyectos formación en centros. convocatoria 201...
Seminarios grupos de trabajo proyectos formación en centros. convocatoria 201...curuena
 
Così le macchine cambiano i cervelli
Così le macchine cambiano i cervelliCosì le macchine cambiano i cervelli
Così le macchine cambiano i cervelliStefano Carra
 
persamaan syi'ah dengan yahudi dan nasrani
persamaan syi'ah dengan yahudi dan nasranipersamaan syi'ah dengan yahudi dan nasrani
persamaan syi'ah dengan yahudi dan nasraniR&R Darulkautsar
 
Halloween Party Activity - Pumpkin Seed Toss
Halloween Party Activity - Pumpkin Seed TossHalloween Party Activity - Pumpkin Seed Toss
Halloween Party Activity - Pumpkin Seed TossKen Sapp
 
Planes de formación de equipos de profesores. convocatoria 2016 17
Planes  de formación de equipos de profesores. convocatoria 2016 17Planes  de formación de equipos de profesores. convocatoria 2016 17
Planes de formación de equipos de profesores. convocatoria 2016 17curuena
 
Halloween Party Activity - Skeleton Race
Halloween Party Activity - Skeleton RaceHalloween Party Activity - Skeleton Race
Halloween Party Activity - Skeleton RaceKen Sapp
 
Cuadro comparativo de las corrientes teóricas
Cuadro comparativo de las corrientes teóricasCuadro comparativo de las corrientes teóricas
Cuadro comparativo de las corrientes teóricasbarbyirb
 

Viewers also liked (16)

Seminarios grupos de trabajo proyectos formación en centros. convocatoria 201...
Seminarios grupos de trabajo proyectos formación en centros. convocatoria 201...Seminarios grupos de trabajo proyectos formación en centros. convocatoria 201...
Seminarios grupos de trabajo proyectos formación en centros. convocatoria 201...
 
Così le macchine cambiano i cervelli
Così le macchine cambiano i cervelliCosì le macchine cambiano i cervelli
Così le macchine cambiano i cervelli
 
Presentation drawi̇ng 8.
Presentation drawi̇ng 8.Presentation drawi̇ng 8.
Presentation drawi̇ng 8.
 
persamaan syi'ah dengan yahudi dan nasrani
persamaan syi'ah dengan yahudi dan nasranipersamaan syi'ah dengan yahudi dan nasrani
persamaan syi'ah dengan yahudi dan nasrani
 
Halloween Party Activity - Pumpkin Seed Toss
Halloween Party Activity - Pumpkin Seed TossHalloween Party Activity - Pumpkin Seed Toss
Halloween Party Activity - Pumpkin Seed Toss
 
Planes de formación de equipos de profesores. convocatoria 2016 17
Planes  de formación de equipos de profesores. convocatoria 2016 17Planes  de formación de equipos de profesores. convocatoria 2016 17
Planes de formación de equipos de profesores. convocatoria 2016 17
 
Halloween Party Activity - Skeleton Race
Halloween Party Activity - Skeleton RaceHalloween Party Activity - Skeleton Race
Halloween Party Activity - Skeleton Race
 
Guion
GuionGuion
Guion
 
Preguntas diagnostico
Preguntas diagnosticoPreguntas diagnostico
Preguntas diagnostico
 
Secuencia didactica silabica
Secuencia didactica silabicaSecuencia didactica silabica
Secuencia didactica silabica
 
Cuadro comparativo de las corrientes teóricas
Cuadro comparativo de las corrientes teóricasCuadro comparativo de las corrientes teóricas
Cuadro comparativo de las corrientes teóricas
 
Mapa global d'oportunitats sectorials per a empreses catalanes 2016
Mapa global d'oportunitats sectorials per a empreses catalanes 2016Mapa global d'oportunitats sectorials per a empreses catalanes 2016
Mapa global d'oportunitats sectorials per a empreses catalanes 2016
 
Weine Aus Katalonien
Weine Aus KatalonienWeine Aus Katalonien
Weine Aus Katalonien
 
Presentació Esmorzar: Chimigraf
Presentació Esmorzar: ChimigrafPresentació Esmorzar: Chimigraf
Presentació Esmorzar: Chimigraf
 
Esmorzar Ecoinnovacio
Esmorzar Ecoinnovacio Esmorzar Ecoinnovacio
Esmorzar Ecoinnovacio
 
Sped centers in the Philippines
Sped centers in the PhilippinesSped centers in the Philippines
Sped centers in the Philippines
 

Similar to การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์

งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มGroup1st
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมComputer ITSWKJ
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ B'Benz Sunisa
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Chatkal Sutoy
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊คThidaporn Kaewta
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์benz18
 
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานบทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานBaramee Chomphoo
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีHathaichon Nonruongrit
 
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-709 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-7naraporn buanuch
 
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-741 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7naraporn buanuch
 
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-743 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7naraporn buanuch
 

Similar to การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ (20)

งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่ม
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรม
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
mindmap
mindmapmindmap
mindmap
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
Introprogramphp
IntroprogramphpIntroprogramphp
Introprogramphp
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานบทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-709 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
 
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-741 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
 
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-743 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
 

More from Onpreeya Sahnguansak

ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงOnpreeya Sahnguansak
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงOnpreeya Sahnguansak
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงOnpreeya Sahnguansak
 
ไวเบอรเปิดตัว
ไวเบอรเปิดตัวไวเบอรเปิดตัว
ไวเบอรเปิดตัวOnpreeya Sahnguansak
 
นางสาว มานิดา ครุธนาค
นางสาว มานิดา ครุธนาคนางสาว มานิดา ครุธนาค
นางสาว มานิดา ครุธนาคOnpreeya Sahnguansak
 
