SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
มองเห็นเส้นขนาน ตรงไหนกันบ้างค่ะ ?
คานา 
หนังสือขนาดเล็กเล่มนี้ เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา นวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ รหัสวิชา 241208 คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น สื่อชิ้นนี้จัดทาขึ้นเพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาหาความรู้ ค้นคว้า เพิ่มเติม จากที่ได้เรียนในห้อง เรื่อง เส้นขนาน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เนื้อหาสาระความรู้ในสื่อนี้ได้มา จากการค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลจากเว็บไซต์ต่างๆ ซึ่งในการจัดทา ครั้งนี้ได้รับความอนุเคราะห์จาก อาจารย์ ดร.อนุชา โสมาบุตร ซึ่ง เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ในการผลิตสื่อชิ้นนี้ ข้าพเจ้าจึงขอขอบคุณ ไว้ ณ โอกาสนี้ และขอขอบคุณ แหล่งข้อมูลความรู้ต่าง ๆที่ทาให้เกิดสื่อชิ้นนี้ขึ้น 
พรสวรรค์ เพชรกลับ
สารบัญ 
เรื่อง 
หน้า 
1 
2 
3 
5 
10 
10 
14 
15 
19 
21 
แผนผังความคิด 
เส้นขนาน 
เส้นขนานและมุมภายใน 
แบบฝึกหัด 
เส้นขนานและมุมแย้ง 
แบบฝึกหัด 
เส้นขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน 
แบบฝึกหัด 
เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม 
แบบฝึกหัด
เส้นขนานและ มุมภายใน 
เส้นขนาน 
แผนผังความคิด 
เส้นขนานและมุมแย้ง 
เส้นขนานและมุม ภายนอกกับภายใน 
เส้นขนานและรูป สามเหลี่ยม 
1
ใส่เครื่องหมาย หน้ารูปภาพที่เป็น เส้นขนาน และใส่เครื่องหมาย หน้ารูปภาพที่ไม่เป็นเส้น 
1………. 
รางรถไฟ 
เส้นขนาน 
2………. 
เส้นกีต้า 
3………. 
เสาสัญญาณ 
4………. 
เส้นบรรทัดในสมุด 
ตะแกรงครอบใบพัด 
ไม้บรรทัด 
6………. 
5………. 
ทบทวนความรู้กันหน่อย 
2
การขนานกันของเส้นตรงมีบทนิยามดังนี้ 
เราสามารถกล่าวว่า ส่วนของเส้นตรงหรือรังสีขนานกัน เมื่อส่วนของ เส้นตรงหรือรังสีนั้น เป็นส่วนหนึ่งของเส้นตรงที่ขนานกัน เช่น 
……………... 
……………... 
ในการเขียนรูปเส้นตรง ส่วนของเส้นตรง หรือรังสีที่ขนานกัน อาจใช้ ลูกศรแสดงเส้นที่ขนานกันดังตัวอย่างในรูป 
แสดงว่า 
และ 
……………... 
บทนิยาม เส้นตรงสองเส้นที่อยู่บนระนาบเดียวกันขนานกัน ก็ต่อเมื่อ เส้นตรงสองเส้นนั้น ไม่ตัดกัน 
เส้นขนานและมุมภายใน เป็นอย่างไรน้า ? 
3
ระยะห่างเส้นขนานเป็นอย่างไรน้า ? 
พิจารณารูปต่อไปนี้ 
ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกัน แล้วระยะห่างระหว่างเส้นตรงคู่ นั้นจะเท่ากันเสมอ และในทางกลับกัน ถ้าเส้นตรงสองเส้นมีระยะห่าง ระหว่างเส้นตรงสองเส้นเท่ากันเสมอแล้วเส้นตรงคู่นั้นจะขนานกัน 
4
ในทางปฎิบัติ เมื่อต้องการตรวจสอบว่า เส้นตรงสองเส้นที่กาหนดให้ขนานกัน หรือไม่ อาจตรวจสอบระยะห่างระหว่างเส้นตรงทั้งสองที่วัดจากจุดที่แตกต่างกันอย่าง น้อยสองจุดบนเส้นตรงหนึ่งก็เพียงพอ 
จากรูปที่กาหนดให้ ให้นักเรียนพิจารณาว่า เส้นตรงคู่ใดบ้างที่ขนานกัน 
1. 
4. 
3. 
2. 
……………………………………… 
……………………………………… 
……………………………… 
…………………………………… 
ลอง สารวจ ตรวจสอบ เส้นขนาน กันหน่อย 
5
มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด เป็นอย่างไรน้า ? 
ลอง สารวจ ตรวจสอบ มุม ภายในกันหน่อย 
ให้นักเรียนบอกมุมคู่ที่เป็นมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด 
มุม a กับ c 
และ………… 
มุม p กับ q 
และ………… 
………………. 
6
ลอง สารวจ ตรวจสอบ เส้น ขนานและมุมภายใน กันหน่อย 
