SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
563
แนวการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้
เพื่อสร้างคุณลักษณะ
ดี เก่ง มีสุข
๔หน่วยการเรียนรู้ที่
สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
เรื่อง แรง ความดัน
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้น ป.๔ - ๖
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
564
การวิเคราะห์แผนผังจากสาระการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมและ
เทคโนโลยีดีด้วย
พระบารมีฯ
(แรงและความดัน)
ความหมายของแรง แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
แรงเสียดทาน
ความดันและแรงลอยตัว
ในของเหลว
ความดัน
ความดันอากาศ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
565
๑.	มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว ๔.๑	 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการสืบ
เสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม
ตัวชี้วัด
ป. ๕/๑	 ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธ์ของแรงสองแรง ซึ่งอยู่ในแนวเดียวกันที่กระทำ�ต่อวัตถุ
ป. ๕/๒	 ทดลองและอธิบายความดันอากาศ
ป. ๕/๓	 ทดลองและอธิบายความดันของของเหลว
ป. ๕/๔	 ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลว การลอยตัว และการจมของวัตถุ
มาตรฐาน ว ๔.๒	 เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการสืบเสาะหา
ความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
ป. ๕/๑	 ทดลองและอธิบายแรงเสียดทาน และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์
๒.	กำ�หนดสาระสำ�คัญของการเรียนรู้
	 ๑.	 เมื่อมีแรงมากระทำ�ต่อวัตถุ จะทำ�ให้วัตถุมีการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ คือ เปลี่ยนจากหยุดนิ่งเป็น
การเคลื่อนที่ หรือวัตถุที่เคลื่อนที่อยู่แล้วเมื่อมีแรงกระทำ�จะทำ�ให้เคลื่อนที่เร็วขึ้นหรือช้าลง หรือหยุด
นอกจากนี้ แรงยังทำ�ให้วัตถุเปลี่ยนรูปร่างได้ด้วย
	 ๒.	 เมื่อดึงหรือผลักวัตถุ ด้วยแรงมากกว่าหนึ่งแรง แล้วทำ�ให้วัตถุเคลื่อนที่ ผลของการเคลื่อนที่นั้นจะเสมือน
ว่ามีแรงหนึ่งแรงกระทำ�ต่อวัตถุ โดยแรงหนึ่งแรงนี้จะเป็นผลลัพธ์ของแรงหลายๆ แรงนั้น
	 ๓.	 อากาศมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุโดยกระทำ�ในทุกทิศทุกทาง แรงที่กระทำ�ต่อวัตถุจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ
พื้นที่ของวัตถุ แรงที่อากาศกระทำ�ตั้งฉากต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ เรียกว่า ความดันอากาศ
	 ๔.	 ของเหลวที่กระทำ�ต่อวัตถุที่อยู่ในของเหลวทุกทิศทุกทางโดยแรงลัพธ์ที่ของเหลวกระทำ�ต่อวัตถุจะมีขึ้นใน
แนวดิ่ง เรียกแรงลัพธ์นี้ว่า แรงลอยตัว การจมหรือลอยของวัตถุขึ้นอยู่กับนํ้าหนักของวัตถุ และแรงลอยตัว
ที่ของเหลวกระทำ�ต่อวัตถุนั้นๆ
	 ๕.	 ในการออกแรงทำ�ให้วัตถุเคลื่อนที่ไปบนพื้นต่างๆ พื้นแต่ละชนิดจะมีแรงต้านการเคลื่อนที่ เรียกแรงต้าน
การเคลื่อนที่นี้ว่า แรงเสียดทาน ซึ่งมีทิศทางตรงกันข้ามกับการเคลื่อนที่
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
เรื่อง แรงและความดัน ระยะเวลาในการสอน ๑๓ ชั่วโมงป.๔-๖
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
566
๓.	คุณลักษณะที่ต้องการพัฒนา
	 ๑.	 ให้ผู้เรียนเป็นคนดีโดยสร้างให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรมที่พึงประสงค์ด้านความมุ่งมั่น
ขยันหมั่นเพียร ประหยัด อดออม มีความซื่อสัตย์
	 ๒.	 ให้ผู้เรียนเป็นคนเก่ง โดยมีความรู้ความเข้าใจ
	 	 –	 ความหมายของแรง
	 	 –	 แรงลัพธ์
	 	 –	 แรงเสียดทาน
	 	 –	 ความดันของของเหลว
	 	 –	 ความดันอากาศ
	 	 –	 แรงลอยตัว
	 ๓.	 ให้ผู้เรียนมีความสุข โดย
	 	 –	 เห็นคุณค่า และมีเจตนคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ และสร้างผลงานอย่างสร้างสรรค์
	 	 –	 ภูมิใจในผลงานของตนเอง ชื่นชมผลงานของผู้อื่น
	 	 –	 มีความสนุกในการเรียนรู้ การทดลอง
๔.	การวางแผนการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ
การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี (กอท.)
✍ ออกแบบประดิษฐ์
เครื่องมือวัดความดันอากาศ
ศิลปะ
✍ การวาดภาพการทดลอง
ภาษาอังกฤษ
✍ คำ�ศัพท์เกี่ยวกับแรง ความดัน
คณิตศาสตร์
✍ การอ่านค่าจากตาชั่งสปริง
สิ่งแวดล้อมและ
เทคโนโลยีดีด้วย
พระบารมีฯ
(แรงและความดัน)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
567
๕.	การวางแผนการจัดการเรียนรู้
๘
๗
๖
๕ ๔
๓
๒
๑ครูสนทนากับนักเรียน
แรงทำ�อะไรได้บ้าง
✍ผลลัพธ์ของแรง
✍ความดันของเหลว
✍อากาศมีแรงกระทำ�ต่อ
วัตถุหรือไม่
นักเรียนร่วมกันอภิปราย
✍แรง ผลลัพธ์ของแรง
✍อากาศมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุอย่างไร
✍ความดันของเหลว แรงเสียดทาน
ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูล
✍แรง แรงลัพธ์
✍ความดันของเหลว
✍แรงลอยตัว
✍แรงเสียดทานนักเรียนปฏิบัติ
การทดลอง เรื่อง
✍แรง
✍อากาศมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุ
✍ของเหลวมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุ
✍แรงลอยตัว
✍แรงเสียดทาน
นักเรียนนำ�เสนอผลการ
ทดลองและสรุป
✍นักเรียนปฏิบัติตามกิจกรรมใบ
งานที่ครูมอบหมาย
นักเรียนสร้างชิ้นงาน
ตามความสนใจ
นักเรียนนำ�เสนอผลงาน
ของตนเอง
✍ครูและนักเรียนร่วมกัน
แสดงความคิดเห็นและ
ให้ข้อเสนอแนะ
ครูและนักเรียนประเมิน
ชิ้นงาน นำ�ผลงานมา
จัดแสดงในชั้นเรียน และ
แลกเปลี่ยนความรู้
ซึ่งกันและกัน
๖.	รายละเอียดของกิจกรรม
	 ๑.	 ครูสนทนากับนักเรียน แรงที่นักเรียนรู้จักมีแรงอะไรบ้าง แรงทำ�อะไรได้บ้าง ผลลัพธ์ของแรงเป็นอย่างไร
ความดันของของเหลวกระทำ�ต่อวัตถุอย่างไร อากาศมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุหรือไม่
	 ๒.	 นักเรียนร่วมกันอภิปราย แรง ผลลัพธ์ของแรง อากาศมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุ แรงเสียดทาน ประโยชน์ของ
แรงเสียดทาน
	 ๓.	 นักเรียนสืบค้นข้อมูล แรง แรงลัพธ์ ความดันของของเหลวที่มีต่อวัตถุ อากาศมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุ แรง
เสียดทาน ประโยชน์ของแรงเสียดทาน
สิ่งแวดล้อมและ
เทคโนโลยีดีด้วย
พระบารมีฯ
(แรงและความดัน)
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
568
	 ๔.	 นักเรียนปฏิบัติทดลองเรื่อง
	 	 –	 แรง	 –	 แรงลอยตัว
	 	 –	 อากาศมีแรงกระทำ�วัตถุ	 –	 แรงเสียดทาน
	 	 –	 ของเหลวมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุ
	 ๕.	 นักเรียนนำ�เสนอผลการทดลอง และสรุป และปฏิบัติตามกิจกรรมใบงานที่ครูมอบหมาย
	 ๖.	 นักเรียนสร้างชิ้นงานตามความสนใจ
	 ๗.	 นักเรียนนำ�เสนอผลงานของตนเอง ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น และให้ข้อเสนอแนะ
	 ๘.	 ครูและนักเรียนประเมินชิ้นงาน และนำ�ผลงานมาจัดแสดงในชั้นเรียน และแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกัน
และกัน
๗.	สื่อการเรียนการสอน
	 ๑.	 ตาชั่งสปริง	 ๒.	 ไม้เมตร	 ๓.	 ถุงทราย
	 ๔.	 ดินนํ้ามัน	 ๕.	 เส้นเอ็น	 ๖.	 เทปกาว
	 ๗.	 ลูกโป่งยาง	 ๘.	 แท่งไม้	 ๙.	 กระดาษทราย
๘.	การประเมินตามสภาพจริง
กิจกรรม / พฤติกรรม / ผลงานที่ต้องประเมิน วิธีการ เครื่องมือ
๑.	 สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม การเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรม สังเกต แบบสังเกต
๒.	ตรวจผลงานเป็นกลุ่ม รายบุคคล ความถูกต้อง
	 ความสมบูรณ์ ความสะอาด ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
สังเกต การสัมภาษณ์
๓.	การนำ�เสนอผลงาน การรายงาน ตรวจผลงาน ใบกิจกรรม
ผู้ประเมิน
–	 นักเรียนและเพื่อนนักเรียน
–	 ครู
–	 ผู้ปกครอง หรือผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
๙.	สรุปผลการเรียนการสอน
............................................................................................................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
569
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
เรื่อง แรงทำ�ให้เกิดอะไรได้บ้าง
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๑
ใบกิจกรรม
คำ�ชี้แจง	 จากการสังเกตภาพให้ตอบคำ�ถามต่อไปนี้
	 ๑.	 เพราะเหตุใด รถเข็นจึงเคลื่อนที่ไปได้
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๒.	 เมื่อเด็กวิ่งหนีผึ้ง รถเข็นมีการเคลื่อนที่อย่างไร ทำ�ไมจึงเป็นเช่นนั้น