แอลจีเตรียมส่งสมาร์ทโฟนรุ่นล้ำ
แอลจีเตรียมส่งสมาร์ทโฟนรุ่นล้ำแอลจีเตรียมส่งสมาร์ทโฟนรุ่นล้ำ
แอลจีเตรียมส่งสมาร์ทโฟนรุ่นล้ำOnpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วย
การสร้างงานโปรแกรมด้วยการสร้างงานโปรแกรมด้วย
การสร้างงานโปรแกรมด้วยOnpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
ละเอียดสุดฤทธิ์ Nokia เปิดตัว lumia 1020 สมาร์ทโฟนพร้อมกล้อง 41 ล้านพิกเซล
ละเอียดสุดฤทธิ์ Nokia เปิดตัว lumia 1020 สมาร์ทโฟนพร้อมกล้อง 41 ล้านพิกเซลละเอียดสุดฤทธิ์ Nokia เปิดตัว lumia 1020 สมาร์ทโฟนพร้อมกล้อง 41 ล้านพิกเซล
ละเอียดสุดฤทธิ์ Nokia เปิดตัว lumia 1020 สมาร์ทโฟนพร้อมกล้อง 41 ล้านพิกเซลOnpreeya Sahnguansak
 
ข่าวไอที คอม2
ข่าวไอที คอม2ข่าวไอที คอม2
ข่าวไอที คอม2Onpreeya Sahnguansak
 

More from Onpreeya Sahnguansak (20)

ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
Project is-3
Project is-3Project is-3
Project is-3
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
ข่าวไอที1
ข่าวไอที1ข่าวไอที1
ข่าวไอที1
 
ไวเบอรเปิดตัว
ไวเบอรเปิดตัวไวเบอรเปิดตัว
ไวเบอรเปิดตัว
 
นางสาว มานิดา ครุธนาค
นางสาว มานิดา ครุธนาคนางสาว มานิดา ครุธนาค
นางสาว มานิดา ครุธนาค
 
แอลจีเตรียมส่งสมาร์ทโฟนรุ่นล้ำ
แอลจีเตรียมส่งสมาร์ทโฟนรุ่นล้ำแอลจีเตรียมส่งสมาร์ทโฟนรุ่นล้ำ
แอลจีเตรียมส่งสมาร์ทโฟนรุ่นล้ำ
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วย
การสร้างงานโปรแกรมด้วยการสร้างงานโปรแกรมด้วย
การสร้างงานโปรแกรมด้วย
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
Mind map
Mind mapMind map
Mind map
 
Mind map
Mind mapMind map
Mind map
 
ละเอียดสุดฤทธิ์ Nokia เปิดตัว lumia 1020 สมาร์ทโฟนพร้อมกล้อง 41 ล้านพิกเซล
ละเอียดสุดฤทธิ์ Nokia เปิดตัว lumia 1020 สมาร์ทโฟนพร้อมกล้อง 41 ล้านพิกเซลละเอียดสุดฤทธิ์ Nokia เปิดตัว lumia 1020 สมาร์ทโฟนพร้อมกล้อง 41 ล้านพิกเซล
ละเอียดสุดฤทธิ์ Nokia เปิดตัว lumia 1020 สมาร์ทโฟนพร้อมกล้อง 41 ล้านพิกเซล
 