จากคาตอบที่ได้จากข้อ 1 2 และ 3 ได้ผลสรุปที่เป็นไปตามสมบัติของเส้นขนาน 
เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน ก็ต่อเมื่อ 
ขนาดมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันเท่ากับ 180 
…………………….. 
…………………….. 
…………………….. 
…………………….. 
…………………….. 
7
นาไปใช้อย่างไร 
ลองฝึกฝีมือกันหน่อย 
1.ให้นักเรียนพิจารณาว่า เส้นตรงแต่ละคู่ต่อไปนี้ ขนากันหรือไม่ขนานกัน เพราะเหตุ 
………………………… ………………………… 
………………………… ………………………… 
8
2. กาหนดเส้นตรง m และ n ขนานกันและมีเส้นตัดกัน ให้นักเรียนหาค่าของตัวแปรในแต่ละข้อต่อไปนี้ 
a = 180°- 60° a= 120° 
………………… ………………… 
………………… ………………… 
………………… ………………… 
3. จงหาค่า x ในแต่ละข้อต่อไปนี้ เมื่อกาหนดเส้นตรง AB ขนานกับ CD 
………………… ………………… 
………………… ………………… 
………………… ………………… 
………………… ………………… 
9
เส้นขนานและมุมแย้ง เป็นอย่างไรน้า ? 
ลอง สารวจ ตรวจสอบ มุมแย้ง 
1. ในแต่ละรูป กาหนดให้ เส้นตรง AB และ CD มีเส้นตรง EF เป็นเส้นตัด จงสารวจว่ามุมคู่ 
………………… ………………... 
………………… ………………... 
10
2. ในแต่ละรูป กาหนดให้ เส้นตรง AB ขนานกับ CD มีเส้นตรง EF เป็นเส้นตัด จงสารวจว่ามุมแย้งคู่ใดมีขนาดเท่ากัน 
…………………….. 
…………………….. 
จากกิจกรรมข้างต้น สรุปได้ว่า ถ้าเส้นตรง AB ขนานกับ CD มีเส้นตรง EF เป็น เส้นตัด แล้ว ……………………………………………………………………………….. 
ซึ่งเป็นไปตามทฤษฎีบทต่อไปนี้ 
จากสองทฤษฎีบทข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า 
ทฤษฎีบท ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกันและมีเส้นตัด แล้ว มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน 
ในการตรวจสอบว่า เส้นตรงสองเส้นขนานกันหรือไม่ นอกจากจะพิจารณา จากขนาดของมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดเส้นตรงทั้งสองเส้นแล้ว ยัง สามารถพิจารณาจากขนาดของมุมแย้งได้ ดังทฤษฎีบทต่อไปนี้ 
ทฤษฎีบท ถ้าเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง ทาให้มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน แล้ว เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน 
ทฤษฎีบท เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน ก็ต่อเมื่อ มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน 
11
ลองฝึกฝีมือกันหน่อย 
ให้นักเรียนหาค่า x และ y ในแต่ละข้อต่อไปนี้ พร้อมทั้งบอกเหตุผล 
…………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………... 
…………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………... 
…………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………... 
12
…………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………... 
…………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………... 
…………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………... 
13
เส้นขนานและมุมภายนอกกับ มุมภายใน เป็นอย่างไรน้า ? 
พิจารณารูปต่อไปนี้ 
14
ลอง สารวจ ตรวจสอบ มุม ภายนอกและมุมภายใน กันหน่อย 
1. ในแต่ละรูป กาหนดให้ เส้นตรง AB และ CD มีเส้นตรง EF เป็นเส้นตัด จงสารวจ ว่ามุมคู่ใดเป็นมุมภายนอกและมุมภายในที่อยู่ตรงข้ามบนข้างเดียวกันของเส้นตัด 
………………………………………… …………………………………………. 
………………………………………… …………………………………………. 
2. ในแต่ละรูป กาหนดให้ เส้นตรง AB และ CD มีเส้นตรง EF เป็นเส้นตัด จงสารวจว่ามุมภายนอกและมุมภายในที่อยู่ตรงข้ามบนข้างเดียวกันของเส้น 