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๓.	 เมื่อรถเข็นชนเสาไฟฟ้า การเคลื่อนที่ของรถเข็นเป็นอย่างไร เพราะเหตุใด
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๔.	 เมื่อรถเข็นชนเสาไฟฟ้า รูปร่างของรถเข็นเป็นอย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
570
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
เรื่อง ผลลัพธ์ของแรงหลายแรงเป็นอย่างไร
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๒
ใบกิจกรรม
ตอนที่ ๑	 ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้
	 ๑.	 ตารางบันทึกค่าของแรงที่อ่านได้จากตาชั่งสปริง
ชื่อวัตถุ
ค่าของแรงที่อ่านได้จากตาชั่งสปริง ๒ อัน (นิวตัน) ค่าของแรงที่อ่านได้จาก
ตาชั่งสปริง ๑ อัน (นิวตัน)อันที่ ๑ อันที่ ๒ รวม
	 ๑.	 ............................................................ ...................................... ...................................... ...................................... ......................................................................
	 ๒.	 ............................................................ ...................................... ...................................... ...................................... ......................................................................
	 ๓.	 ............................................................ ...................................... ...................................... ...................................... ......................................................................
	 ๔.	 ............................................................ ...................................... ...................................... ...................................... ......................................................................
	 ๒.	 ค่าของแรงที่อ่านได้จากตาชั่งสปริง ๑ อัน เมื่อเปรียบเทียบกับผลรวมของค่าของแรงที่อ่านได้จากตาชั่งสปริง
๒ อัน เป็นอย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๓.	 การทดลองนี้จะสรุปผลว่าอย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
571
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
เรื่อง อากาศมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุหรือไม่
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๓
ใบกิจกรรม
ตอนที่ ๑	 ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้
	 ๑.	 ในการดึงก้นถุงพลาสติกออกจากแก้ว ดึงได้ง่ายหรือยาก เพราะเหตุใด
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๒.	 ในการดึงก้นถุงพลาสติกออกจากก้นแก้ว แรงที่ต้านการดึงถุงมีทิศทางใด
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๓.	 ควํ่าแก้วลง หรือตะแคงแก้ว แล้วดึงก้นถุงพลาสติกออกจากก้นแก้ว แรงที่ต้านการดึงถุงในแต่ละกรณี จะมีทิศทาง
อย่างไร
	 	 	 ดึงก้นถุงลง	 ดึงก้นถุงไปทางขวา	 ดึงก้นถุงไปทางซ้าย
			 ...........................................................................	 ...........................................................................	 ...........................................................................
	 ๔.	 การทดลองนี้จะสรุปผลว่าอย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
572
ตอนที่ ๒	 ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้
	 ๑.	 ในการดึงกระดาษขึ้นตรงๆ จากพื้นเรียบอย่างรวดเร็ว ผลเป็นอย่างไร
		.......................................................................................................................................................................
	 	 .......................................................................................................................................................................
	 	 .......................................................................................................................................................................
	 ๒.	 ในการดึงกระดาษขนาดต่างๆ กันให้ออกจากพื้นเรียบอย่างรวดเร็ว
แรงที่ใช้ดึงกระดาษเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๓.	 มีแรงต้านการเคลื่อนที่ของกระดาษหรือไม่ ทราบได้อย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๔.	 แรงที่ต้านการเคลื่อนที่ของกระดาษเกิดจากอะไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๕.	 ในการดึงกระดาษแผ่นใหญ่ให้ออกจากพื้นเรียบ แรงที่ต้านการเคลื่อนที่ของกระดาษมากกว่าหรือน้อยกว่า เมื่อดึง
กระดาษแผ่นเล็ก
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๖.	 แรงที่ใช้ดึงกระดาษให้ออกจากพื้นสัมพันธ์กับพื้นที่ของกระดาษหรือไม่ อย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๗.	 การทดลองนี้จะสรุปผลว่าอย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
573
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
เรื่อง ของเหลวมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุหรือไม่
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๔
ใบกิจกรรม
ตอนที่ ๑	 ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้
	 ๑.	 เมื่อเอานํ้าใส่ลูกโป่ง ลูกโป่งจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร วาดภาพประกอบ
	 ๒.	 ใส่นํ้าในขวดจนเต็ม แล้วดึงไม้ที่ปิดรูออก นํ้าจะพุ่งออกจากขวดในทิศทางใดบ้าง วาดภาพประกอบ
	 ๓.	 การทดลองนี้จะสรุปผลว่าอย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
574
ตอนที่ ๒	 ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้
	 ๑.	 เมื่อมีนํ้าในขวด รูหมายเลขใดอยู่ในตำ�แหน่งที่มีความลึกมากที่สุด
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๒.	 เมื่อดึงไม้ที่ปิดรูออกจะเกิดอะไรขึ้น
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๓.	 นํ้าจากรูหมายเลขใดพุ่งไปได้ไกลสุด และใกล้สุดตามลำ�ดับ แรงที่ทำ�ให้นํ้าพุ่งออกจากแต่ละรู แตกต่างกันหรือไม่
อย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๔.	 ความดันของนํ้าในระดับที่ตรงกับรูหมายเลขใดมีค่ามากที่สุด ทราบได้อย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๕.	 เมื่อดึงไม้ที่ปิดรูในระดับเดียวกันออกทีละคู่ นํ้าที่พุ่งออกไปจะเป็นอย่างไร ความดันของนํ้าที่ระดับเดียวกันจะ
แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๖.	 การทดลองนี้ จะสรุปผลว่าอย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
575
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
เรื่อง แรงลอยตัวคืออะไร
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๕
ใบกิจกรรม
ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้
	 ๑.	 ใช้เชือกผูกดินนํ้ามันแล้วนำ�ไปแขวนกับตาชั่งสปริง
	 	 ค่าของแรงที่อ่านได้...............................................นิวตัน
	 ๒.	 นำ�ดินนํ้ามันที่แขวนกับตาชั่งสปริงจุ่มลงในนํ้า
	 	 ค่าของแรงที่อ่านได้...............................................นิวตัน
	 ๓.	 ใช้มือพยุงดินนํ้ามันที่แขวนกับตาชั่งสปริงขึ้นเล็กน้อย
	 	 ค่าของแรงที่อ่านได้...............................................นิวตัน
	 ๔.	 ใช้วัตถุอื่นแขวนกับตาชั่งสปริงแทนดินนํ้ามัน บันทึกค่าของแรงที่อ่านได้จากตาชั่งสปริงเมื่อชั่งวัตถุในอากาศและ
ชั่งวัตถุในนํ้า
ชื่อวัตถุ
ค่าของแรงที่อ่านได้จากตาชั่งสปริง
ในอากาศ (นิวตัน) ในนํ้า (นิวตัน)
๑.	 ................................................................................. ......................................................................................... .........................................................................................
๒.	................................................................................. ......................................................................................... .........................................................................................