ข่าว It
ข่าว Itข่าว It
ข่าว It
 
ข่าวไอที คอม2
ข่าวไอที คอม2ข่าวไอที คอม2
ข่าวไอที คอม2
 

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์

  • 2. ความสําคัญของภาษาคอมพิวเตอร์  ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เป็นสัญลักษณ์ที่ผู้พัฒนาภาษา กําหนดรหัสคําสั่ง ขึ้นมา ใช้ควบคุมการทํางานอุปกรณ์ในระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ เริ่มจากรหัส คําสั่งอยู่ในรูปแบบเลขฐานสอง จากนั้นพัฒนารูปแบบเป็นข้อความภาษาอังกฤษ ในยุคปัจจุบัน ภาษาคอมพิวเตอร์มีอีกมากมายหลายภาษาให้เลือกใช้งาน มีจุดเด่นด้าน ประสิทธิภาพคําสั่งแตกตางกันไป ดังนั้นผู้สร้างงานโปรแกรมต้องศึกษาว่า ภาษาใดมีคําสั่งที่มีประสิทธิภาพควบคุมการทํางานตามต้องการ เพื่อเลือกไป ใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์งานตามที่ได้กําหนดจุดประสงค์ไว้
  • 3. 1. พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์  ภาษาคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนาควบคู่กับการประดิษฐ์เครื่อง คอมพิวเตอร์ เพื่อใช้เป็นคําสั่ง ควบคุมการทํางาน มีพัฒนาการของการสร้าง รหัสคําสั่งจนมาเป็นรูปแบบในปัจจุบัน ดังนี้  ช่วงที่ 1 คอมพิวเตอร์จัดเป็นเครื่องมือคํานวณทางอิเล็กทรอนิกส์ จึง ทํางานลักษณะวงจรเปิด – ปิด แทนค่าด้วย 0 กับ 1 ผู้สร้างภาษาจึงออกแบบ รหัสคําสั่งเป็นชุดเลขฐานสอง เรียกว่า ภาษาเครื่อง (Machine Language) ผู้ที่จะ เขียนรหัสคําสั่งควบคุมระบบได้จึงจํากัดอยู่เฉพาะกลุ่ม และใช้ใน ห้องปฏิบัติการทดลองดําเนินงาน
  • 4.  ช่วงที่ 2 จากช่วงแรกที่รหัสคําสั่งเป็นชุดเลขฐานสองมีความยุ่งยากในการ จําชุดของรหัสคําสั่ง ควบคุมการทํางาน จึงมีผู้พัฒนารหัสคําสั่งเป็นอักษร ภาษาอังกฤษรวมกับเลขฐานอื่น เช่น เลขฐานสิบหก เพื่อให้เขียนคําสั่งควบคุม งานง่ายขึ้น ตั้งชื่อภาษาว่า แอสแซมบลีหรือภาษาสัญลักษณ์ (Assembly/ Symbolic Language) พร้อมกันนี้ต้องพัฒนาโปรแกรมแปลภาษาขึ้นมาด้วย (TranslatorProgram) คือโปรแกรมแอสแซมเบลอร์ (Assembler)ใช้แปลรหัสคําสั่ง กลับมาเป็นเลขฐานสองเพื่อให้ระบบ สามารถประมวลผลได้  ช่วงที่ 3 เป็นช่วงที่บริษัทหลายแห่งสร้างภาษาคอมพิวเตอร์หลากหลาย ภาษา เน้นให้ใช้งานง่ายขึ้น โดยรหัสคําสั่งเป็นข้อความใกล้เคียงกับ ภาษาอังกฤษที่ใช้ในการสื่อสารกันอยู่แล้ว จัดให้เป็นกลุ่ม ภาษาระดับสูง (High Level Language) เช่น ภาษาเบสิก ภาษาปาสคาล ภาษาซี ในส่วนของ โปรแกรม แปลภาษามี 2 ลักษณะ คือ อินเทอรพรีตเทอร์ และคอมไพเลอร์
  • 5.  ช่วงที่ 4 เน้นเพิ่มประสิทธิภาพภาษาคอมพิวเตอร์ให้นําไปใช้ควบคุมการ ทํางานระบบ คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานรวมกับเทคโนโลยีการสื่อสาร ภาษามี รูปแบบการเขียนรหัสคําสั่งเป็นงานโปรแกรม เชิงวัตถุ (Object – Oriented Programming Language : OOP) ติดต่อใช้งานกับผู้ใช้โปรแกรมเชิง กราฟฟิก (Graphic User Interface : GUI) ลดขั้นตอนการจดจําเพื่อพิมพ์รหัสคําสั่งมาเป็นการ คลิก เลือกรายการคําสั่ง และป้อนค่าควบคุม เช่น ภาษาวิชวลเบสิก (Visual BASIC)ภาษาจาว่า (JAVA)
  • 6. 2. ภาษาระดับสูง  ภาษาคอมพิวเตอร์กลุ่มภาษาระดับสูงได้รับความนิยมใช้งานจนถึง ปัจจุบัน เพราะเป็นภาษาที่มี รูปแบบการเขียนรหัสคําสั่งสั้น สื่อความหมายตรง กับการทํางาน ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้เพื่อเขียน ชุดรหัสคําสั่งควบคุม การทํางาน ใช้หน่วยความจําระบบน้อย จึงเหมาะกับผู้เริ่มฝึกทักษะการสร้าง งาน โปรแกรมประยุกต์งานคํานวณในสาขางานต่าง ๆ เช่น ระบบงานคํานวณ ทางวิศวกรรมโยธา ระบบงาน คํานวณทางวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างภาษาระดับสูง ที่ได้รับความนิยมใช้งาน มีดังนี้
  • 7.  1) ภาษาเบสิก (BASIC: Beginner’s All-purposeSymbolic InstructionCode) เป็น ภาษาในระยะเริ่มแรกที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในห้องปฏิบัติการของ สถาบันการศึกษา เพื่อฝึกทักษะการ เขียนรหัสคําสั่งควบคุมการทํางานของ คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก คือ ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี คือ รูปแบบที่ใช้งานสั้น มี จํานวนคําสั่งไม่มาก กฎเกณฑ์การใช้คําสั่งน้อย ใช้ระยะเวลาศึกษาเรียนรู้สั้น เหมาะสมที่จะใช่ในการเรียนการสอน เพื่อฝึกทักษะการเขียนรหัสควบคุมการ ทํางานระบบ ข้อจํากัด คือ ประสิทธิภาพของคําสั่งงานมีน้อย เป็นภาษาที่ไม่มี รูปแบบโครงสร้าง จึงไม่เหมาะสมในการนําไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์งาน ในองค์กร