………………………………………… …………………………………………. 
………………………………………… …………………………………………. 
15
จากกิจกรรมข้างต้น สรุปได้ว่า ถ้าเส้นตรง AB ขนานกับ CD มีเส้นตรง EF เป็นเส้นตัด แล้ว ................................................................................................ 
ซึ่งเป็นไปตามทฤษฎีบทต่อไปนี้ 
ทฤษฎีบท ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกันและมีเส้นตัด แล้ว มุมภายนอกและมุมภายในที่อยู่ตรงข้ามบนข้างเดียวกันของเส้นตัดมีขนาดเท่ากัน 
ในการตรวจสอบว่า เส้นตรงคู่หนึ่งขนานกันหรือไม่ สามารถพิจารณาจาก มุมภายนอกและมุมภายในที่อยู่ตรงข้ามบนข้างเดียวกันของเส้นตัด ดังทฤษฎีต่อไปนี้ 
ทฤษฎีบท ถ้าเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง ทาให้มุมภายนอกและมุมภายในที่ อยู่ตรงข้ามบนข้างเดียวกันของเส้นตัดมีขนาดเท่ากัน แล้ว เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน 
จากสองทฤษฎีบทข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า 
ทฤษฎีบท เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน ก็ต่อเมื่อ มุมภายนอกและมุมภายในที่อยู่ตรงข้ามบนข้างเดียวกันของเส้นตัดมีขนาดเท่ากัน 
16
ลองฝึกฝีมือกันหน่อย 
…………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………... 
…………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………... 
…………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………... 
17
ลองฝึกฝีมือกันหน่อย 
จงหาขนาดของมุมต่อไปนี้ 
มุม 1 = ……………………. 
มุม 2 = ……………………. 
มุม 1 = ……………………. 
มุม 2 = ……………………. 
มุม X = ……………………. 
มุม Y = ……………………. 
18
เส้นขนานและรูป สามเหลี่ยมเป็นอย่างไรน้า ? 
นักเรียนทราบหรือไม่ว่า “ขนาดของมุม ภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยม รวมกันเท่ากับกี่องศา?” 
ตอบ …………………..ข้อความนี้เป็นทฤษฎีบทที่สาคัญบทหนึ่งทางเรขาคณิต ซึ่งมีดังนี้ 
ทฤษฎีบท ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกันเท่ากับ 180 องศา 
ทฤษฎีบทข้างต้น สามารถนามาใช้พิสูจน์ทฤษฎีบทที่เกี่ยวข้องกับขนาดของ มุมภายนอกและขนาดของมุมภายในของรูป 
19
ทฤษฎีบท ถ้าต่อด้านใดด้านหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมออกไป มุมภายนอกที่เกิดขึ้นจะมี ขนาดเท่ากับผลบวกของขนาดของมุมภายในที่ไม่ใช่มุมประชิดของมุมภายนอกนั้น 
นาไปใช้อย่างไร 
ทฤษฎีบท ถ้ารูปสามเหลี่ยมสองรูปมีมุมที่มีขนาดเท่ากันสองคู่ และด้านคู่ที่อยู่ตรง ข้ามกับมุมคู่ที่มีขนาดเท่ากัน ยาวเท่ากันหนึ่งคู่ แล้ว รูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นเท่ากัน 
20
ให้นักเรียนหาค่า x และ y จากรูปที่กาหนดให้ 
ลองฝึกฝีมือกันหน่อย 
1 
4 
3 
2 
มุม X = ……………………. 
มุม Y = ……………………. 
มุม X = ……………………. 
มุม Y = ……………………. 
มุม X = ……………………. 
มุม Y = ……………………. 
มุม X = ……………………. 
มุม Y = ……………………. 
21
มุม X = ……………………. 
มุม Y = ……………………. 
5 
6 
7 
8 
มุม X = ……………………. 
มุม Y = ……………………. 
มุม X = ……………………. 
มุม Y = ……………………. 
มุม X = ……………………. 
มุม Y = ……………………. 
22
………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………... 
………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………... 
………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………... 
ลองฝึกฝีมือกันต่ออีกสักนิด 
23
นางสาวพรสวรรค์  เพชรกลับ  รหัส 563050114 7 (สมุดขนาดเล็ก)