๓.	................................................................................. ......................................................................................... .........................................................................................
	 ๕.	 การทดลองนี้สรุปผลได้ว่าอย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
576
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
เรื่อง แรงเสียดทานเป็นอย่างไร
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๖
ใบกิจกรรม
ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้
	 ๑.	 ในการดึงเชือกเพื่อให้แท่งไม้เริ่มเคลื่อนที่บนพื้นแต่ละชนิด พื้นมีแรงต้านการเคลื่อนที่หรือไม่
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๒.	 เมื่อดึงแท่งไม้ให้เคลื่อนที่ไปบนพื้นกระดาษทราย พื้นโต๊ะและพื้นกระดาษหนังสือพิมพ์ ออกแรงดึงเท่ากันหรือไม่
อย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๓.	 แรงต้านการดึงแท่งไม้บนพื้นแต่ละชนิดเท่ากันหรือไม่ อย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๔.	 การทดลองนี้จะสรุปผลว่าอย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
577
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
เรื่อง แรงเสียดทานมีประโยชน์อย่างไร
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๗
ใบกิจกรรม
ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้
	 ๑.	 มือที่เปื้อนนํ้ายาสระผมจะสามารถเปิดจุกขวดหรือยกขวดขึ้นได้ง่ายหรือยาก เพราะเหตุใด
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๒.	 จากข้อ ๑ มีแรงเสียดทานระหว่างมือและจุกขวดมากหรือน้อย
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๓.	 ล้างมือและขวดให้สะอาดเช็ดให้แห้ง แล้วเปิดจุกขวด จะสามารถเปิดได้ง่ายกว่าเมื่อมือลื่น แสดงว่าแรงเสียดทาน
ขณะนั้นเป็นอย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๔.	 การทดลองนี้จะสรุปผลได้อย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
578
ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
เรื่อง ความดันอากาศ
เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน
เมื่อนักเรียนออกแรงดึงก้นถุงพลาสติกให้ออกจากแก้วจะรู้สึกว่าดึงออกได้ยาก เนื่องจากมีแรงที่อากาศดัน
ก้นถุงพลาสติกเอาไว้และไม่ว่าจะออกแรงดึงก้นถุงพลาสติกไปในทิศทางใดก็มีแรงต้านมือทั้งสิ้น แสดงว่าแรงที่อากาศ
กระทำ�ต่อวัตถุจะกระทำ�ในทุกทิศทาง
ในการดึงกระดาษขึ้นตรงๆ จากพื้นเรียบจะดึงขึ้นได้ยากเพราะมีแรงที่อากาศกดกระดาษไว้ โดยแรงที่อากาศ
กระทำ�จะมีค่ามากเมื่อพื้นที่ของกระดาษมาก และแรงที่อากาศกระทำ�จะมีค่าน้อยเมื่อพื้นที่ของกระดาษน้อย และถ้าพื้นที่
ของกระดาษเท่ากันแรงที่อากาศกระทำ�จะมีค่าน้อยเมื่อพื้นที่ของกระดาษน้อยและถ้าพื้นที่ของกระดาษเท่ากันแรงที่อากาศ
กระทำ�ก็จะเท่ากัน เรียกแรงที่อากาศกระทำ�ตั้งฉากต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ว่า ความดันอากาศ
ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู
ความดันอากาศ ณ ระดับความสูงต่างๆ มีค่าไม่เท่ากัน กำ�หนดให้ความดัน ๑ บรรยากาศ คือ ความดันของ
อากาศที่ระดับนํ้าทะเล ซึ่งมีค่า ๑.๐๑×๑๐๕
นิวตันต่อตารางเมตร และยิ่งสูงจากระดับนํ้าทะเลขึ้นไปความดันของอากาศ
ก็จะยิ่งลดลง จึงเป็นเหตุให้เมื่อขึ้นไปบนภูเขาจะรู้สึกว่าหูอื้อ เนื่องจากความดันอากาศภายนอกน้อยกว่าความดัันภายในหู
ข้อเสนอแนะ
ครูอาจจะตั้งปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับความดันอากาศให้นักเรียนร่วมอภิปรายหาคำ�ตอบ เช่น
	 –	 ทำ�ไมเมื่อเอาหลอดดูดจุ่มลงไปในแก้วนํ้าแล้วเอานิ้วปิดปากหลอดดูดด้านบนเมื่อยกหลอดให้ออกจากแก้วนํ้า
นํ้ายัังคงค้างอยู่ในหลอดได้ และเมื่อเอานิ้วที่ปิดปากหลอดออกนํ้าจะไหลลงมา
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
579
ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
เรื่อง ความดันบรรยากาศ
เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน
อากาศที่ปกคลุมโลกเราเป็นชั้นๆ เรียกว่า ชั้นบรรยากาศ แต่ละชั้นมีส่วนประกอบและปริมาณของแก๊ส
แตกต่างกันเนื่องจากอากาศเป็นสสารซึ่งมีมวลและนํ้าหนัก จึงถูกแรงโน้มถ่วงของโลกดึงดูดให้อากาศตกลงมา เช่นเดียว
กับที่กระทำ�ต่อวัตถุอื่นๆ นํ้าหนักของอากาศที่กดลงบนพื้นโลกเนื่องจากแรงดึงดูดของโลกต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ เรียกว่า
ความดันบรรยากาศ
ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู
ในการสอนเรื่องความดันบรรยากาศ ครูอาจสาธิตการทดลองนี้โดยให้นักเรียนเป็นผู้สังเกต โดยครูเอาหนังสือ
วางบนโต๊ะ แล้วคั่นด้วยก้อนดินนํ้ามัน และกระดาษไขตามลำ�ดับ ทำ�เช่นเดิมโดยเอาหนังสือซ้อนขึ้นไปอีก และคั่นด้วย
ก้อนดินนํ้ามันขนาดเท่าเดิมและกระดาษไขขึ้นไปให้สูงหลายๆ ชั้น ดังภาพ ถ้าชั้นบรรยากาศแต่ละชั้นประกอบด้วยแก๊ส
ชนิดต่างๆ ในปริมาณมากน้อยแตกต่างกันเปรียบเหมือนหนังสือแต่ละกลุ่มที่หนักแตกต่างกัน นักเรียนคิดดูว่าความดัน
ของบรรยากาศแต่ละชั้นจะเท่ากันหรือไม่ ให้นักเรียนหาคำ�ตอบ โดยค่อยๆ ยกหนังสือออกทีละชั้น แล้วลองสังเกตก้อน
ดินนํ้ามันแต่ละก้อนเปรียบเทียบกัน
ถ้าพื้นโต๊ะเปรียบเหมือนพื้นโลก บริเวณยิ่งใกล้พื้นโลกนํ้าหนักของชั้นบรรยากาศจะยิ่งกดลงมามาก ความดัน
บรรยากาศที่ระดับนํ้าทะเล ซึ่งมีค่ามากกว่าบนยอดเขา
นอกจากระดับความสูงความดันบรรยากาศจะเกี่ยวข้องกับอุณหภูมิของอากาศอากาศร้อนจะขยายตัวมีปริมาตร
เพิ่มขึ้น อากาศจะเบาบางลง ความดันของบรรยากาศจึงลดลง
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
580
ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
เรื่อง ความดันของเหลว
เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน
ของเหลวมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุเช่นนํ้ามีแรงกระทำ�ต่อเขื่อนนํ้ามีแรงกระทำ�ต่อเรือที่ลอยอยู่ในนํ้าเมื่อใส่นํ้าเข้าไป
ในลูกโป่ง นํ้าจะมีแรงกระทำ�ต่อลูกโป่งในทุกทิศทาง ทำ�ให้ลูกโป่งมีขนาดใหญ่ขึ้น
จากเรื่องอากาศมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุแรงที่อากาศกระทำ�ตั้งฉากต่อหน่วยพื้นที่เรียกว่าความดันอากาศในทำ�นอง
เดียวกันแรงที่ของเหลวกระทำ�ตั้งฉากต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่เรียกว่า ความดันของเหลว
ความดันของเหลวจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความลึกของของเหลว โดยที่ระดับความลึกมาก ความดัน
ของเหลวก็จะมีค่ามาก
ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู
✍	 ความดันของเหลว นอกจากจะขึ้นอยู่กับความลึกแล้วยังขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของของเหลวด้วย โดยที่
ระดับความลึกเดียวกันของเหลวที่มีความหนาแน่นมากจะมีความดันมากกว่าของเหลวที่มีความหนาแน่นน้อย
✍	 เมื่อดึงไม้ที่ปิดรูออก นํ้าจะพุ่งออกไป โดยที่ระดับความลึกมากมีความดันมาก ทำ�ให้นํ้าที่พุ่งออกไป
มีความเร็วมาก
	 นํ้าที่พุ่งออกไปจะไปได้ไกลหรือไม่ ขึ้นอยู่กับความเร็วของนํ้าขณะออกจากขวดและเวลาที่ใช้ในการตก
ถึงพื้น ที่ระดับความลึกมาก นํ้าพุ่งออกไปได้ด้วยความเร็วมาก แต่ก็จะตกถึงพื้นเร็วด้วยเพราะเป็นจุดที่อยู่ใกล้พื้น ส่วน จุด
ที่อยู่สูงขึ้นไปนํ้าจะพุ่งออกด้วยความเร็วน้อยเพราะความดันน้อยแต่จะตกถึงพื้นช้ากว่าจึงทำ�ให้ระยะทางในแนวราบของ
นํ้าจากทั้ง ๒ ระดับอาจเท่ากัน ดังนั้นเพื่อให้เวลาในการตกถึงพื้นไม่แตกต่างกันมากนัก ระยะห่างของแต่ละรู ต้องต่างกัน
ไม่มาก จึงจะทำ�ให้เห็นว่านํ้าที่ระดับความลึกมากไปได้ไกลมาก
✍ ความดันของเหลว คือ แรงที่ของเหลวกระทำ�ตั้งฉาก
ต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ ดังนั้นถ้าพิจารณาในพื้นที่ ๑ ตารางเมตร
ที่ระดับความลึกต่างๆ นํ้าหนักของเหลวในพื้นที่ ๑ ตารางเมตร
นั้นก็จะต่างกันยิ่งลึกมากขึ้นนํ้าหนักของเหลวที่กระทำ�ก็จะมากขึ้น
ด้วยดังรูป จึงทำ�ให้ยิ่งลึกมาก ความดันของเหลวก็จะมีค่ามาก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
581
ความดันอากาศ คือแรงที่อากาศกระทำ�ตั้งฉากต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ ถ้าสมมติว่า บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกเป็น
ดังรูปแล้วพิจารณาใน๑หน่วยพื้นที่จะได้ว่าจุดที่สูงจากพื้นโลกมากขึ้นลำ�อากาศที่กระทำ�ต่อพื้นที่นั้นจะสั้นลงทำ�ให้แรง
ที่อากาศกระทำ�ต่อพื้นที่นั้นน้อยลงเป็นเหตุให้ยิ่งสูงมากขึ้นความดันอากาศยิ่งน้อยลง