  • 8.  2) ภาษาโคบอล (COBOL: Common Business OrientedLanguage) เป็นภาษาใน ยุคแรกที่มีลักษณะโปรแกรมเชิงโครงสร้าง ช่วงต้นของภาษาได้รับการ ออกแบบรหัสคําสั่งเพื่อ ควบคุมการทํางานคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ประเภท เมนเฟรม และมินิ ต่อมาจึงปรับรูปแบบคําสั่งให้ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ได้ ข้อดี คือ ให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการเขียนรหัสคําสั่งควบคุมการทํางาน ไมโครคอมพิวเตอร์ก่อนที่จะไปเขียนรหัสคําสั่งควบคุมคอมพิวเตอร์ขนาด ให้ญืในการทํางานจริง ข้อจํากัด คือ โครงสร้างภาษามีส่วนประกอบของ บรรทัดคําสั่งงานมาก รูปแบบรหัส คําสั่งมีความยาว จดจําคําสั่งได้ยาก ไม่ เหมาะกับผู้เริ่มฝึกทักษะสร้างงานโปรแกรม
  • 9.  3) ภาษาปาสคาล (PASCAL)เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้าง ได้รับ การออกแบบ มาเพื่อใช้เขียนรหัสคําสั่งควบคุมการทํางานไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี คือ แต่ละส่วนของโครงสร้างกําหนดหน้าที่การเขียนรหัสคําสั่งควบคุม งาน ชัดเจน คําสั่งสั้น สื่อความหมายดี จึงจดจําได้งาย ประสิทธิภาพคําสั่งงานมี เลือกใช้งานหลากหลาย รูปแบบ ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้ เหมาะสมกับ การนําไปใช้ในหลักสูตรการเรียนการสอน ข้อจํากัด คือ ประสิทธิภาพของ คําสั่งไม่สามารถใช้ควบคุมการทํางานในลักษณะ ระบบงานแบบฐานข้อมูล หรือแบบเครือขายได้แต่อาจใช้พื้นฐานความรู้สําหรับภาษาอื่นได้ เช่น ภาษา เดลไฟ (DELPHI)ที่คําสั่งงานคลายภาษาปาสคาล
  • 10.  4) ภาษาซี เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้าง เน้นให้คําสั่งมี ประสิทธิภาพการคํานวณที่ รวดเร็ว เข้าถึงอุปกรณ์ในระบบรวมกับภาษาแอส แซมบลีได้ใช้ควบคุมการทํางานไมโครคอมพิวเตอร์  ข้อดี คือ ภาษาได้รับการพัฒนามาอย่างตอเนื่อง การออกแบบรหัสคําสั่งมี มาตรฐาน รวมกัน ถึงแม้จะเป็นภาษาซีตางบริษัทก็ใช้งานส่วนคําสั่งพื้นฐาน รวมกันได้ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้ จึงเหมาะสมสําหรับนําไปใช้ใน หลักสูตรการเรียนการสอน และนําไปใช้สร้างงานโปรแกรมระบบขนาด ใหญ่ ได้ข้อจํากัด คือ อยู่ในส่วนของรุนภาษาซีมากกว่า เช่น เทอรโบซีจะไม่ สามารถนําไป สร้างระบบงานฐานข้อมูลได้แต่หากต้องการนําไปสร้างงาน โปรแกรมแบบฐานข้อมูล ต้องใช้วิชวล ซีพลัสพลัส (Visual C++) เป็นต้น
  • 11. 3. ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator Program)  การเขียนรหัสคําสั่งควบคุมการทํางานระบบด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ใด ๆ ก็ตาม ที่มิใช้ภาษาเครื่อง ระบบไม่สามารถประมวลผลได้ทันที เพราะการ ทํางานของระบบเป็นรหัสเลขฐานสอง คือ 0 กับ 1 ดังนั้นผู้สร้าง ภาษาคอมพิวเตอร์ ต้องสร้างโปรแกรมสําหรับแปลรหัสคําสั่งให้เป็นรหัส เลขฐานสองด้วย โปรแกรมแปลรหัสคําสั่งภาษาคอมพิวเตอร์มีการทํางาน 3 ลักษณะ คือ  1.)โปรแกรมแปลภาษาแบบแอสแซมเบลอร (Assembler)ใช้แปลรหัส คําสั่งเฉพาะภาษา แอสแซมบลีให้เป็นเลขฐานสอง
  • 12.  2.)โปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์ (Compiler) ลักษณะการแปลคือ แปล คําสั่งทั้ง โครงสร้างโปรแกรมแล้วจึงแจงข้อผิดพลาดทั้งหมดเพื่อให้แก้ไข จากนั้น ต้องประมวลผลให้ หากไม่มี ข้อผิดพลาดจะสร้างแฟ้มโปรแกรมให้อัตโนมัติเพื่อเก็บ รหัสเครื่องภายหลังเมื่อเรียกใช้โปรแกรมนี้ เครื่อง จะอ่านรหัสจากโปรแกรมที่สร้าง ไว้นั้น จึงไม่ต้องเริ่มแปลรหัสให้ ข้อดี คือ ทํางานได้รวดเร็ว เพราะไม่ต้องแปลรหัสให้ ทุกครั้ง ข้อจํากัด คือ ต้องเขียนโปรแกรมให้ครบทุกส่วนของโครงสร้าง ภาษาคอมพิวเตอร์ จึง จะสามารถคอมไพลปละประมวลผลเพื่อแสดงผลได้  3.)โปรแกรมแปลภาษาแบบอินเทอรพรีตเทอร์ (Interpreter) ลักษณะการแปล คือ แปลรหัสทีละคําสั่ง เมื่อพบข้อผิดพรากจะหยุดทํางาน แล้วจึงแจงข้อผิดพลาดให้ทราบ เพื่อแก้ไข จากนั้นประมวลผลให้ จนกว่าจะไม่มีข้อผิดพลาด แต่ไม่มีการสร้างแฟ้ม โปรแกรมให้เพื่อเก็บรหัสคําสั่ง คือ สั่งให้ประมวลผลรหัสคําสั่งเพื่อดูผลการทํางานได้ ทันทีที่ต้องการ โดยไม่ ข้อดี ต้องเขียนโปรแกรมถึงบรรทัดสุดทาย ข้อจํากัด คือ หาก โปรแกรมมีบรรทัดคําสั่งจํานวนมากจะประมวลผลชา เพราะต้องเริ่ม แปลรหัสคําสั่ง ให้ที่บรรทัดคําสั่งแรกทุกครั้งที่สั่งให้ประมวลผล