More Related Content

Similar to นางสาวพรสวรรค์ เพชรกลับ รหัส 563050114 7 (สมุดขนาดเล็ก)

O-net คณิตศาสตร์ 56
O-net คณิตศาสตร์ 56O-net คณิตศาสตร์ 56
O-net คณิตศาสตร์ 56gunnygreameyes
 
M onet56-140628092525-phpapp01
M onet56-140628092525-phpapp01M onet56-140628092525-phpapp01
M onet56-140628092525-phpapp01sincerecin
 
ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 56
ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 56ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 56
ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 56gunnygreameyes
 
ข้อสอบ วิชาคณิตศาสตร์ Onat
ข้อสอบ วิชาคณิตศาสตร์ Onatข้อสอบ วิชาคณิตศาสตร์ Onat
ข้อสอบ วิชาคณิตศาสตร์ Onatvipawee613_14
 
ข้อสอบOnet วิชาคณิตศาสตร์
ข้อสอบOnet วิชาคณิตศาสตร์ข้อสอบOnet วิชาคณิตศาสตร์
ข้อสอบOnet วิชาคณิตศาสตร์vipawee613_14
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยWatcharinz
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ O-net'56
ข้อสอบคณิตศาสตร์ O-net'56ข้อสอบคณิตศาสตร์ O-net'56
ข้อสอบคณิตศาสตร์ O-net'56praeploy2539
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfssusera0c3361
 
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส ratiporn-hk
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์usaneepor
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 

Similar to นางสาวพรสวรรค์ เพชรกลับ รหัส 563050114 7 (สมุดขนาดเล็ก) (20)

O-net คณิตศาสตร์ 56
O-net คณิตศาสตร์ 56O-net คณิตศาสตร์ 56
O-net คณิตศาสตร์ 56
 
M onet56-140628092525-phpapp01
M onet56-140628092525-phpapp01M onet56-140628092525-phpapp01
M onet56-140628092525-phpapp01
 
ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 56
ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 56ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 56
ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 56
 
ข้อสอบ วิชาคณิตศาสตร์ Onat
ข้อสอบ วิชาคณิตศาสตร์ Onatข้อสอบ วิชาคณิตศาสตร์ Onat
ข้อสอบ วิชาคณิตศาสตร์ Onat
 