ข้อเสนอแนะ
ในการเจาะรูข้างขวดพลาสติกควรใช้ตะปูเผาจนร้อน เจาะรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ๒ มิลลิเมตร
พยายามเจาะรูให้แนวตรงกัน ในการเผาตะปูอย่าลืมใช้ฉนวนความร้อนหุ้มบริเวณส่วนหัวตะปู
ในการเติมนํ้าลงไปในขวดควรเติมให้ระดับนํ้าสูงกว่ารูบนสุดไม่มากนักประมาณ ๓ - ๔ เซนติเมตร
ไม้ที่ใช้ในการอุดรูควรมีความยาวประมาณ ๔ - ๕ เซนติเมตรโดยเหลาปลายให้แหลม
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
582
ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
เรื่อง แรงกระทำ�ต่อวัตถุ
เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน
เมื่อมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุ แรงจะทำ�ให้วัตถุมีการเปลี่ยนแปลงสภาพการเคลื่อนที่ได้ โดยเปลี่ยนจากหยุดนิ่ง
ให้เคลื่อนที่ เช่น เตะลูกบอล ดันประตูให้เปิด และสำ�หรับวัตถุที่เคลื่อนที่อยู่แล้วเมื่อถูกแรงกระทำ�ก็อาจเคลื่อนที่เร็วขึ้น
ช้าลง หรือหยุดการเคลื่อนที่ได้นอกจากนี้แรงยังทำ�ให้รูปร่างของวัตถุมีการเปลี่ยนแปลงได้ เช่น ดึงหนังยางให้ยึด ทุบ
ดินนํ้ามันก้อนกลมให้แบน
ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู
–	วัตถุที่เคลื่อนที่อยู่จะเคลื่อนที่เร็วขึ้นหรือช้าลงขึ้นอยู่กับทิศของแรงที่มากระทำ�ต่อวัตถุ โดยถ้าแรงมีทิศเดียว
กับทิศทางเคลื่อนที่เดิมของวัตถุจะทำ�ให้วัตถุเคลื่อนที่เร็วขึ้นและถ้าแรงมีทิศตรงข้ามกับทิศการเคลื่อนที่ของ
วัตถุ จะทำ�ให้วัตถุเคลื่อนที่ช้าลง แต่ในบางกรณี แรงที่มีทิศตรงข้ามการเคลื่อนที่อาจทำ�ให้วัตถุเปลี่ยนทิศทาง
การเคลื่อนที่หรือเคลื่อนที่เร็วขึ้นได้ เช่น การตีลูกปิงปอง การตีลูกเทนนิส
–	การที่ลูกโป่งเคลื่อนที่ไปได้เพราะเมื่อปล่อยให้อากาศออกจากลูกโป่ง อากาศภายในดันอากาศภายนอก จะเกิด
แรงปฏิกิริยาจากอากาศภายนอกดันอากาศภายใน ทำ�ให้ลูกโป่งเคลื่อนที่ไปได้ หลอดดูดซึ่งติดกับลูกโป่งจึง
เคลื่อนที่ไปได้ ซึ่งหลอดดูดจะไปได้ไกลและเร็วขึ้นอยู่กับปริมาณอากาศในลูกโป่ง
เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน
เมื่อนักเรียนดันหรือผลักวัตถุ นักเรียนต้องออกแรงโดยถ้าเพื่อนๆ หลายคนดันโต๊ะแล้วทำ�ให้โต๊ะเคลื่อนที่ไป
ได้ระยะทางเท่ากับที่นักเรียนดันโต๊ะให้เคลื่อนที่ในเวลาเท่ากันถือว่าแรงที่นักเรียนดันโต๊ะเท่ากับผลรวมแรงของเพื่อน
หลายๆ คนนั้น
ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าถ้ามีแรงหลายๆแรงกระทำ�ต่อวัตถุจะเสมือนว่ามีแรงเพียงหนึ่งแรงกระทำ�ต่อวัตถุจะเสมือน
ว่ามีแรงกระทำ�ต่อวัตถุ โดยแรงนี้จะเป็นผลลัพธ์ของแรงหลายแรงนั้น
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
583
ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู
แรงเป็นปริมาณที่มีขนาดและทิศทางเรียกว่าปริมาณเวกเตอร์สามารถเขียนแทนด้วยลูกศรความยาวของลูกศร
แทนขนาดของแรงและหัวลูกศรแทนทิศทาง มีหน่วยเป็นนิวตัน
	 แรง ๓ นิวตัน
	 	 แรง ๕ นิวตัน
การเตรียมล่วงหน้า
ให้นักเรียนจัดเตรียมสิ่งของที่จะนำ�มาชั่ง เช่น ของเล่น ก้อนหิน รวมทั้งเตรียมถุงพลาสติกที่มีหูหิ้วสำ�หรับใส่
ของที่จะนำ�ไปชั่ง
ประเมินผล
	 ๑.	 ประเมินทักษะภาคปฏิบัติของนักเรียนระหว่างทำ�การทดลอง โดยใช้แบบประเมินเป็นกลุ่ม
	 ๒.	 ประเมินความสามารถของนักเรียนในการรายงานผล และสรุปผลการทดลอง
	 ๓.	 ประเมินความร่วมมือในการอภิปรายและแสดงความคิดเห็น
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
584
ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
เรื่อง แรงลอยตัว
เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน
เมื่อนำ�วัตถุไปอยู่ในของเหลวจะมีแรงที่ของเหลวกระทำ�ต่อวัตถุโดยแรงลัพธ์ที่ของเหลวกระทำ�ต่อวัตถุนั้นจะ
เป็นแรงที่พยุงวัตถุขึ้นทำ�ให้รู้สึกวัตถุเบาขึ้นเมื่อชั่งวัตถุในของเหลว แรงที่ของเหลวพยุงวัตถุขึ้นนี้เรียกว่า แรงลอยตัว
วัตถุที่อยู่ในของเหลวต่างชนิดกัน แรงลอยตัวก็จะแตกต่างกันการจมและลอยของวัตถุในของเหลว ขึ้นอยู่กับ
นํ้าหนักของวัตถุและแรงลอยตัวที่ของเหลวกระทำ�ต่อวัตถุนั้น โดยถ้าแรงลอยตัวค่าน้อยกว่านํ้าหนักของวัตถุ วัตถุจะ
จมลงไปในของเหลว แต่ถ้าแรงลอยตัวมีค่าเท่ากับนํ้าหนักของวัตถุ วัตถุจะลอยในของเหลวนั้น
ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู
เมื่อวัตถุอยู่ในของเหลว ของเหลวจะมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุใน
ทุกทิศทาง แรงลัพธ์ที่ของเหลวกระทำ�ต่อวัตถุจะอยู่ในทิศขึ้นเพราะว่า
–	 ความดันที่ผิวล่างของวัตถุมากกว่าความดันที่ผิวบนของ
วัตถุเพราะจุดล่างอยู่ลึกกว่าจุดบนจึงทำ�ให้แรงที่ของเหลว
กระทำ�ต่อวัตถุทางด้านล่าง ซึ่งมีทิศขึ้นมากกว่าแรงที่
ของเหลวกระทำ�ต่อวัตถุทางด้านบนซึ่งมีทิศลง แรงลัพธ์
ที่ของเหลวกระทำ�ต่อวัตถุจึงมีทิศขึ้น
–	 แรงที่ของเหลวกระทำ�ต่อวัตถุด้านหน้าเท่ากับด้านหลัง
ด้านซ้ายเท่ากับด้านขวา ทำ�ให้แรงลัพธ์ของของเหลวที่
กระทำ�ต่อวัตถุด้านข้างของวัตถุเป็นศูนย์
ข้อเสนอแนะ
–	 หลังจากการทำ�กิจกรรมแล้ว ครูอาจตั้งปัญหาให้นักเรียนช่วยคิดหาคำ�ตอบเพื่อนำ�ไปสู่การทำ�โครงงานต่อไป
เช่นวัตถุที่อยู่ในของเหลวที่ต่างชนิดกันแรงที่ของเหลวกระทำ�ต่อวัตถุจะเท่ากันหรือไม่จะมีวิธีทดสอบอย่างไร
–	 ครูอาจเสนอกิจกรรมเพิ่มเติมให้นักเรียนปั้นดินนํ้ามันให้ลอยนํ้าได้แล้วแข่งกันเอาลูกแก้วใส่ลงไปในดินนํ้ามัน
ที่ปั้นแล้วให้มากที่สุดที่ดินนํ้ามันยังสามารถลอยนํ้าได้
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
585
ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
เรื่อง แรงเสียดทาน
เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน
ในการออกแรงดึงหรือผลักให้วัตถุเคลื่อนที่ต้องออกแรงเนื่องจากพื้นมีแรงต้านการเคลื่อนที่เรียกแรงต้านการ
เคลื่อนที่นี้ว่าแรงเสียดทาน โดยถ้าแรงดึงหรือผลักวัตถุเท่ากับแรงเสียดทานวัตถุก็จะยังคงอยู่นิ่งไม่เคลื่อนที่ไป แต่ถ้า
แรงดึงหรือผลักวัตถุมากกว่าแรงเสียดทานวัตถุก็จะเคลื่อนที่ไปได้แรงที่ใช้ในการทำ�ให้วัตถุเคลื่อนที่บนพื้นต่างชนิดกันมี
ค่าต่างกัน แสดงว่าพื้นต่างชนิดกันแรงเสียดทานก็จะต่างกันด้วย
ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู
แรงเสียดทาน เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุทั้งสองโดยแรงเสียดทานจะมีค่ามากหรือน้อย จะขึ้นอยู่กับ
ลักษณะของผิวสัมผัสของวัตถุคู่นั้นๆว่ามีความฝืดมากหรือฝืดน้อยซึ่งเรียกว่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างผิวสัมผัส
ตารางค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน (μ)
เหล็กกับเหล็ก ๐.๗๔
อะลูมิเนียมกับเหล็ก ๐.๖๑
ทองแดงกับเหล็ก ๐.๕๓
ยางกับคอนกรีต ๑.๐๐
ไม้กับไม้ ๐.๒๕ - ๐.๕
แก้วกับแก้ว ๐.๙๔
นํ้าแข็งกับนํ้าแข็ง ๐.๑
เทฟล่อนกับเทฟล่อน ๐.๐๔
ข้อเสนอแนะ
๑.	 ในการดึงแท่งไม้ให้เคลื่อนที่ไปบนพื้นกระดาษ หรือพื้นกระดาษหนังสือพิมพ์ ให้ตรึงกระดาษทรายหรือ
กระดาษหนังสือพิมพ์ไว้กับพื้นโต๊ะ โดยใช้เทปใส และตรึงให้เรียบ
๒.	ให้การดึงแท่งไม้ไปบนพื้นต่างชนิดกันให้เคลื่อนที่ ครูอาจให้นักเรียนใช้ตาชั่งสปริงเกี่ยวกับตะขอแล้วดึง
ตาชั่งสปริงพร้อมอ่านค่าแรงที่กดตาชั่งขณะวัตถุเริ่มเคลื่อนที่ แล้วเปรียบเทียบค่าที่อ่านได้
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
586
เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน
ในชีวิตประจำ�วันของนักเรียน มีกิจกรรมต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กับแรงเสียดทานอยู่เสมอ เช่น การเดินไป
บนพื้น การถือของ การดึงหรือผลักวัตถุให้เคลื่อนที่ไป
กิจกรรมบางอย่างต้องการแรงเสียดทานจึงจำ�เป็นต้องเพิ่มให้แรงเสียดทานมากขึ้น เช่น การขี่รถจักรยานไปบน
พื้นซีเมนต์ รถจะไปได้ดีกว่าขี่รถจักรยานไปบนพื้นดินที่เปียกลื่น
กิจกรรมบางอย่างไม่ต้องการแรงเสียดทานจึงจำ�เป็นต้องลดแรงเสียดทานให้ลดลง เช่น ลากวัตถุไปบนพื้นลื่น
ออกแรงน้อยกว่าลากวัตถุไปบนพื้นฝืด
ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู
ขณะที่คนเดินไปข้างหน้าแรงเสียดทานที่พื้นกระทำ�ต่อเท้าคนจะมีทิศไปข้างหน้าซึ่งจะทำ�ให้คนสามารถเดินไป
ข้างหน้าได้โดยไม่ล้มไถล ซึ่งคนทั่วไปมักจะเข้าใจผิดว่าขณะที่คนเดินไปข้างหน้า จะมีแรงเสียดทานไปทางด้านหลัง แสดง
ทิศแรงเสียดทานได้ดังรูป
ข้อเสนอแนะ
	 ๑.	 ในการทำ�กิจกรรมเปิดจุกขวดอาจใช้สบู่แทนแชมพูได้
	 ๒.	 ครูอาจนำ�อภิปรายเกี่ยวกับลักษณะของฝาขวดว่าทำ�ไมต้องมีรอยหยัก
	 ๓.	 ครูอาจเพิ่มกิจกรรมให้นักเรียนหาวิธีลดแรงเสียดทานในการดันโต๊ะครูให้เคลื่อนที่
w w w w w w w w