  • 13.  4.)การเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ มี ข้อแนะนําในการนําไปใช้เป็นแนวทางพิจารณา เลือกภาษาคอมพิวเตอร์ ดังนี้  1. พิจารณาจุดเด่นประสิทธิภาพของคําสั่งงานของแต่ละภาษา เปรียบเทียบกับ ลักษณะงาน เช่น สร้างโปรแกรมระบบงานคํานวณทางวิศวกรรมศาสตร์ อาจ เลือกใช้ภาษาซี ภาษา ปาสคาล  2. พิจารณาลักษณะการประมวลผล เช่น ระบบงานต้องประมวลผลบน เครือข่ายอาจ เลือกใช้ภาษาวิชวลเบสิก ในรุ่นของโปรแกรมที่มีคําสั่งควบคุมการ ทํางานได้  3. พิจารณาคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์และรุนของระบบปฏิบัติการที่ใช้ ควบคุม เพื่อเลือก ภาษาคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้งานรวมกันกับระบบได้  4. ควรเลือกภาษาที่ทีมงานพัฒนาระบบงานโปรแกรมมีความชํานาญอยู่แล้ว เพื่อไม่ต้อง เสียเวลาเริ่มต้นศึกษาเรียนรู้ภาษาให้ หรือหากเป็นภาษาให้ ควรเป็นภาษา ที่มี ลักษณะใกล้เคียงกับความรู้เดิม  5. ควรเป็นภาษาที่มีลักษณะเป็นโครงสร้าง มีความยืดหยุ่นสูง เอื้ออํานวยความ สะดวกใน การปรับปรุงพัฒนาระบบงานในอนาคต
  • 14.  6. หากระบบงานต้องการความปลอดภัยเรื่องการเข้าถึงข้อมูล ต้อง คัดเลือก ภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพเรื่องนี้ด้วย  7. พิจารณางบประมาณ ใช้จัดหาคอมพิวเตอร์ที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้องมาใช้ งาน เพื่อป้องกัน ปัญหาทางกฎหมายและโดยเฉพาะอย่างยิ่งจะไม่ก่อปัญหา เมื่อขยายพัฒนาระบบงานเพิ่ม มากขึ้นในอนาคต  8. เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมใช้งานทั่วไปเพื่อศึกษา รวบรวมข้อมูล และ ป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต และมีความ เชื่อมั่นว่าจะมีผู้เชี่ยวชาญให้ คําปรึกษาหากเกิดปัญหาขึ้น
  • 15. 4.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์  การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ การพัฒนาระบบงาน (System Development) เป็นกระบวนการพัฒนาระบบงานเดิม ให้เป็น ระบบการทํางานแบบให้ มีจุดประสงค์ให้ระบบการทํางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น สําหรับการพัฒนา ระบบงาน ทางคอมพิวเตอร์นอกจากจัดหาอุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อนํามาใช้งานแล้ว ยังต้อง จัดหาโปรแกรมประยุกต์งานมาใช้ในการดําเนินงานอีกด้วย ขั้นตอนการสร้าง โปรแกรมประยุกต์งาน อาจปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม ในที่นี้มีแนวทาง ดําเนินงานดังนี้  1) ขั้นกําหนดขอบเขตปัญหา  2) ขั้นวางแผนและการออกแบบ  3) ขั้นดําเนินการเขียน คําสั่งงาน  4) ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม  5) ขั้นจัดทําคู่มือระบบ  6) ขั้นการติดตั้ง  7) ขั้น การบํารุงรักษา
  • 16. 1. ขั้นกําหนดขอบเขตปัญหา (Problem Definition)  เริ่มต้นด้วยการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานเดิม เพื่อพัฒนาระบบงานให้ อาจ วิเคราะห์งานจาก ผลลัพธ์ เช่น รูปแบบรายงาน เพื่อวิเคราะห์ส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป เช่น สมการที่ใช้คํานวณ การนําเข้า ข้อมูลที่ใช้ประมวลผล กรณีเป็นระบบงานใหญ่ ความซับซ้อนของงาน  ย่อมมากขึ้น อาจเริ่มจากสภาพปัญหา โดย รวบรวมข้อมูลปัญหาและ ความต้องการ ต่าง ๆ จากผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน เพื่อสรุป และศึกษา ความเป็นไปได้ ในการพัฒนาระบบงานให้ การกําหนดความต้องการ (Requirements Specification) เป็น ความต้องการ ประสิทธิภาพการทํางานจากระบบงานให้ รวบรวมข้อมูลความต้องการ โดยใช้เครื่องมือทางสถิติ เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ การสังเกต เพื่อหาข้อสรุป รวมกันที่ชัดเจนระหว่างผู้พัฒนาระบบและผู้ใช้ ระบบ การกําหนดความต้องการนั้นมี แนวทางในการดําเนินงาน ดังนี้
  • 17.  1) ประสานงานรวบรวมข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวของกับระบบ เพื่อประมวลความ ต้องการทั้งหมด  2) จัดทําข้อสรุปความต้องการ บันทึกลงเอกสาร และลงนามทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อป้องกัน ข้อขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นในขั้นตอนรับมอบระบบงาน  3) การให้คําจํากัดความตาง ๆ ในเอกสาร ต้องมีความชัดเจน ไม่กํากวม การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) ศึกษาสิ่งที่เกี่ยวของกับระบบงานที่เป็น ปัจจัย เอื้อต่อการทํางาน หรืออุปสรรคในการทํางานมีแนวศึกษา ดังนี้  1) ศึกษาความเป็นไปได้ด้านเทคนิค (Technical Feasibility) เช่น ศึกษาระบบ คอมพิวเตอร์ที่มีอยู่เดิมต้องปรับปรุง (Upgrade) ประสิทธิภาพเครื่องอย่างไรบาง  2) ศึกษาความเป็นไปได้เชิงเศรษฐศาสตร์ (Economical Feasibility) เช่น ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ในการดําเนินงานระบบงานให้ หรือด้านงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร รวบรวมโดย นางพวงพรรณ สุพิพัฒนโมลี ตําแหน่ง ครูชํานาญการ โรงเรียนชัยภูมิ ภักดีชุมพล  3) ศึกษาความเป็นไปได้ด้านการปฏิบัติงาน (Operational Feasibility) เช่น ทักษะ เดิมของ ผู้ใช้ระบบงานให้ การยอมรับระบบให้ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการ ทํางาน