M onet56
M onet56M onet56
M onet56
 
ข้อสอบOnet วิชาคณิตศาสตร์
ข้อสอบOnet วิชาคณิตศาสตร์ข้อสอบOnet วิชาคณิตศาสตร์
ข้อสอบOnet วิชาคณิตศาสตร์
 
Onet5602 2
Onet5602 2Onet5602 2
Onet5602 2
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
 
One tmath
One tmathOne tmath
One tmath
 
Onet5602
Onet5602Onet5602
Onet5602
 
Onet5602 math
Onet5602 mathOnet5602 math
Onet5602 math
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ O-net'56
ข้อสอบคณิตศาสตร์ O-net'56ข้อสอบคณิตศาสตร์ O-net'56
ข้อสอบคณิตศาสตร์ O-net'56
 
Onet5602
Onet5602Onet5602
Onet5602
 
Onet56
Onet56Onet56
Onet56
 
Onet
OnetOnet
Onet
 
M onet56
M onet56M onet56
M onet56
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
 
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 

More from Pronsawan Petklub

งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10Pronsawan Petklub
 
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)Pronsawan Petklub
 
งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7Pronsawan Petklub
 
งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6Pronsawan Petklub
 
งานกลุ่ม Chapter5
งานกลุ่ม Chapter5งานกลุ่ม Chapter5
งานกลุ่ม Chapter5Pronsawan Petklub
 
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter4
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter4นวัตกรรมกลุ่ม Chapter4
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter4Pronsawan Petklub
 
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3Pronsawan Petklub
 
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม  Chapter3นวัตกรรมกลุ่ม  Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3Pronsawan Petklub
 
นวัตกรรม สรุปคุณลักษณะที่ดีของเนื้อหา การนำเสนอ และสื่อการนำเสนอ
นวัตกรรม สรุปคุณลักษณะที่ดีของเนื้อหา การนำเสนอ และสื่อการนำเสนอนวัตกรรม สรุปคุณลักษณะที่ดีของเนื้อหา การนำเสนอ และสื่อการนำเสนอ
นวัตกรรม สรุปคุณลักษณะที่ดีของเนื้อหา การนำเสนอ และสื่อการนำเสนอPronsawan Petklub
 

More from Pronsawan Petklub (9)

งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10
 
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
 
งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7
 
งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6
 
งานกลุ่ม Chapter5
งานกลุ่ม Chapter5งานกลุ่ม Chapter5
งานกลุ่ม Chapter5
 
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter4
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter4นวัตกรรมกลุ่ม Chapter4
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter4
 
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
 
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม  Chapter3นวัตกรรมกลุ่ม  Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
 
นวัตกรรม สรุปคุณลักษณะที่ดีของเนื้อหา การนำเสนอ และสื่อการนำเสนอ
นวัตกรรม สรุปคุณลักษณะที่ดีของเนื้อหา การนำเสนอ และสื่อการนำเสนอนวัตกรรม สรุปคุณลักษณะที่ดีของเนื้อหา การนำเสนอ และสื่อการนำเสนอ
นวัตกรรม สรุปคุณลักษณะที่ดีของเนื้อหา การนำเสนอ และสื่อการนำเสนอ
 

นางสาวพรสวรรค์ เพชรกลับ รหัส 563050114 7 (สมุดขนาดเล็ก)