More Related Content

What's hot

แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกwebsite22556
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์Kobwit Piriyawat
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงเอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงTom Vipguest
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 

What's hot (20)

แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
หิน
หินหิน
หิน
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงเอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 

Viewers also liked

กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยกลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยNattayaporn Dokbua
 
ใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-1page
ใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-1pageใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-1page
ใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทานSunutcha Physic
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันwebsite22556
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 Supaluk Juntap
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 

Viewers also liked (9)

กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยกลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
 
ใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-1page
ใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-1pageใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-1page
ใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-1page
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 

Similar to ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvscip5+P4 6 u04

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อ2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อkrupornpana55
 
แผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะแผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะkrupornpana55
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.6+290+dltvs...
 ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.6+290+dltvs... ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.6+290+dltvs...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.6+290+dltvs...Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-socPrachoom Rangkasikorn
 
สรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษา
สรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษาสรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษา
สรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษาDuke Wongsatorn
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างsomdetpittayakom school
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างsomdetpittayakom school
 
แผน 3 อุณหภูมิ
แผน 3 อุณหภูมิแผน 3 อุณหภูมิ
แผน 3 อุณหภูมิkrupornpana55
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557Anusara Sensai
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์Boonlert Aroonpiboon
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551Weerachat Martluplao
 

Similar to ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvscip5+P4 6 u04 (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อ2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อ
 
5บทที่1
5บทที่1 5บทที่1
5บทที่1
 
แผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะแผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะ
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.6+290+dltvs...
 ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.6+290+dltvs... ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.6+290+dltvs...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.6+290+dltvs...
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
 
สรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษา
สรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษาสรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษา
สรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษา
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
 
5.ตอนที่ 3
5.ตอนที่ 35.ตอนที่ 3
5.ตอนที่ 3
 
แผน 3 อุณหภูมิ
แผน 3 อุณหภูมิแผน 3 อุณหภูมิ
แผน 3 อุณหภูมิ
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
 
9บทที่5
9บทที่5 9บทที่5
9บทที่5
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 

More from Prachoom Rangkasikorn

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....Prachoom Rangkasikorn
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....Prachoom Rangkasikorn
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 

More from Prachoom Rangkasikorn (20)