  • 18. 2. ขั้นวางแผนและการออกแบบ (Planning & Design)  ขั้นตอนการวางแผนวิเคราะลําดับการทํางานมีหลายวิธีให้เลือกใช้ เช่น วิธี อัลกอริทึม (Algorithm) วิธีซูโดโคด (Pseudocode Design) วิธีผังงาน (Flowchart) ลําดับ ขั้นตอนการออกแบบ ระบบ เช่น การออกแบบรูปแบบการแสดงผล (Output Design) การออกแบบรูปแบบการนําเข้า ข้อมูล (Input Design) มีแนวทางการออกแบบระบบ ดังนี้  1) จํานวนและประเภทเนื้อหาของข้อมูล (Content) ต้องมีเพียงพอ ครบถ้วน สมบูรณ์ นําเสนอเฉพาะข้อมูลที่เกี่ยวของกันและแยกเป็นระบบงานย่อย  2) รูปแบบ (Form) การนําเสนอข้อมูลต้องอยู่ในรูปแบบที่ผู้ใช้ระบบเข้าใจงาย เช่น การ นําเสนอข้อมูลสรุปด้วยกราฟดีกว่าการนําเสนอข้อมูลสรุปในรูปแบบตาราง  3) รูปแบบแสดงผล (Output Format) คํานึงว่าเป็นการแสดงผลรายงานทางจอภาพ หรือ เครื่องพิมพ์เพราะการกําหนดรูปแบบ และรายละเอียดมีความแตกตางกัน
  • 19. 3. ขั้นดําเนินการเขียนคําสั่งงาน (Coding)  เป็นขั้นตอนเขียนคําสั่งควบคุมงาน ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ตามกฎเกณฑ์ ไวยากรณ์ที่กําหนดไว้ต้องลําดับคําสั่งตามขั้นตอนที่วิเคราะห์ว่า สําหรับ ขั้นตอนการเขียนคําสั่งงานมีแนวทางดําเนินงาน ดังนี้  1) จัดทีมงานในองค์กรวิเคราะห์และพัฒนาระบบงานเอง มีข้อดี คือ ปรับแก้ไขโปรแกรมได้ตามต้องการ ได้รับความรวมมือจากคนในองค์กรใน ระดับดี เพราะเป็นกลุ่มบุคคลในองค์กร เดียวกัน ข้อเสีย คือ หากไม่มี หน่วยงานรับผิดชอบโดยตรง เป็นการทํางานเฉพาะกิจ จะ เกิดความเสี่ยงใน ระบบงาน เช่น งานลาชา หรืองานไม่เสร็จสิ้นตามกําหนด
  • 20.  2) จัดซื้อโปรแกรมสําเร็จรูป ข้อดี คือ มีโปรแกรมที่นํามาใช้กับงานได้ ทันที งานขององค์กรไม่ หยุดชะงัก และมีบริการอบรมการใช้โปรแกรม ส่วน ใหญ่โปรแกรมออกแบบมาดี จึงใช้งาน ง่าย ข้อเสีย คือ โปรแกรมสําเร็จรูปมี ข้อจํากัดในตัวเอง ไม่สามารถตอบสนองความ ต้องการผู้ใช้ระบบได้ ครอบคลุมทุกด้าน และผู้ใช้ไม่สามารถแก้ไขข้อจํากัดตาง ๆ ของ โปรแกรมได้ ด้วยต้นเอง  3) จัดจ้างบริษัทพัฒนาระบบ ข้อดี คือ พัฒนาระบบงานได้รวดเร็วเพราะมี ทีมงานที่มีความ ชํานาญงานระบบงานตรงตามความต้องการของผู้ใช้ระบบ ข้อเสีย คือ ค่าจ้างการพัฒนามี ราค่าสูง เพราะต้องวิเคราะห์ระบบงานให้ และ รวมราคาการบํารุงรักษาโปรแกรมใน อนาคตไวแล้ว 
  • 21. 4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม (Testing & Debugging)  การทดสอบการทํางานของโปรแกรมแบงออกเป็น2 ช่วงคือ ช่วงแรกทดสอบโดย พัฒนา ระบบงานเองโดยใช้ข้อมูลสมมติ ทดสอบเพื่อหาข้อผิดพลาดจากการใช้ไวยากรณ์คําสั่ง และวิเคราะห์ เปรียบเทียบผลลัพธ์การทํางานกับจุดประสงค์ของงานหากไม่มีข้อผิดพลาดใด ๆ จึงสงมอบการทําสอบอีกช่วงคือ ทดสอบโดยผู้ใช้ระบบงานจริง ทั้งนี้ข้อผิดพลาดที่เกิดจาก การทดสอบ โดยสรุปมี 2 รูปแบบ คือ  1) ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการใช้คําสั่งผิดรูปแบบไวยากรณ์ที่ภาษากําหนดไว้(Syntex Errors)  2) ข้อผิดพลาดที่เกิดจากกระบวนการวิเคราะห์งานผิด (Logic Error) กรณีระบบงานขนาด ใหญ่ การทดสอบระบบงานให้โดยผู้ใช้ระบบอาจต้องฝึกอบรมการใช้โปรแกรมก่อนแล้วจึง หาข้อสรุปข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น มีแนวทางจัดฝึกอบรมการใช้โปรแกรมดังนี้  1) ฝึกอบรมโดยวิทยากร ใช้วิธี บรรยาย สาธิต และจําลองข้อมูลนําเข้า เพื่อทดสอบ ระบบ  2) เรียนรู้ด้วยต้นเอง ผู้ใช้ระบบศึกษาอ่านจากคู่มือระบบงาน หรือใช้ซีดีรอมเรียนรู้ ด้วยต้นเอง
  • 22. 5. ขั้นจัดทําคู่มือระบบ (Documentation)  เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบ ผู้พัฒนาระบบจะต้องรวบรวมเอกสารเพื่อ จัดทําคู่มือการใช้ ระบบงานให้ คู่มือระบบงานมีความสําคัญมาก เพราะ เปรียบเสมือนกับพิมพ์เขียวของบานคู่มือระบบ จึงถูกใช้เพื่อศึกษารูปแบบ ระบบงานเพื่อพัฒนาระบบในอนาคต คู่มือระบบมีหลายรูปแบบ เช่น  1) คู่มือสําหรับผู้ใช้ระบบ (User Documentation) เป็นส่วนอธิบายขั้นตอน การทํางานของ ระบบเพื่อให้ผู้ใช้ระบบเรียนรู้การทํางาน เช่น วิธีกรอกข้อมูล ในส่วนตาง ๆ  2) คู่มือระบบงาน (System Documentation) จัดทําสําหรับผู้ดูแลระบบ เช่น ขั้นตอนการ ติดตั้งโปรแกรม การแก้ปัญหาระบบงานขั้นพื้นฐาน