  • 2. คานา หนังสือขนาดเล็กเล่มนี้ เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา นวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ รหัสวิชา 241208 คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น สื่อชิ้นนี้จัดทาขึ้นเพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาหาความรู้ ค้นคว้า เพิ่มเติม จากที่ได้เรียนในห้อง เรื่อง เส้นขนาน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เนื้อหาสาระความรู้ในสื่อนี้ได้มา จากการค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลจากเว็บไซต์ต่างๆ ซึ่งในการจัดทา ครั้งนี้ได้รับความอนุเคราะห์จาก อาจารย์ ดร.อนุชา โสมาบุตร ซึ่ง เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ในการผลิตสื่อชิ้นนี้ ข้าพเจ้าจึงขอขอบคุณ ไว้ ณ โอกาสนี้ และขอขอบคุณ แหล่งข้อมูลความรู้ต่าง ๆที่ทาให้เกิดสื่อชิ้นนี้ขึ้น พรสวรรค์ เพชรกลับ
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้า 1 2 3 5 10 10 14 15 19 21 แผนผังความคิด เส้นขนาน เส้นขนานและมุมภายใน แบบฝึกหัด เส้นขนานและมุมแย้ง แบบฝึกหัด เส้นขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน แบบฝึกหัด เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม แบบฝึกหัด
  • 4. เส้นขนานและ มุมภายใน เส้นขนาน แผนผังความคิด เส้นขนานและมุมแย้ง เส้นขนานและมุม ภายนอกกับภายใน เส้นขนานและรูป สามเหลี่ยม 1
  • 5. ใส่เครื่องหมาย หน้ารูปภาพที่เป็น เส้นขนาน และใส่เครื่องหมาย หน้ารูปภาพที่ไม่เป็นเส้น 1………. รางรถไฟ เส้นขนาน 2………. เส้นกีต้า 3………. เสาสัญญาณ 4………. เส้นบรรทัดในสมุด ตะแกรงครอบใบพัด ไม้บรรทัด 6………. 5………. ทบทวนความรู้กันหน่อย 2
  • 6. การขนานกันของเส้นตรงมีบทนิยามดังนี้ เราสามารถกล่าวว่า ส่วนของเส้นตรงหรือรังสีขนานกัน เมื่อส่วนของ เส้นตรงหรือรังสีนั้น เป็นส่วนหนึ่งของเส้นตรงที่ขนานกัน เช่น ……………... ……………... ในการเขียนรูปเส้นตรง ส่วนของเส้นตรง หรือรังสีที่ขนานกัน อาจใช้ ลูกศรแสดงเส้นที่ขนานกันดังตัวอย่างในรูป แสดงว่า และ ……………... บทนิยาม เส้นตรงสองเส้นที่อยู่บนระนาบเดียวกันขนานกัน ก็ต่อเมื่อ เส้นตรงสองเส้นนั้น ไม่ตัดกัน เส้นขนานและมุมภายใน เป็นอย่างไรน้า ? 3
  • 7. ระยะห่างเส้นขนานเป็นอย่างไรน้า ? พิจารณารูปต่อไปนี้ ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกัน แล้วระยะห่างระหว่างเส้นตรงคู่ นั้นจะเท่ากันเสมอ และในทางกลับกัน ถ้าเส้นตรงสองเส้นมีระยะห่าง ระหว่างเส้นตรงสองเส้นเท่ากันเสมอแล้วเส้นตรงคู่นั้นจะขนานกัน 4
  • 8. ในทางปฎิบัติ เมื่อต้องการตรวจสอบว่า เส้นตรงสองเส้นที่กาหนดให้ขนานกัน หรือไม่ อาจตรวจสอบระยะห่างระหว่างเส้นตรงทั้งสองที่วัดจากจุดที่แตกต่างกันอย่าง น้อยสองจุดบนเส้นตรงหนึ่งก็เพียงพอ จากรูปที่กาหนดให้ ให้นักเรียนพิจารณาว่า เส้นตรงคู่ใดบ้างที่ขนานกัน 1. 4. 3. 2. ……………………………………… ……………………………………… ……………………………… …………………………………… ลอง สารวจ ตรวจสอบ เส้นขนาน กันหน่อย 5
  • 9. มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด เป็นอย่างไรน้า ? ลอง สารวจ ตรวจสอบ มุม ภายในกันหน่อย ให้นักเรียนบอกมุมคู่ที่เป็นมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด มุม a กับ c และ………… มุม p กับ q และ………… ………………. 6