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
 

ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvscip5+P4 6 u04

  • 1. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 563 แนวการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้ เพื่อสร้างคุณลักษณะ ดี เก่ง มีสุข ๔หน่วยการเรียนรู้ที่ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ เรื่อง แรง ความดัน สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น ป.๔ - ๖
  • 3. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 565 ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการสืบ เสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม ตัวชี้วัด ป. ๕/๑ ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธ์ของแรงสองแรง ซึ่งอยู่ในแนวเดียวกันที่กระทำ�ต่อวัตถุ ป. ๕/๒ ทดลองและอธิบายความดันอากาศ ป. ๕/๓ ทดลองและอธิบายความดันของของเหลว ป. ๕/๔ ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลว การลอยตัว และการจมของวัตถุ มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการสืบเสาะหา ความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ป. ๕/๑ ทดลองและอธิบายแรงเสียดทาน และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ๒. กำ�หนดสาระสำ�คัญของการเรียนรู้ ๑. เมื่อมีแรงมากระทำ�ต่อวัตถุ จะทำ�ให้วัตถุมีการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ คือ เปลี่ยนจากหยุดนิ่งเป็น การเคลื่อนที่ หรือวัตถุที่เคลื่อนที่อยู่แล้วเมื่อมีแรงกระทำ�จะทำ�ให้เคลื่อนที่เร็วขึ้นหรือช้าลง หรือหยุด นอกจากนี้ แรงยังทำ�ให้วัตถุเปลี่ยนรูปร่างได้ด้วย ๒. เมื่อดึงหรือผลักวัตถุ ด้วยแรงมากกว่าหนึ่งแรง แล้วทำ�ให้วัตถุเคลื่อนที่ ผลของการเคลื่อนที่นั้นจะเสมือน ว่ามีแรงหนึ่งแรงกระทำ�ต่อวัตถุ โดยแรงหนึ่งแรงนี้จะเป็นผลลัพธ์ของแรงหลายๆ แรงนั้น ๓. อากาศมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุโดยกระทำ�ในทุกทิศทุกทาง แรงที่กระทำ�ต่อวัตถุจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ พื้นที่ของวัตถุ แรงที่อากาศกระทำ�ตั้งฉากต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ เรียกว่า ความดันอากาศ ๔. ของเหลวที่กระทำ�ต่อวัตถุที่อยู่ในของเหลวทุกทิศทุกทางโดยแรงลัพธ์ที่ของเหลวกระทำ�ต่อวัตถุจะมีขึ้นใน แนวดิ่ง เรียกแรงลัพธ์นี้ว่า แรงลอยตัว การจมหรือลอยของวัตถุขึ้นอยู่กับนํ้าหนักของวัตถุ และแรงลอยตัว ที่ของเหลวกระทำ�ต่อวัตถุนั้นๆ ๕. ในการออกแรงทำ�ให้วัตถุเคลื่อนที่ไปบนพื้นต่างๆ พื้นแต่ละชนิดจะมีแรงต้านการเคลื่อนที่ เรียกแรงต้าน การเคลื่อนที่นี้ว่า แรงเสียดทาน ซึ่งมีทิศทางตรงกันข้ามกับการเคลื่อนที่ แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ เรื่อง แรงและความดัน ระยะเวลาในการสอน ๑๓ ชั่วโมงป.๔-๖
  • 4. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 566 ๓. คุณลักษณะที่ต้องการพัฒนา ๑. ให้ผู้เรียนเป็นคนดีโดยสร้างให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรมที่พึงประสงค์ด้านความมุ่งมั่น ขยันหมั่นเพียร ประหยัด อดออม มีความซื่อสัตย์ ๒. ให้ผู้เรียนเป็นคนเก่ง โดยมีความรู้ความเข้าใจ – ความหมายของแรง – แรงลัพธ์ – แรงเสียดทาน – ความดันของของเหลว – ความดันอากาศ – แรงลอยตัว ๓. ให้ผู้เรียนมีความสุข โดย – เห็นคุณค่า และมีเจตนคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ และสร้างผลงานอย่างสร้างสรรค์ – ภูมิใจในผลงานของตนเอง ชื่นชมผลงานของผู้อื่น – มีความสนุกในการเรียนรู้ การทดลอง ๔. การวางแผนการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ การงานอาชีพและ เทคโนโลยี (กอท.) ✍ ออกแบบประดิษฐ์ เครื่องมือวัดความดันอากาศ ศิลปะ ✍ การวาดภาพการทดลอง ภาษาอังกฤษ ✍ คำ�ศัพท์เกี่ยวกับแรง ความดัน คณิตศาสตร์ ✍ การอ่านค่าจากตาชั่งสปริง สิ่งแวดล้อมและ เทคโนโลยีดีด้วย พระบารมีฯ (แรงและความดัน)
  • 5. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 567 ๕. การวางแผนการจัดการเรียนรู้ ๘ ๗ ๖ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ครูสนทนากับนักเรียน แรงทำ�อะไรได้บ้าง ✍ผลลัพธ์ของแรง ✍ความดันของเหลว ✍อากาศมีแรงกระทำ�ต่อ วัตถุหรือไม่ นักเรียนร่วมกันอภิปราย ✍แรง ผลลัพธ์ของแรง ✍อากาศมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุอย่างไร ✍ความดันของเหลว แรงเสียดทาน ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูล ✍แรง แรงลัพธ์ ✍ความดันของเหลว ✍แรงลอยตัว ✍แรงเสียดทานนักเรียนปฏิบัติ การทดลอง เรื่อง ✍แรง ✍อากาศมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุ ✍ของเหลวมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุ ✍แรงลอยตัว ✍แรงเสียดทาน นักเรียนนำ�เสนอผลการ ทดลองและสรุป ✍นักเรียนปฏิบัติตามกิจกรรมใบ งานที่ครูมอบหมาย นักเรียนสร้างชิ้นงาน ตามความสนใจ นักเรียนนำ�เสนอผลงาน ของตนเอง ✍ครูและนักเรียนร่วมกัน แสดงความคิดเห็นและ ให้ข้อเสนอแนะ ครูและนักเรียนประเมิน ชิ้นงาน นำ�ผลงานมา จัดแสดงในชั้นเรียน และ แลกเปลี่ยนความรู้ ซึ่งกันและกัน ๖. รายละเอียดของกิจกรรม ๑. ครูสนทนากับนักเรียน แรงที่นักเรียนรู้จักมีแรงอะไรบ้าง แรงทำ�อะไรได้บ้าง ผลลัพธ์ของแรงเป็นอย่างไร ความดันของของเหลวกระทำ�ต่อวัตถุอย่างไร อากาศมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุหรือไม่ ๒. นักเรียนร่วมกันอภิปราย แรง ผลลัพธ์ของแรง อากาศมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุ แรงเสียดทาน ประโยชน์ของ แรงเสียดทาน ๓. นักเรียนสืบค้นข้อมูล แรง แรงลัพธ์ ความดันของของเหลวที่มีต่อวัตถุ อากาศมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุ แรง เสียดทาน ประโยชน์ของแรงเสียดทาน สิ่งแวดล้อมและ เทคโนโลยีดีด้วย พระบารมีฯ (แรงและความดัน)
  • 6. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 568 ๔. นักเรียนปฏิบัติทดลองเรื่อง – แรง – แรงลอยตัว – อากาศมีแรงกระทำ�วัตถุ – แรงเสียดทาน – ของเหลวมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุ ๕. นักเรียนนำ�เสนอผลการทดลอง และสรุป และปฏิบัติตามกิจกรรมใบงานที่ครูมอบหมาย ๖. นักเรียนสร้างชิ้นงานตามความสนใจ ๗. นักเรียนนำ�เสนอผลงานของตนเอง ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น และให้ข้อเสนอแนะ ๘. ครูและนักเรียนประเมินชิ้นงาน และนำ�ผลงานมาจัดแสดงในชั้นเรียน และแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกัน และกัน ๗. สื่อการเรียนการสอน ๑. ตาชั่งสปริง ๒. ไม้เมตร ๓. ถุงทราย ๔. ดินนํ้ามัน ๕. เส้นเอ็น ๖. เทปกาว ๗. ลูกโป่งยาง ๘. แท่งไม้ ๙. กระดาษทราย ๘. การประเมินตามสภาพจริง กิจกรรม / พฤติกรรม / ผลงานที่ต้องประเมิน วิธีการ เครื่องมือ ๑. สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม การเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรม สังเกต แบบสังเกต ๒. ตรวจผลงานเป็นกลุ่ม รายบุคคล ความถูกต้อง ความสมบูรณ์ ความสะอาด ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สังเกต การสัมภาษณ์ ๓. การนำ�เสนอผลงาน การรายงาน ตรวจผลงาน ใบกิจกรรม ผู้ประเมิน – นักเรียนและเพื่อนนักเรียน – ครู – ผู้ปกครอง หรือผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ๙. สรุปผลการเรียนการสอน ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ w w w w w w w w
  • 7. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 569 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ เรื่อง แรงทำ�ให้เกิดอะไรได้บ้าง ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๑ ใบกิจกรรม คำ�ชี้แจง จากการสังเกตภาพให้ตอบคำ�ถามต่อไปนี้ ๑. เพราะเหตุใด รถเข็นจึงเคลื่อนที่ไปได้ ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. เมื่อเด็กวิ่งหนีผึ้ง รถเข็นมีการเคลื่อนที่อย่างไร ทำ�ไมจึงเป็นเช่นนั้น ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๓. เมื่อรถเข็นชนเสาไฟฟ้า การเคลื่อนที่ของรถเข็นเป็นอย่างไร เพราะเหตุใด ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๔. เมื่อรถเข็นชนเสาไฟฟ้า รูปร่างของรถเข็นเป็นอย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... w w w w w w w w
  • 8. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 570 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ เรื่อง ผลลัพธ์ของแรงหลายแรงเป็นอย่างไร ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๒ ใบกิจกรรม ตอนที่ ๑ ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้ ๑. ตารางบันทึกค่าของแรงที่อ่านได้จากตาชั่งสปริง ชื่อวัตถุ ค่าของแรงที่อ่านได้จากตาชั่งสปริง ๒ อัน (นิวตัน) ค่าของแรงที่อ่านได้จาก ตาชั่งสปริง ๑ อัน (นิวตัน)อันที่ ๑ อันที่ ๒ รวม ๑. ............................................................ ...................................... ...................................... ...................................... ...................................................................... ๒. ............................................................ ...................................... ...................................... ...................................... ...................................................................... ๓. ............................................................ ...................................... ...................................... ...................................... ...................................................................... ๔. ............................................................ ...................................... ...................................... ...................................... ...................................................................... ๒. ค่าของแรงที่อ่านได้จากตาชั่งสปริง ๑ อัน เมื่อเปรียบเทียบกับผลรวมของค่าของแรงที่อ่านได้จากตาชั่งสปริง ๒ อัน เป็นอย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๓. การทดลองนี้จะสรุปผลว่าอย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... w w w w w w w w
  • 9. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 571 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ เรื่อง อากาศมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุหรือไม่ ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๓ ใบกิจกรรม ตอนที่ ๑ ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้ ๑. ในการดึงก้นถุงพลาสติกออกจากแก้ว ดึงได้ง่ายหรือยาก เพราะเหตุใด ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. ในการดึงก้นถุงพลาสติกออกจากก้นแก้ว แรงที่ต้านการดึงถุงมีทิศทางใด ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๓. ควํ่าแก้วลง หรือตะแคงแก้ว แล้วดึงก้นถุงพลาสติกออกจากก้นแก้ว แรงที่ต้านการดึงถุงในแต่ละกรณี จะมีทิศทาง อย่างไร ดึงก้นถุงลง ดึงก้นถุงไปทางขวา ดึงก้นถุงไปทางซ้าย ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ๔. การทดลองนี้จะสรุปผลว่าอย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