  • 23. 6. ขั้นการติดตั้ง (Implementation)  เป็นขั้นตอนนําระบบให้ที่ผ่านการทดสอบ และได้รับการยอมรับจากกลุ่ม ตัวแทนผู้ใช้ระบบว่า สามารถนํามาทดแทนระบบงานเดิม มีแนวทางใช้ระบบงานให้ ดังนี้  1) ติดตั้งระบบแบบหยุดระบบงานเดิมทั้งหมด และใช้ระบบงานให้ทันที (Direct Changeover) วิธีนี้สะดวกกับผู้ใช้คือ ทํางานระบบงานเดียว แต่มีความเสี่ยงสูงหาก ระบบงานให้มีปัญหาจะไม่สามารถใช้ระบบงานระบบใดได้เลย  2) ติดตั้งระบบแบบคู่ขนาน (Parallel Running) เป็นการทํางาน 2 ระบบในคราว เดียวกัน เพื่อป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นกับระบบงานให้ ยังคงมีระบบงานเดิมสํารอง ความผิดพลาด ที่ไม่อาจคาดคิด เกิดขึ้นได้แต่เป็นการเพิ่มภาระงานของผู้ใช้ระบบที่ ต้องทํางานทั้ง 2 ระบบ จนกว่าแน่ใจว่าระบบงานให้ สามารถใช้รองรับการทํางานได้ โดยไม่มีข้อผิดพลาดใด ๆ 
  • 24.  3) ติดตั้งระบบแบบทีละเฟส (Phase Changeover) เป็นการติดตั้งระบบ ย่อยทีละระบบจาก ระบบงานทั้งหมด เพื่อพิจารณาประสิทธิภาพการทํางาน หากมีข้อผิดพลาดที่เฟสใดจะ ดําเนินการแก้ไขเฉพาะเฟสนั้นก่อน จากนั้นจึง ขยายจนครบทั้งระบบ  4) ติดตั้งระบบแบบโครงการนํารอง (Pilot Project) พิจารณาจัดทํา เฉพาะงานของหน่วยงาน ในองค์กรที่มีความสําคัญและความจําเป็น พิจารณา ผลงานที่ได้หากไม่มีปัญหาเรื่องใด จึง ขยายระบบงานตอไป
  • 25. 7. ขั้นการบํารุงรักษา (Maintenance)  เป็นการดูแลระบบงานหลังติดตั้งระบบ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานได้ ตลอดเวลา สาเหตุที่ต้อง บํารุงรักษา มีดังนี้  1) การบํารุงรักษาด้วยการแก้ไขระบบให้ถูกต้อง (Corrective Maintenance) เป็น ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นหลังจากมีการใช้ข้อมูลจริงในระบบงาน ซี่งตรวจสอบไม่พบใน ขั้นการ ทดสอบระบบ  2) การบํารุงรักษาด้วยการปรับปรุงให้ดีขึ้น (Perfective Maintenance) เป็นการปรับ ระบบงานกรณีผลกระทบอื่น เช่น การปรับปรุงการคํานวณภาษีที่มีการเปลี่ยนแปลง ไปตาม นโยบายของรัฐ  3) การบํารุงรักษาด้วยการป้องกัน (Preventive Maintenance) เช่น ป้องกันการเกิด ความ สูญหายของข้อมูลที่อาจเกิดจากระบบไฟฟ้า การทําระบบสํารองข้อมูล การ ป้องกันไวรัส คอมพิวเตอร์ (Virus) การบุกรุกข้อมูล (Hacker)
  • 26. แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน  แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน กรณีโปรแกรมประยุกต์งาน เป็นงานโปรแกรมเพื่อใช้แก้ปัญหางานคํานวณในสายวิชาชีพเฉพาะ สาขา เช่น งานวิศวกรรมศาสตร์ งานวิทยาศาสตร์ ดังนั้นหากผู้สร้างงานโปรแกรมเป็นผู้ อยู่ในสาย วิชาชีพนั้นยอมสามารถวิเคราะห์ วางแผนลําดับการทํางาน และ ลําดับคําสั่งควบคุมการทํางานได้ดี ถูกต้องกว่าให้ผู้อื่นจัดทํา ระบบงาน โปรแกรมมีลักษณะตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ระบบได้มากที่สุด และ สามารถปรับระบบงานได้ด้วยต้นเอง มีแนวทางดําเนินงานสร้างโปรแกรม ประยุกต์งาน ดังนี้
  • 27. 1. ขั้นวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น  อาจวิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรือลักษณะรูปแบบรายงานของระบบงานนั้น เพื่อ วิเคราะห์ย้อนกลับ ไปถึงที่มาของข้อมูลคือสมการคํานวณ จนถึงข้อมูลที่ต้องปอนเข้า ระบบเพื่อใช้ในสมการ แนวทางการ วิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นโดยสรุปมีขั้นตอน ย่อยดังนี้  1) สิ่งที่ต้องการ  2) สมการคํานวณ  3) ข้อมูล นําเข้า  4) การแสดงผล  5) กําหนดคุณสมบัติตัวแปร  6) ลําดับขั้นตอนการทํางาน 
  • 28. 2. ขั้นวางแผนลําดับการทํางาน  มีหลายวิธี เช่น อัลกอริทึม ซูโดโคด ผังงาน ต่างมีจุดประสงค์เพื่อแสดง ลําดับขั้นตอน กระบวนการแก้ปัญหางานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ก่อน ไปสู่ขั้นตอนการเขียนคําสั่งงานและกรณี โปรแกรมมีข้อผิดพลาด สามารถ ย้อนกลับมาตรวจสอบที่ขั้นตอนนี้ได้
  • 29. 3. ขั้นดําเนินการเขียนโปรแกรม  เป็นขั้นตอนการเขียนคําสั่งควบคุมตามลําดับการทํางานที่ได้วิเคราะห์ไว้ใน กระบวนการวางแผน ลําดับการทํางาน ขั้นตอนนี้ต้องใช้คําสั่งให้ถูกต้องตาม รูปแบบกฎเกณฑ์ไวยากรณ์การใช้งานคําสั่ง ที่แต่ ละภาษาได้กําหนดไว้