  • 10. ลอง สารวจ ตรวจสอบ เส้น ขนานและมุมภายใน กันหน่อย จากคาตอบที่ได้จากข้อ 1 2 และ 3 ได้ผลสรุปที่เป็นไปตามสมบัติของเส้นขนาน เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน ก็ต่อเมื่อ ขนาดมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันเท่ากับ 180 …………………….. …………………….. …………………….. …………………….. …………………….. 7
  • 11. นาไปใช้อย่างไร ลองฝึกฝีมือกันหน่อย 1.ให้นักเรียนพิจารณาว่า เส้นตรงแต่ละคู่ต่อไปนี้ ขนากันหรือไม่ขนานกัน เพราะเหตุ ………………………… ………………………… ………………………… ………………………… 8
  • 12. 2. กาหนดเส้นตรง m และ n ขนานกันและมีเส้นตัดกัน ให้นักเรียนหาค่าของตัวแปรในแต่ละข้อต่อไปนี้ a = 180°- 60° a= 120° ………………… ………………… ………………… ………………… ………………… ………………… 3. จงหาค่า x ในแต่ละข้อต่อไปนี้ เมื่อกาหนดเส้นตรง AB ขนานกับ CD ………………… ………………… ………………… ………………… ………………… ………………… ………………… ………………… 9
  • 13. เส้นขนานและมุมแย้ง เป็นอย่างไรน้า ? ลอง สารวจ ตรวจสอบ มุมแย้ง 1. ในแต่ละรูป กาหนดให้ เส้นตรง AB และ CD มีเส้นตรง EF เป็นเส้นตัด จงสารวจว่ามุมคู่ ………………… ………………... ………………… ………………... 10
  • 14. 2. ในแต่ละรูป กาหนดให้ เส้นตรง AB ขนานกับ CD มีเส้นตรง EF เป็นเส้นตัด จงสารวจว่ามุมแย้งคู่ใดมีขนาดเท่ากัน …………………….. …………………….. จากกิจกรรมข้างต้น สรุปได้ว่า ถ้าเส้นตรง AB ขนานกับ CD มีเส้นตรง EF เป็น เส้นตัด แล้ว ……………………………………………………………………………….. ซึ่งเป็นไปตามทฤษฎีบทต่อไปนี้ จากสองทฤษฎีบทข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า ทฤษฎีบท ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกันและมีเส้นตัด แล้ว มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน ในการตรวจสอบว่า เส้นตรงสองเส้นขนานกันหรือไม่ นอกจากจะพิจารณา จากขนาดของมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดเส้นตรงทั้งสองเส้นแล้ว ยัง สามารถพิจารณาจากขนาดของมุมแย้งได้ ดังทฤษฎีบทต่อไปนี้ ทฤษฎีบท ถ้าเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง ทาให้มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน แล้ว เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน ทฤษฎีบท เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน ก็ต่อเมื่อ มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน 11
  • 15. ลองฝึกฝีมือกันหน่อย ให้นักเรียนหาค่า x และ y ในแต่ละข้อต่อไปนี้ พร้อมทั้งบอกเหตุผล …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………... …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………... …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………... 12
  • 16. …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………... …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………... …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………... 13
  • 18. ลอง สารวจ ตรวจสอบ มุม ภายนอกและมุมภายใน กันหน่อย 1. ในแต่ละรูป กาหนดให้ เส้นตรง AB และ CD มีเส้นตรง EF เป็นเส้นตัด จงสารวจ ว่ามุมคู่ใดเป็นมุมภายนอกและมุมภายในที่อยู่ตรงข้ามบนข้างเดียวกันของเส้นตัด ………………………………………… …………………………………………. ………………………………………… …………………………………………. 2. ในแต่ละรูป กาหนดให้ เส้นตรง AB และ CD มีเส้นตรง EF เป็นเส้นตัด จงสารวจว่ามุมภายนอกและมุมภายในที่อยู่ตรงข้ามบนข้างเดียวกันของเส้น ………………………………………… …………………………………………. ………………………………………… …………………………………………. 15
  • 19. จากกิจกรรมข้างต้น สรุปได้ว่า ถ้าเส้นตรง AB ขนานกับ CD มีเส้นตรง EF เป็นเส้นตัด แล้ว ................................................................................................ ซึ่งเป็นไปตามทฤษฎีบทต่อไปนี้ ทฤษฎีบท ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกันและมีเส้นตัด แล้ว มุมภายนอกและมุมภายในที่อยู่ตรงข้ามบนข้างเดียวกันของเส้นตัดมีขนาดเท่ากัน ในการตรวจสอบว่า เส้นตรงคู่หนึ่งขนานกันหรือไม่ สามารถพิจารณาจาก มุมภายนอกและมุมภายในที่อยู่ตรงข้ามบนข้างเดียวกันของเส้นตัด ดังทฤษฎีต่อไปนี้ ทฤษฎีบท ถ้าเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง ทาให้มุมภายนอกและมุมภายในที่ อยู่ตรงข้ามบนข้างเดียวกันของเส้นตัดมีขนาดเท่ากัน แล้ว เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน จากสองทฤษฎีบทข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า ทฤษฎีบท เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน ก็ต่อเมื่อ มุมภายนอกและมุมภายในที่อยู่ตรงข้ามบนข้างเดียวกันของเส้นตัดมีขนาดเท่ากัน 16
  • 20. ลองฝึกฝีมือกันหน่อย …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………... …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………... …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………... 17
  • 21. ลองฝึกฝีมือกันหน่อย จงหาขนาดของมุมต่อไปนี้ มุม 1 = ……………………. มุม 2 = ……………………. มุม 1 = ……………………. มุม 2 = ……………………. มุม X = ……………………. มุม Y = ……………………. 18
  • 22. เส้นขนานและรูป สามเหลี่ยมเป็นอย่างไรน้า ? นักเรียนทราบหรือไม่ว่า “ขนาดของมุม ภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยม รวมกันเท่ากับกี่องศา?” ตอบ …………………..ข้อความนี้เป็นทฤษฎีบทที่สาคัญบทหนึ่งทางเรขาคณิต ซึ่งมีดังนี้ ทฤษฎีบท ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกันเท่ากับ 180 องศา ทฤษฎีบทข้างต้น สามารถนามาใช้พิสูจน์ทฤษฎีบทที่เกี่ยวข้องกับขนาดของ มุมภายนอกและขนาดของมุมภายในของรูป 19
  • 23. ทฤษฎีบท ถ้าต่อด้านใดด้านหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมออกไป มุมภายนอกที่เกิดขึ้นจะมี ขนาดเท่ากับผลบวกของขนาดของมุมภายในที่ไม่ใช่มุมประชิดของมุมภายนอกนั้น นาไปใช้อย่างไร ทฤษฎีบท ถ้ารูปสามเหลี่ยมสองรูปมีมุมที่มีขนาดเท่ากันสองคู่ และด้านคู่ที่อยู่ตรง ข้ามกับมุมคู่ที่มีขนาดเท่ากัน ยาวเท่ากันหนึ่งคู่ แล้ว รูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นเท่ากัน 20
  • 24. ให้นักเรียนหาค่า x และ y จากรูปที่กาหนดให้ ลองฝึกฝีมือกันหน่อย 1 4 3 2 มุม X = ……………………. มุม Y = ……………………. มุม X = ……………………. มุม Y = ……………………. มุม X = ……………………. มุม Y = ……………………. มุม X = ……………………. มุม Y = ……………………. 21
  • 25. มุม X = ……………………. มุม Y = ……………………. 5 6 7 8 มุม X = ……………………. มุม Y = ……………………. มุม X = ……………………. มุม Y = ……………………. มุม X = ……………………. มุม Y = ……………………. 22
  • 26. ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………... ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………... ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………... ลองฝึกฝีมือกันต่ออีกสักนิด 23