  • 10. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 572 ตอนที่ ๒ ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้ ๑. ในการดึงกระดาษขึ้นตรงๆ จากพื้นเรียบอย่างรวดเร็ว ผลเป็นอย่างไร ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ๒. ในการดึงกระดาษขนาดต่างๆ กันให้ออกจากพื้นเรียบอย่างรวดเร็ว แรงที่ใช้ดึงกระดาษเหมือนหรือต่างกันอย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๓. มีแรงต้านการเคลื่อนที่ของกระดาษหรือไม่ ทราบได้อย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๔. แรงที่ต้านการเคลื่อนที่ของกระดาษเกิดจากอะไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๕. ในการดึงกระดาษแผ่นใหญ่ให้ออกจากพื้นเรียบ แรงที่ต้านการเคลื่อนที่ของกระดาษมากกว่าหรือน้อยกว่า เมื่อดึง กระดาษแผ่นเล็ก ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๖. แรงที่ใช้ดึงกระดาษให้ออกจากพื้นสัมพันธ์กับพื้นที่ของกระดาษหรือไม่ อย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๗. การทดลองนี้จะสรุปผลว่าอย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... w w w w w w w w
  • 11. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 573 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ เรื่อง ของเหลวมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุหรือไม่ ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๔ ใบกิจกรรม ตอนที่ ๑ ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้ ๑. เมื่อเอานํ้าใส่ลูกโป่ง ลูกโป่งจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร วาดภาพประกอบ ๒. ใส่นํ้าในขวดจนเต็ม แล้วดึงไม้ที่ปิดรูออก นํ้าจะพุ่งออกจากขวดในทิศทางใดบ้าง วาดภาพประกอบ ๓. การทดลองนี้จะสรุปผลว่าอย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
  • 12. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 574 ตอนที่ ๒ ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้ ๑. เมื่อมีนํ้าในขวด รูหมายเลขใดอยู่ในตำ�แหน่งที่มีความลึกมากที่สุด ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. เมื่อดึงไม้ที่ปิดรูออกจะเกิดอะไรขึ้น ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๓. นํ้าจากรูหมายเลขใดพุ่งไปได้ไกลสุด และใกล้สุดตามลำ�ดับ แรงที่ทำ�ให้นํ้าพุ่งออกจากแต่ละรู แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๔. ความดันของนํ้าในระดับที่ตรงกับรูหมายเลขใดมีค่ามากที่สุด ทราบได้อย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๕. เมื่อดึงไม้ที่ปิดรูในระดับเดียวกันออกทีละคู่ นํ้าที่พุ่งออกไปจะเป็นอย่างไร ความดันของนํ้าที่ระดับเดียวกันจะ แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๖. การทดลองนี้ จะสรุปผลว่าอย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... w w w w w w w w
  • 13. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 575 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ เรื่อง แรงลอยตัวคืออะไร ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๕ ใบกิจกรรม ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้ ๑. ใช้เชือกผูกดินนํ้ามันแล้วนำ�ไปแขวนกับตาชั่งสปริง ค่าของแรงที่อ่านได้...............................................นิวตัน ๒. นำ�ดินนํ้ามันที่แขวนกับตาชั่งสปริงจุ่มลงในนํ้า ค่าของแรงที่อ่านได้...............................................นิวตัน ๓. ใช้มือพยุงดินนํ้ามันที่แขวนกับตาชั่งสปริงขึ้นเล็กน้อย ค่าของแรงที่อ่านได้...............................................นิวตัน ๔. ใช้วัตถุอื่นแขวนกับตาชั่งสปริงแทนดินนํ้ามัน บันทึกค่าของแรงที่อ่านได้จากตาชั่งสปริงเมื่อชั่งวัตถุในอากาศและ ชั่งวัตถุในนํ้า ชื่อวัตถุ ค่าของแรงที่อ่านได้จากตาชั่งสปริง ในอากาศ (นิวตัน) ในนํ้า (นิวตัน) ๑. ................................................................................. ......................................................................................... ......................................................................................... ๒. ................................................................................. ......................................................................................... ......................................................................................... ๓. ................................................................................. ......................................................................................... ......................................................................................... ๕. การทดลองนี้สรุปผลได้ว่าอย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... w w w w w w w w
  • 14. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 576 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ เรื่อง แรงเสียดทานเป็นอย่างไร ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๖ ใบกิจกรรม ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้ ๑. ในการดึงเชือกเพื่อให้แท่งไม้เริ่มเคลื่อนที่บนพื้นแต่ละชนิด พื้นมีแรงต้านการเคลื่อนที่หรือไม่ ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. เมื่อดึงแท่งไม้ให้เคลื่อนที่ไปบนพื้นกระดาษทราย พื้นโต๊ะและพื้นกระดาษหนังสือพิมพ์ ออกแรงดึงเท่ากันหรือไม่ อย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๓. แรงต้านการดึงแท่งไม้บนพื้นแต่ละชนิดเท่ากันหรือไม่ อย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๔. การทดลองนี้จะสรุปผลว่าอย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... w w w w w w w w
  • 15. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 577 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ เรื่อง แรงเสียดทานมีประโยชน์อย่างไร ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๗ ใบกิจกรรม ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้ ๑. มือที่เปื้อนนํ้ายาสระผมจะสามารถเปิดจุกขวดหรือยกขวดขึ้นได้ง่ายหรือยาก เพราะเหตุใด ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. จากข้อ ๑ มีแรงเสียดทานระหว่างมือและจุกขวดมากหรือน้อย ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๓. ล้างมือและขวดให้สะอาดเช็ดให้แห้ง แล้วเปิดจุกขวด จะสามารถเปิดได้ง่ายกว่าเมื่อมือลื่น แสดงว่าแรงเสียดทาน ขณะนั้นเป็นอย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๔. การทดลองนี้จะสรุปผลได้อย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... w w w w w w w w
  • 16. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 578 ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง ความดันอากาศ เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน เมื่อนักเรียนออกแรงดึงก้นถุงพลาสติกให้ออกจากแก้วจะรู้สึกว่าดึงออกได้ยาก เนื่องจากมีแรงที่อากาศดัน ก้นถุงพลาสติกเอาไว้และไม่ว่าจะออกแรงดึงก้นถุงพลาสติกไปในทิศทางใดก็มีแรงต้านมือทั้งสิ้น แสดงว่าแรงที่อากาศ กระทำ�ต่อวัตถุจะกระทำ�ในทุกทิศทาง ในการดึงกระดาษขึ้นตรงๆ จากพื้นเรียบจะดึงขึ้นได้ยากเพราะมีแรงที่อากาศกดกระดาษไว้ โดยแรงที่อากาศ กระทำ�จะมีค่ามากเมื่อพื้นที่ของกระดาษมาก และแรงที่อากาศกระทำ�จะมีค่าน้อยเมื่อพื้นที่ของกระดาษน้อย และถ้าพื้นที่ ของกระดาษเท่ากันแรงที่อากาศกระทำ�จะมีค่าน้อยเมื่อพื้นที่ของกระดาษน้อยและถ้าพื้นที่ของกระดาษเท่ากันแรงที่อากาศ กระทำ�ก็จะเท่ากัน เรียกแรงที่อากาศกระทำ�ตั้งฉากต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ว่า ความดันอากาศ ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู ความดันอากาศ ณ ระดับความสูงต่างๆ มีค่าไม่เท่ากัน กำ�หนดให้ความดัน ๑ บรรยากาศ คือ ความดันของ อากาศที่ระดับนํ้าทะเล ซึ่งมีค่า ๑.๐๑×๑๐๕ นิวตันต่อตารางเมตร และยิ่งสูงจากระดับนํ้าทะเลขึ้นไปความดันของอากาศ ก็จะยิ่งลดลง จึงเป็นเหตุให้เมื่อขึ้นไปบนภูเขาจะรู้สึกว่าหูอื้อ เนื่องจากความดันอากาศภายนอกน้อยกว่าความดัันภายในหู ข้อเสนอแนะ ครูอาจจะตั้งปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับความดันอากาศให้นักเรียนร่วมอภิปรายหาคำ�ตอบ เช่น – ทำ�ไมเมื่อเอาหลอดดูดจุ่มลงไปในแก้วนํ้าแล้วเอานิ้วปิดปากหลอดดูดด้านบนเมื่อยกหลอดให้ออกจากแก้วนํ้า นํ้ายัังคงค้างอยู่ในหลอดได้ และเมื่อเอานิ้วที่ปิดปากหลอดออกนํ้าจะไหลลงมา w w w w w w w w
  • 17. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 579 ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง ความดันบรรยากาศ เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน อากาศที่ปกคลุมโลกเราเป็นชั้นๆ เรียกว่า ชั้นบรรยากาศ แต่ละชั้นมีส่วนประกอบและปริมาณของแก๊ส แตกต่างกันเนื่องจากอากาศเป็นสสารซึ่งมีมวลและนํ้าหนัก จึงถูกแรงโน้มถ่วงของโลกดึงดูดให้อากาศตกลงมา เช่นเดียว กับที่กระทำ�ต่อวัตถุอื่นๆ นํ้าหนักของอากาศที่กดลงบนพื้นโลกเนื่องจากแรงดึงดูดของโลกต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ เรียกว่า ความดันบรรยากาศ ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู ในการสอนเรื่องความดันบรรยากาศ ครูอาจสาธิตการทดลองนี้โดยให้นักเรียนเป็นผู้สังเกต โดยครูเอาหนังสือ วางบนโต๊ะ แล้วคั่นด้วยก้อนดินนํ้ามัน และกระดาษไขตามลำ�ดับ ทำ�เช่นเดิมโดยเอาหนังสือซ้อนขึ้นไปอีก และคั่นด้วย ก้อนดินนํ้ามันขนาดเท่าเดิมและกระดาษไขขึ้นไปให้สูงหลายๆ ชั้น ดังภาพ ถ้าชั้นบรรยากาศแต่ละชั้นประกอบด้วยแก๊ส ชนิดต่างๆ ในปริมาณมากน้อยแตกต่างกันเปรียบเหมือนหนังสือแต่ละกลุ่มที่หนักแตกต่างกัน นักเรียนคิดดูว่าความดัน ของบรรยากาศแต่ละชั้นจะเท่ากันหรือไม่ ให้นักเรียนหาคำ�ตอบ โดยค่อยๆ ยกหนังสือออกทีละชั้น แล้วลองสังเกตก้อน ดินนํ้ามันแต่ละก้อนเปรียบเทียบกัน ถ้าพื้นโต๊ะเปรียบเหมือนพื้นโลก บริเวณยิ่งใกล้พื้นโลกนํ้าหนักของชั้นบรรยากาศจะยิ่งกดลงมามาก ความดัน บรรยากาศที่ระดับนํ้าทะเล ซึ่งมีค่ามากกว่าบนยอดเขา นอกจากระดับความสูงความดันบรรยากาศจะเกี่ยวข้องกับอุณหภูมิของอากาศอากาศร้อนจะขยายตัวมีปริมาตร เพิ่มขึ้น อากาศจะเบาบางลง ความดันของบรรยากาศจึงลดลง w w w w w w w w
  • 18. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 580 ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง ความดันของเหลว เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน ของเหลวมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุเช่นนํ้ามีแรงกระทำ�ต่อเขื่อนนํ้ามีแรงกระทำ�ต่อเรือที่ลอยอยู่ในนํ้าเมื่อใส่นํ้าเข้าไป ในลูกโป่ง นํ้าจะมีแรงกระทำ�ต่อลูกโป่งในทุกทิศทาง ทำ�ให้ลูกโป่งมีขนาดใหญ่ขึ้น จากเรื่องอากาศมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุแรงที่อากาศกระทำ�ตั้งฉากต่อหน่วยพื้นที่เรียกว่าความดันอากาศในทำ�นอง เดียวกันแรงที่ของเหลวกระทำ�ตั้งฉากต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่เรียกว่า ความดันของเหลว ความดันของเหลวจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความลึกของของเหลว โดยที่ระดับความลึกมาก ความดัน ของเหลวก็จะมีค่ามาก ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู ✍ ความดันของเหลว นอกจากจะขึ้นอยู่กับความลึกแล้วยังขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของของเหลวด้วย โดยที่ ระดับความลึกเดียวกันของเหลวที่มีความหนาแน่นมากจะมีความดันมากกว่าของเหลวที่มีความหนาแน่นน้อย ✍ เมื่อดึงไม้ที่ปิดรูออก นํ้าจะพุ่งออกไป โดยที่ระดับความลึกมากมีความดันมาก ทำ�ให้นํ้าที่พุ่งออกไป มีความเร็วมาก นํ้าที่พุ่งออกไปจะไปได้ไกลหรือไม่ ขึ้นอยู่กับความเร็วของนํ้าขณะออกจากขวดและเวลาที่ใช้ในการตก ถึงพื้น ที่ระดับความลึกมาก นํ้าพุ่งออกไปได้ด้วยความเร็วมาก แต่ก็จะตกถึงพื้นเร็วด้วยเพราะเป็นจุดที่อยู่ใกล้พื้น ส่วน จุด ที่อยู่สูงขึ้นไปนํ้าจะพุ่งออกด้วยความเร็วน้อยเพราะความดันน้อยแต่จะตกถึงพื้นช้ากว่าจึงทำ�ให้ระยะทางในแนวราบของ นํ้าจากทั้ง ๒ ระดับอาจเท่ากัน ดังนั้นเพื่อให้เวลาในการตกถึงพื้นไม่แตกต่างกันมากนัก ระยะห่างของแต่ละรู ต้องต่างกัน ไม่มาก จึงจะทำ�ให้เห็นว่านํ้าที่ระดับความลึกมากไปได้ไกลมาก ✍ ความดันของเหลว คือ แรงที่ของเหลวกระทำ�ตั้งฉาก ต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ ดังนั้นถ้าพิจารณาในพื้นที่ ๑ ตารางเมตร ที่ระดับความลึกต่างๆ นํ้าหนักของเหลวในพื้นที่ ๑ ตารางเมตร นั้นก็จะต่างกันยิ่งลึกมากขึ้นนํ้าหนักของเหลวที่กระทำ�ก็จะมากขึ้น ด้วยดังรูป จึงทำ�ให้ยิ่งลึกมาก ความดันของเหลวก็จะมีค่ามาก
  • 19. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 581 ความดันอากาศ คือแรงที่อากาศกระทำ�ตั้งฉากต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ ถ้าสมมติว่า บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกเป็น ดังรูปแล้วพิจารณาใน๑หน่วยพื้นที่จะได้ว่าจุดที่สูงจากพื้นโลกมากขึ้นลำ�อากาศที่กระทำ�ต่อพื้นที่นั้นจะสั้นลงทำ�ให้แรง ที่อากาศกระทำ�ต่อพื้นที่นั้นน้อยลงเป็นเหตุให้ยิ่งสูงมากขึ้นความดันอากาศยิ่งน้อยลง ข้อเสนอแนะ ในการเจาะรูข้างขวดพลาสติกควรใช้ตะปูเผาจนร้อน เจาะรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ๒ มิลลิเมตร พยายามเจาะรูให้แนวตรงกัน ในการเผาตะปูอย่าลืมใช้ฉนวนความร้อนหุ้มบริเวณส่วนหัวตะปู ในการเติมนํ้าลงไปในขวดควรเติมให้ระดับนํ้าสูงกว่ารูบนสุดไม่มากนักประมาณ ๓ - ๔ เซนติเมตร ไม้ที่ใช้ในการอุดรูควรมีความยาวประมาณ ๔ - ๕ เซนติเมตรโดยเหลาปลายให้แหลม w w w w w w w w
  • 20. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 582 ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงกระทำ�ต่อวัตถุ เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน เมื่อมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุ แรงจะทำ�ให้วัตถุมีการเปลี่ยนแปลงสภาพการเคลื่อนที่ได้ โดยเปลี่ยนจากหยุดนิ่ง ให้เคลื่อนที่ เช่น เตะลูกบอล ดันประตูให้เปิด และสำ�หรับวัตถุที่เคลื่อนที่อยู่แล้วเมื่อถูกแรงกระทำ�ก็อาจเคลื่อนที่เร็วขึ้น ช้าลง หรือหยุดการเคลื่อนที่ได้นอกจากนี้แรงยังทำ�ให้รูปร่างของวัตถุมีการเปลี่ยนแปลงได้ เช่น ดึงหนังยางให้ยึด ทุบ ดินนํ้ามันก้อนกลมให้แบน ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู – วัตถุที่เคลื่อนที่อยู่จะเคลื่อนที่เร็วขึ้นหรือช้าลงขึ้นอยู่กับทิศของแรงที่มากระทำ�ต่อวัตถุ โดยถ้าแรงมีทิศเดียว กับทิศทางเคลื่อนที่เดิมของวัตถุจะทำ�ให้วัตถุเคลื่อนที่เร็วขึ้นและถ้าแรงมีทิศตรงข้ามกับทิศการเคลื่อนที่ของ วัตถุ จะทำ�ให้วัตถุเคลื่อนที่ช้าลง แต่ในบางกรณี แรงที่มีทิศตรงข้ามการเคลื่อนที่อาจทำ�ให้วัตถุเปลี่ยนทิศทาง การเคลื่อนที่หรือเคลื่อนที่เร็วขึ้นได้ เช่น การตีลูกปิงปอง การตีลูกเทนนิส – การที่ลูกโป่งเคลื่อนที่ไปได้เพราะเมื่อปล่อยให้อากาศออกจากลูกโป่ง อากาศภายในดันอากาศภายนอก จะเกิด แรงปฏิกิริยาจากอากาศภายนอกดันอากาศภายใน ทำ�ให้ลูกโป่งเคลื่อนที่ไปได้ หลอดดูดซึ่งติดกับลูกโป่งจึง เคลื่อนที่ไปได้ ซึ่งหลอดดูดจะไปได้ไกลและเร็วขึ้นอยู่กับปริมาณอากาศในลูกโป่ง เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน เมื่อนักเรียนดันหรือผลักวัตถุ นักเรียนต้องออกแรงโดยถ้าเพื่อนๆ หลายคนดันโต๊ะแล้วทำ�ให้โต๊ะเคลื่อนที่ไป ได้ระยะทางเท่ากับที่นักเรียนดันโต๊ะให้เคลื่อนที่ในเวลาเท่ากันถือว่าแรงที่นักเรียนดันโต๊ะเท่ากับผลรวมแรงของเพื่อน หลายๆ คนนั้น ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าถ้ามีแรงหลายๆแรงกระทำ�ต่อวัตถุจะเสมือนว่ามีแรงเพียงหนึ่งแรงกระทำ�ต่อวัตถุจะเสมือน ว่ามีแรงกระทำ�ต่อวัตถุ โดยแรงนี้จะเป็นผลลัพธ์ของแรงหลายแรงนั้น
  • 21. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 583 ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู แรงเป็นปริมาณที่มีขนาดและทิศทางเรียกว่าปริมาณเวกเตอร์สามารถเขียนแทนด้วยลูกศรความยาวของลูกศร แทนขนาดของแรงและหัวลูกศรแทนทิศทาง มีหน่วยเป็นนิวตัน แรง ๓ นิวตัน แรง ๕ นิวตัน การเตรียมล่วงหน้า ให้นักเรียนจัดเตรียมสิ่งของที่จะนำ�มาชั่ง เช่น ของเล่น ก้อนหิน รวมทั้งเตรียมถุงพลาสติกที่มีหูหิ้วสำ�หรับใส่ ของที่จะนำ�ไปชั่ง ประเมินผล ๑. ประเมินทักษะภาคปฏิบัติของนักเรียนระหว่างทำ�การทดลอง โดยใช้แบบประเมินเป็นกลุ่ม ๒. ประเมินความสามารถของนักเรียนในการรายงานผล และสรุปผลการทดลอง ๓. ประเมินความร่วมมือในการอภิปรายและแสดงความคิดเห็น w w w w w w w w
  • 22. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 584 ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงลอยตัว เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน เมื่อนำ�วัตถุไปอยู่ในของเหลวจะมีแรงที่ของเหลวกระทำ�ต่อวัตถุโดยแรงลัพธ์ที่ของเหลวกระทำ�ต่อวัตถุนั้นจะ เป็นแรงที่พยุงวัตถุขึ้นทำ�ให้รู้สึกวัตถุเบาขึ้นเมื่อชั่งวัตถุในของเหลว แรงที่ของเหลวพยุงวัตถุขึ้นนี้เรียกว่า แรงลอยตัว วัตถุที่อยู่ในของเหลวต่างชนิดกัน แรงลอยตัวก็จะแตกต่างกันการจมและลอยของวัตถุในของเหลว ขึ้นอยู่กับ นํ้าหนักของวัตถุและแรงลอยตัวที่ของเหลวกระทำ�ต่อวัตถุนั้น โดยถ้าแรงลอยตัวค่าน้อยกว่านํ้าหนักของวัตถุ วัตถุจะ จมลงไปในของเหลว แต่ถ้าแรงลอยตัวมีค่าเท่ากับนํ้าหนักของวัตถุ วัตถุจะลอยในของเหลวนั้น ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู เมื่อวัตถุอยู่ในของเหลว ของเหลวจะมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุใน ทุกทิศทาง แรงลัพธ์ที่ของเหลวกระทำ�ต่อวัตถุจะอยู่ในทิศขึ้นเพราะว่า – ความดันที่ผิวล่างของวัตถุมากกว่าความดันที่ผิวบนของ วัตถุเพราะจุดล่างอยู่ลึกกว่าจุดบนจึงทำ�ให้แรงที่ของเหลว กระทำ�ต่อวัตถุทางด้านล่าง ซึ่งมีทิศขึ้นมากกว่าแรงที่ ของเหลวกระทำ�ต่อวัตถุทางด้านบนซึ่งมีทิศลง แรงลัพธ์ ที่ของเหลวกระทำ�ต่อวัตถุจึงมีทิศขึ้น – แรงที่ของเหลวกระทำ�ต่อวัตถุด้านหน้าเท่ากับด้านหลัง ด้านซ้ายเท่ากับด้านขวา ทำ�ให้แรงลัพธ์ของของเหลวที่ กระทำ�ต่อวัตถุด้านข้างของวัตถุเป็นศูนย์ ข้อเสนอแนะ – หลังจากการทำ�กิจกรรมแล้ว ครูอาจตั้งปัญหาให้นักเรียนช่วยคิดหาคำ�ตอบเพื่อนำ�ไปสู่การทำ�โครงงานต่อไป เช่นวัตถุที่อยู่ในของเหลวที่ต่างชนิดกันแรงที่ของเหลวกระทำ�ต่อวัตถุจะเท่ากันหรือไม่จะมีวิธีทดสอบอย่างไร – ครูอาจเสนอกิจกรรมเพิ่มเติมให้นักเรียนปั้นดินนํ้ามันให้ลอยนํ้าได้แล้วแข่งกันเอาลูกแก้วใส่ลงไปในดินนํ้ามัน ที่ปั้นแล้วให้มากที่สุดที่ดินนํ้ามันยังสามารถลอยนํ้าได้ w w w w w w w w
  • 23. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 585 ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงเสียดทาน เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน ในการออกแรงดึงหรือผลักให้วัตถุเคลื่อนที่ต้องออกแรงเนื่องจากพื้นมีแรงต้านการเคลื่อนที่เรียกแรงต้านการ เคลื่อนที่นี้ว่าแรงเสียดทาน โดยถ้าแรงดึงหรือผลักวัตถุเท่ากับแรงเสียดทานวัตถุก็จะยังคงอยู่นิ่งไม่เคลื่อนที่ไป แต่ถ้า แรงดึงหรือผลักวัตถุมากกว่าแรงเสียดทานวัตถุก็จะเคลื่อนที่ไปได้แรงที่ใช้ในการทำ�ให้วัตถุเคลื่อนที่บนพื้นต่างชนิดกันมี ค่าต่างกัน แสดงว่าพื้นต่างชนิดกันแรงเสียดทานก็จะต่างกันด้วย ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู แรงเสียดทาน เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุทั้งสองโดยแรงเสียดทานจะมีค่ามากหรือน้อย จะขึ้นอยู่กับ ลักษณะของผิวสัมผัสของวัตถุคู่นั้นๆว่ามีความฝืดมากหรือฝืดน้อยซึ่งเรียกว่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างผิวสัมผัส ตารางค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน (μ) เหล็กกับเหล็ก ๐.๗๔ อะลูมิเนียมกับเหล็ก ๐.๖๑ ทองแดงกับเหล็ก ๐.๕๓ ยางกับคอนกรีต ๑.๐๐ ไม้กับไม้ ๐.๒๕ - ๐.๕ แก้วกับแก้ว ๐.๙๔ นํ้าแข็งกับนํ้าแข็ง ๐.๑ เทฟล่อนกับเทฟล่อน ๐.๐๔ ข้อเสนอแนะ ๑. ในการดึงแท่งไม้ให้เคลื่อนที่ไปบนพื้นกระดาษ หรือพื้นกระดาษหนังสือพิมพ์ ให้ตรึงกระดาษทรายหรือ กระดาษหนังสือพิมพ์ไว้กับพื้นโต๊ะ โดยใช้เทปใส และตรึงให้เรียบ ๒. ให้การดึงแท่งไม้ไปบนพื้นต่างชนิดกันให้เคลื่อนที่ ครูอาจให้นักเรียนใช้ตาชั่งสปริงเกี่ยวกับตะขอแล้วดึง ตาชั่งสปริงพร้อมอ่านค่าแรงที่กดตาชั่งขณะวัตถุเริ่มเคลื่อนที่ แล้วเปรียบเทียบค่าที่อ่านได้
  • 24. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 586 เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน ในชีวิตประจำ�วันของนักเรียน มีกิจกรรมต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กับแรงเสียดทานอยู่เสมอ เช่น การเดินไป บนพื้น การถือของ การดึงหรือผลักวัตถุให้เคลื่อนที่ไป กิจกรรมบางอย่างต้องการแรงเสียดทานจึงจำ�เป็นต้องเพิ่มให้แรงเสียดทานมากขึ้น เช่น การขี่รถจักรยานไปบน พื้นซีเมนต์ รถจะไปได้ดีกว่าขี่รถจักรยานไปบนพื้นดินที่เปียกลื่น กิจกรรมบางอย่างไม่ต้องการแรงเสียดทานจึงจำ�เป็นต้องลดแรงเสียดทานให้ลดลง เช่น ลากวัตถุไปบนพื้นลื่น ออกแรงน้อยกว่าลากวัตถุไปบนพื้นฝืด ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู ขณะที่คนเดินไปข้างหน้าแรงเสียดทานที่พื้นกระทำ�ต่อเท้าคนจะมีทิศไปข้างหน้าซึ่งจะทำ�ให้คนสามารถเดินไป ข้างหน้าได้โดยไม่ล้มไถล ซึ่งคนทั่วไปมักจะเข้าใจผิดว่าขณะที่คนเดินไปข้างหน้า จะมีแรงเสียดทานไปทางด้านหลัง แสดง ทิศแรงเสียดทานได้ดังรูป ข้อเสนอแนะ ๑. ในการทำ�กิจกรรมเปิดจุกขวดอาจใช้สบู่แทนแชมพูได้ ๒. ครูอาจนำ�อภิปรายเกี่ยวกับลักษณะของฝาขวดว่าทำ�ไมต้องมีรอยหยัก ๓. ครูอาจเพิ่มกิจกรรมให้นักเรียนหาวิธีลดแรงเสียดทานในการดันโต๊ะครูให้เคลื่อนที่ w w w w w w w w