  • 30. 4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม  กรณีผู้สร้างระบบงานและผู้ใช้ระบบงานเป็นคนเดียวกันการทดสอบจึงมี ขั้นตอนเดียวคือ ทดสอบไวยากรณ์คําสั่งงาน และทดสอบโดยใช้ข้อมูลจริงเพื่อ ตรวจสอบค่าผลลัพธ์ แต่กรณีที่ผู้สร้าง ระบบงานและผู้ใช้ระบบงานมิใช้คน เดียวกัน การทดสอบระบบจะมี 2 ช่วงคือ ทดสอบโดยใช้ผู้สร้าง ระบบงาน เมื่อ ไม่มีข้อผิดพลาดใด จึงส่งให้ผู้ใช้ระบบงานเป็นผู้ทดสอบหากมีข้อผิดพลาดใด จะถูก ส่งกลับไปให้ผู้สร้างระบบงานแก้ไข และตรวจสอบจนกว่าจะถูกต้อง แล้วจึงสงมอบระบบงาน
  • 31. 5. ขั้นเขียนเอกสารประกอบ  เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบให้ผลลัพธ์การทํางานถูกต้อง ต้องจัดทํา เอกสารประกอบการใช้ โปรแกรมด้วย คู่มือระบบงานที่งายที่สุดคือ รวมรวม เอกสารที่จัดทําจาก 1 – 4 มารวมเล่ม นอกนั้น อาจมีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีใช้ โปรแกรมระบบงาน เช่น วิธีปอนข้อมูล หรืออาจมีวิธีติดตั้งโปรแกรม ระบบงาน รวมทั้งคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถนําโปรแกรมไปใช้ งาน เป็นต้น
  • 32. การลําดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน  การลําดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน ผังงานเป็นขั้นตอนวางแผนการทํางาน ของคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่ง มีจุดประสงค์เพื่อแสดงลําดับ การควบคุมการ ทํางาน โดยใช้สัญลักษณที่กําหนดความหมายใช้งานเป็นมาตรฐาน เชื่อมโยง การทํางาน ด้วยลูกศร ในที่นี้กล่าวถึงการลําดับขั้นตอนการทํางานด้วยผังงาน ประเภทผังงานโปรแกรม ดังนี้  1.สัญลักษณ์ของผังงาน ในที่นี้กล่าวถึงเฉพาะสัญลักษณ์ที่ใช้ในการ เขียนผังงานโปรแกรมเป็นส่วนใหญ่ ดังนี้
  • 33.
  • 34. 2. หลักในการเขียนผังงาน ข้อแนะนําในการเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อานระบบงาน ใช้ศึกษา ตรวจสอบลําดับการ ทํางานได้งาย ไม่สับสน มีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้  1. ทิศทางการทํางานต้องเรียงลําดับตามขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้  2. ใช้ชื่อหนวยความจํา เช่น ตัวแปร ให้ตรงกับขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้  3. ลูกศรกํากับทิศทางใช้หัวลูกศรตรงปลายทางเทานั้น  4. เส้นทางการทํางานหามมีจุดตัดการทํางาน  5. ต้องไม่มีลูกศรลอย ๆ โดยไม่มีการตอจุดการทํางานใด ๆ  6. ใช้สัญลักษณ์ให้ตรงกับความหมายการใช้งาน  7. หากมีคําอธิบายเพิ่มเติมให้เขียนไว้ด้านขวาของสัญลักษณ์นั้น
  • 35. 3. ประโยชน์ของผังงาน  การเขียนผังงานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์นั้นมีประโยชน ดังนี้  1. ทําให้องเห็นรูปแบบของงานได้ทั้งหมด โดยใช้เวลาไม่มาก  2. การเขียนผังงานเป็นสากล สามารถนําไปเขียนคําสั่งได้ทุกภาษา  3. สามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ว  4. รูปแบบการเขียนผังงาน การเขียนผังงานแสดงลําดับการทํางานของ ระบบงานไม่มีรูปแบบการเขียนตายตัว เพราะเป็น เรื่องการออกแบบ ระบบงานของแต่ละบุคคล ในส่วนนี้เป็นการนําเสนอรูปแบบการเขียนผังงาน โปรแกรม ดังนี้
  • 36.  1.) การเขียนผังงานแบบเรียงลําดับ แสดงขั้นตอนการทํางานตามลําดับ โดยไม่มีทางแยกการ ทํางานแต่อย่างใด เช่น  2. ) การเขียนผังงานแบบมีทางเลือกการทํางาน แสดงขั้นตอนการ ทํางานที่มีลักษณะกําหนด เงื่อนไขทางตรรกะ ให้ระบบสรุปว่าจริงหรือเท็จ เพื่อเลือกทิศทางประมวลผลคําสั่งที่ได้กําหนดไว้เช่น รวบรวมโดย นางพวง พรรณ สุพิพัฒนโมลี ตําแหน่ง ผู้ชํานาญการ โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล  3. ) การเขียนผังงานตรวจสอบเงื่อนไขก่อนวนซํ้าแสดงขั้นตอนการ ทํางานที่มีลักษณะกําหนด เงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบก่อน เพื่อ เลือกทิศทางการวนซํ้าหรือออกจากการวน ซํ้าเช่น  4. ) การเขียนผังงานแบบตรวจสอบเงื่อนไขหลังวนซํ้าแสดงขั้นตอน การทํางานที่มีลักษณะ ทํางานก่อน 1 รอบ แล้วจึงกําหนดเงื่อนไขทางตรรกะ ให้ระบบตรวจสอบ เพื่อเลือกทิศ ทางการวนซํ้าหรือออกจากการวนซํ้า
  • 37. จัดทําโดย 1.นายณรงค์เดช บุญพุ่มพวง เลขที่ 2 2.นายชุติพนธ์ บัวเพชร เลขที่ 8 3.นายปรินทร สุกุลธนาศร เลขที่ 10 4.นางสาวอรปรียา สงวนศักดิ์ เลขที่ 23 5.นางสาวปัทมา พรหมขนะ เลขที่ 30 6.นางสาวอรฤทัย อินทนิล เลขที่ 32 7.นางสาวมนัชญา วสุอนันต์กุล เลขที่ 38 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 เสนอ อาจารย์ ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม รายวิชาการเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ (ง30212) โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี