SlideShare a Scribd company logo
1 of 125
Download to read offline
ชื่อผลงานวิจัย พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้
และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศ” สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ผู้ทาวิจัย นายสุริยา จุมพลหลา และคณะ
ปี พ.ศ. 2560
สถานศึกษา โรงเรียนวัดมะพร้าวเตี้ย เขตภาษีเจริญ
บทคัดย่อ
รายงาน พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้และจิตวิทยา
ศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศ” สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อ
ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิต
วิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศ สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2) เพื่อพัฒนารูปแบบ
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง
บรรยากาศ สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3) เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้าง
ทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศ สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
4) เพื่อประเมินผลและปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศ สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 4.1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้
และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศ สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 4.2) เพื่อ
เปรียบเทียบทักษะ ความรู้หลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และ
จิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศ สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 4.3) เพื่อประเมินจิต
วิทยาศาสตร์ หลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิต
วิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศ สาหรับนักเรียน ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 4.4) เพื่อศึกษาความ
พึงพอใจของนักเรียนหลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิต
วิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศ สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 การดาเนินการวิจัยใน
ครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) 3 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 D: Diagnosis of
needs (การวินิจฉัยและออกแบบการเรียนรู้ ) ขั้นที่ 2 R: Research in effective learning environment
(การใช้วิจัยเพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ซึ่งใน ที่นี้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้หมายถึงการจัดการเรียนรู้และการ
จัดการชั้นเรียน ) ขั้นที่ 3 U: Universal Design for learning (เป็นขั้นการประเมิน) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ
วิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดมะพร้าวเตี้ย จานวน 30 คน
ผลการวิจัยพบว่า
รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (DRU MODEL: YPF MOEDL) รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่
สร้างขึ้นมีความเหมาะสมและสอดคล้องเชิงโครงสร้าง สามารถนาไปทดลองใช้ได้ค่าประสิทธิภาพค่าของ
รูปแบบการจัดการเรียนรู้เท่ากับ 77.27/79.61 สูงกว่าเกณฑ์ 75/75 หลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้
รูปแบบการการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชา
วิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (DRU MODEL: YPF MOEDL) โดย
ภาพรวมอยู่ในระดับสูงมาก สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 หลังเรียนโดยใช้รูปแบบ
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (DRU MODEL: YPF MOEDL) พัฒนาขึ้นหลังเรียน มีค่าเฉลี่ย (̅ =4.90 , S.D.
= 0.20) อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาหลายด้าน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านความสนใจใฝ่รู้ มีค่าเฉลี่ย
(̅ =4.90 , S.D. = 0.20) อยู่ในระดับมากที่สุดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้รูปแบบการจัดการ
เรียนรู้ (DRU MODEL: YPF MOEDL) ในภาพรวมนักเรียนเห็นด้วยในระดับมากที่สุด และเมื่อแยกหลายด้าน
ในภาพรวมด้านพฤติกรรมจิตวิทยาศาสตร์ นักเรียนเห็นด้วยในระดับมากที่สุด ในด้านกระบวนการจัดการ
เรียนรู้ ในภาพรวมนักเรียนเห็นด้วยในระดับมากที่สุด
บทที่ 1
บทนา
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
ปัจจุบันเป็นยุคที่โลกมีความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว อันสืบเนื่องมาจากการใช้เทคโนโลยีเพื่อ
เชื่อมโยงข้อมูลต่างๆของทุกภูมิภาคของโลกเข้าด้วยกัน กระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่
21 ส่งผลต่อวิถีการดารงชีพของสังคมอย่างทั่วถึง ครูจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้
เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักเรียนมีทักษะสาหรับการออกไปดารงชีวิตในโลกศตวรรษที่ 21 ที่สาคัญที่สุด คือ
ทักษะการเรียนรู้ (LEARNING Skill) ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เด็กในศตวรรษที่ 21
นี้ มีความรู้ ความสามารถ และทักษะจาเป็น ซึ่งเป็นผลมาจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียน
การสอน ตลอดจนการเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ ที่เป็นปัจจัยสนับสนุนที่จะทาให้เกิดการเรียนรู้ดังกล่าว
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการกาหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ โดยร่วมกันสร้างรูปแบบ
และแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นที่องค์ความรู้
ทักษะ ความเชี่ยวชาญและสมรรถนะที่เกิดกับผู้เรียน เพื่อใช้ในการดารงชีวิตในสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงใน
ปัจจุบัน (ศิริวรรณ ฉัตรมณีรุ่งเจริญ และวรางคณา ทองนพคุณ. 2556 : 1-3) สอดคล้องกับนโยบายของ
กระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โลกศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม
รักความเป็นไทย มีทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ มีทักษะด้านเทคโนโลยีสามารถทางานและอยู่ร่วมกับ
ผู้อื่นได้อย่างสันติ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2552 : 2) จึงเกิดการปฏิรูปการศึกษาของไทยอย่างต่อเนื่องภายใต้
กฎหมายการศึกษาหลักพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 มีความต้องการจัดการศึกษาเพื่อ
พัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรมมีจริยธรรมและ
วัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข การจัดการศึกษาต้องยึดหลักผู้เรียนทุก
คนมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญมากที่สุด กระบวนการ
จัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาศักยภาพ ส่วนการจัดกระบวนการเรียนรู้ ได้เน้นให้
สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัด
ของผู้เรียนโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญ
สถานการณ์และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา และจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จาก
ประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติ ให้ทาได้ คิดเป็น รักการอ่านและใฝ่เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ในส่วนของการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์นั้นต้องให้เกิดทั้งความรู้ ทักษะ และเจตคติด้านวิทยาศาสตร์รวมทั้งความรู้ความเข้าใจและ
ประสบการณ์เรื่องการจัดการ การบารุงรักษา และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลยั่งยืน
(พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542.2542 : 1-8)
จากข้อค้นพบในการศึกษาวิจัยและติดตามผลการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2542
ในช่วงระยะ 6 ปีที่ผ่านมา (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2546ก, 2546ข, 2548ก, 2548ข ;
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2547 ; สานักผู้ตรวจราชการและติดตามประเมินผล, 2548 ; สุวิมล ว่อง
วานิช และนงลักษณ์ วิรัชชัย, 2547; Nutravong, 2002; Kittsunthorn, 2003, อ้างถึงใน
กระทรวงศึกษาธิการ 2552 : 1) และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โลก
ยุคศตวรรษที่ 21 จึงได้มีการพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียน
ให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ กาหนดจุดหมายไว้ 5 ประการ
ดังนี้ 1) มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฎิบัติตนตาม
หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2) มีความรู้อัน
เป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต 3) มี
สุขภาพกายและสุขภาพที่ดี มีสุขนิสัยและรักการออกกาลังกาย 4) มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็น
พลเมืองไทยและพลโลก 4) มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองและพลโลก 5) มีจิตสานึกในการ
อนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และ
สร้างสิ่งที่ดีงามในสังคมและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข โดยมุ่งหวังพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตาม
มาตรฐานการเรียนรู้ซึ่งการพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ 5
ประการ คือ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา
ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ในส่วนของความสามารถในการคิด
นั้นเป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
และการคิดเป็นระบบเพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคม
ได้อย่างเหมาะสม มีการพัฒนาอย่างสมดุลโดยคานึงถึงหลักการพัฒนาทางสมองและพหุปัญญา และกาหนด
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ
โดยเฉพาะกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียนรู้วิทยาศาสตร์เน้นการเชื่อมโยงความรู้กับ
กระบวนการ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และการ
แก้ปัญหาที่หลากหลายให้กับผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทากิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติ
จริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น (กระทรวงศึกษาธิการ, 2552 : 2-13)
วิทยาศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับทุกคน
ทั้งในชีวิตประจาวันและการงานอาชีพต่างๆ ตลอดจนเทคโนโลยีเครื่องมือ เครื่องใช้และผลผลิตต่างๆ ที่มนุษย์
ได้ใช้เพื่ออานวยความสะดวกในชีวิตและการงาน ล้วนเป็นผลของความรู้วิทยาศาสตร์ ผสมผสานกับความคิด
สร้างสรรค์และศาสตร์อื่นๆ วิทยาศาสตร์ช่วยให้มนุษย์ได้พัฒนาวิธีคิดทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์
คิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็น
ระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลที่หลากหลายและประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ วิทยาศาสตร์เป็น
วัฒนธรรมของโลกสมันใหม่ซึ่งเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ (Knowledge-based society) ทุกคนจาเป็นต้อง
ได้รับการพัฒนาให้รู้วิทยาศาสตร์ เพื่อที่จะมีความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างสรรค์
ขึ้น สามารถนาความรู้ไปใช้อย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์ มีคุณธรรม (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา.
2551 : 1) เป็นที่น่าสังเกตว่า ประเทศในโลกที่สามที่เจริญก้าวหน้าไปได้ดี มักจะมีนโยบายวิทยาศาสตร์ที่
ชัดเจน เป็นรูปธรรม และตัวบ่งชี้ที่วัดและเปรียบเทียบได้ เช่น จานวนนักวิทยาศาสตร์ต่อประชากรพันคน
งบประมาณวิจัยค้นคว้า วิทยาศาสตร์เป็นเปอร์เซ็นต์ของผลิตผลรวมมวล ฯลฯ แต่บางประเทศกลับมีนโยบายที่
หน่วงเหนี่ยววิทยาศาสตร์ เป็นต้น ว่านโยบายที่แบ่งวิทยาศาสตร์ออกเป็นสองประเภท คือประเภทที่มีบทบาท
ในการพัฒนาประเทศ และประเทศที่ไม่มีบทบาทในการพัฒนาประเทศ และรวมการพัฒนาวิทยาศาสตร์มูล
ฐาน เช่น คณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี หรือแม้แต่ ชีววิทยา เข้าไว้ในประเภทหลัง หลักสูตรการเรียนการสอนใน
ปัจจุบันของประเทศต่างๆ แม้แต่ประเทศเพื่อนบ้าน ได้มุ่งไปที่ Knowledge curriculum คาว่า Knowledge
ในที่นี้หมายถึงสิ่งที่เรียนรู้ ที่สามารถเปลี่ยนไป ให้มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ หากสิ่งที่เรียนรู้เปลี่ยนไป ให้มีมูลค่า
ทางเศรษฐกิจไม่ได้ ก็จะไม่นับเป็นความรู้ ดังนั้น หลักการสาคัญของการเรียนรู้ คือการเปลี่ยนสิ่งเรียนรู้ให้มี
ประโยชน์แก่ตนเองหรือผู้อื่นให้ได้ ดังนั้น ได้มีผู้เสนอแนะว่า การเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ ควรจะเริ่มด้วยการใช้
ประโยชน์ก่อน และเข้าสู่ทฤษฎีภายหลัง หรืออย่างน้อย ผู้สอนน่าจะสอนในสิ่งที่ผู้เรียนรู้ว่า สิ่งที่เรียนมีหรือจะ
ให้ประโยชน์ แก่นักเรียนอย่างไรบ้าง ในขณะที่ประเทศไทยกาลังพูดถึง Quantum economy ซึ่งการพัฒนา
nano computer และนักฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ในอนาคตจะมีลักษณะใกล้เคียงกันเข้าไปยิ่งขึ้น (เฉลียว มณีเลิศ.
2557 : 1) รัฐต้องเร่งรัดและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาประกอบกันองค์การยูเนสโกในปี
2000 ได้ออกมาเสนอให้พลโลกรู้วิทยาศาสตร์อย่างเพียงพอเพื่อการดารงชีวิตอย่างเป็นสุขและปลอดภัยในโลก
ยุคโลกาภิวัฒน์ การพัฒนาให้ทุกคนรู้วิทยาศาสตร์จึงมีความสาคัญในการดารงชีวิต ช่วยเพิ่มขีดความสามารถ
ในการพัฒนาเศรษฐกิจ (หัสชัย สิทธิรักษ์. 2551) ดังนั้น วิทยาศาสตร์จึงเป็นวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ซึ่งเป็น
สังคมแห่งการเรียนรู้ การบูรณาการความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ สอดคล้องกับเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ควบคู่ไปพร้อมกับการพัฒนาการทางความคิดในระดับสูง อันจะส่งผลต่อการ
พัฒนาความคิดที่มีเหตุผล สร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นทักษะสาคัญในการแก้ปัญหา
อย่างเป็นระบบ
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มิได้มุ่งเฉพาะตัวเนื้อหาความรู้แต่มีความหมายครอบคลุมไปถึง
กระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์อีกด้วย นั่นคือ ผู้เรียนต้องได้รับผลผลิตทั้งเนื้อหาความรู้และ
ปลูกฝังกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในเวลาเดียวกัน (วรรณทิพา รอดแรงค้า. 2544 : ค)
เพื่อให้เกิดทักษะการเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านพุทธิพิสัย ด้านทักษะพิสัย และด้านจิตพิสัย ผู้เรียนต้องได้
เรียนรู้ผ่านกระบวนการเป็นผู้คิดลงปฏิบัติ ศึกษาค้นคว้าอย่างมีระบบด้วยกิจกรรมหลากหลาย ทั้งการทา
กิจกรรมภาคสนาม การสังเกต การสารวจ ตรวจสอบ การทดลองในห้องปฎิบัติการ การสืบค้นข้อมูลจาก
แหล่งข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิการเรียนรู้ของผู้เรียนจะเกิดขึ้นระหว่างที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมผ่านการทากิจกรรม
เหล่านั้นจึงจะมีความสามารถในการแก้ปัญหาด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ได้พัฒนากระบวนการคิดขั้นสูง
(สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2547 : 9-10) หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
กาหนดไว้ว่าสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มุ่งให้มีการนาความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ใน
การศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ และแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ การคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล คิดวิเคราะห์ คิด
สร้างสรรค์ และจิตวิทยาศาสตร์ผู้เรียนต้องอาศัยความรู้ที่หลากหลาย เป็นเครื่องมือที่จะนาพาตนเองไปสู่
เป้าหมายของหลักสูตร สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นสาระที่มีกระบวนการและขั้นตอนในการศึกษา
ประเด็นวิทยาศาสตร์ กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในชั้นเรียน มักต้องมีการคิดวิเคราะห์ประเด็นต่างๆ เป็น
หลัก โดยจะเริ่มจากการทาความเข้าใจประเด็นปัญหาหรือคาถาม โดยที่เด็กต้องทาความเข้าใจกับสถานการณ์
นั้นอย่างถ่องแท้ มักจะเริ่มด้วยการคิดวิเคราะห์ว่ามีองค์ประกอบใดบ้างที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์นั้นๆ ไม่
เพียงแต่ความรู้ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน การพัฒนาและปลูกฝังทักษะการคิดวิเคราะห์ให้เด็กจะสามารถทาให้เกิด
ความเข้าใจเรื่องราวที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจาวัน และใช้ความเป็นเหตุและผลในการตัดสินใจแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
ได้อีกด้วย (กระทรวงศึกษาธิการ 2551 : 4-21) การสอนจึงเป็นเรื่องสาคัญอย่างยิ่งในยุคปฏิรูปการศึกษาการ
ดาเนินชีวิตที่ประสบความสุข ความสาเร็จ เป็นผลมาจากประสิทธิภาพของการคิดกลวิธี และทักษะ
กระบวนการคิดในลักษณะต่างๆ การคิดเป็นกลไกที่สาคัญอย่างอย่างยิ่งในการพัฒนาความสามารถทางสมอง
การฝึกทักษะการคิดและกระบวนการคิดจึงเป็นปัจจัยที่สาคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาสติปัญญาของเด็กเพื่อจะได้
เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking) พิมพันธ์ เดชะคุปต์
และพเยาว์ ยินดีสุข. (2548 : 22) ; สมนึก ภัททิยธนี, จุฑาทิพย์ ชาติสุวรรณ์ และวิภาดา คาดี (2548 : 2)
กล่าวถึงการคิดอย่างมีวิจารณญาณไว้ว่า เป็นความคิดประเภทหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถแก้ปัญหาได้อย่าง
มีประสิทธิภาพและเป็นเครื่องมือสาหรับการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องได้ด้วยตนเอง อีกทั้งเป็นความคิดที่มี
จุดมุ่งหมายเพื่อใช้ในการพิจารณาไตร่ตรองอย่างรอบคอบโดยอาศัยความรู้ ความคิด และประสบการณ์เพื่อ
นาไปสู่ข้อสรุปที่สมเหตุสมผล ดังนั้น การคิดอย่างมีวิจารณญาณส่งผลให้สามารถตัดสินใจและแก้ปัญหาโดย
การใช้เหตุผลอย่างถูกต้องเหมาะสมช่วยให้สามารถยืนหยัดได้อย่างมั่นคงในโลกปัจจุบันและอนาคต
วิทยาศาสตร์ เป็นความรู้ที่ได้จากการศึกษาปรากฏการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ ซึ่งความรู้ต่างๆ
เหล่านี้มีอยู่อย่างมากมาย ดังนั้น เพื่อความเป็นระเบียบจึงต้องมีการจัดความรู้ต่างๆ ออกเป็นหมวดหมู่ตามแต่
ละสาขา เช่น ถ้าเป็นความรู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตจาพวกพืช หรือพรรณไม้ต่างๆ จัดอยู่ในสาขาพฤกษาศาสตร์ ส่วน
เรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก เช่น สัตว์เซลล์เดียวหรือเชื้อจุลินทรีย์ จัดอยู่ในสาขาจุลชีววิทยา เป็นต้น
อย่างไรก็ตามความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้แบ่งออกอย่างกว้างๆ เป็น 2 ประเภท ตามจุดประสงค์ของการแสวงหา
ความรู้ คือ1) วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ (Pure Science) หรือวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural Science) คือ
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่บรรยายถึงความเป็นไปของปรากฏการณ์ต่างๆ ในธรรมชาติ อันประกอบไปด้วย
ข้อเท็จจริง หลักการ ทฤษฏี กฎ และสูตรต่างๆ เป็นความรู้พื้นฐานของนักวิทยาศาสตร์ ซึ่งได้มาเพื่อสนอง
ความต้องการอยากรู้อยากเห็น โดยไม่คานึงถึงประโยชน์ของการค้นหา สามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยได้อีก 3
แขนง คือ (1) วิทยาศาสตร์กายภาพ (Physical Science) คือ วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องราวต่างๆ ของ
สิ่งไม่มีชีวิต เช่น เคมี ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2542) รวมถึงอุตุนิยมวิทยา และ
ธรณีวิทยา เป็นต้น (2) วิทยาศาสตร์ชีวภาพ (Biological Science) คือ วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องราวต่างๆ
ของสิ่งมีชีวิต เช่น สัตววิทยา พฤกษศาสตร์ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2542) จุลชีววิทยา เป็นต้น (3) วิทยาศาสตร์
สังคม (Social Science) เป็นวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาหาความรู้ เพื่อจัดระบบให้มนุษย์มีการดารงชีวิตอยู่ด้วยกัน
อย่างมีแบบแผน เพื่อความสงบสุขของสังคม ประกอบด้วย วิชาจิตวิทยา วิชาการศึกษา วิชารัฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์ เป็นต้น 2) วิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Applied Science) วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คือ วิทยาศาสตร์
ที่ว่าด้วยเรื่องราวต่างๆที่มุ่งประโยชน์ในทางปฏิบัติยิ่งกว่าทฤษฏี เช่นแพทย์ศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์
เกษตรศาสตร์ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2542)
วิทยาศาสตร์ประยุกต์เป็นวิทยาศาสตร์ที่นาเอาความรู้จากวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ มาประยุกต์เพื่อให้เกิด
ประโยชน์ต่อสังคมสนองความต้องการของมนุษย์ในด้านต่างๆ เช่น การแพทย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม
ทาให้เกิดสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สาขาใหม่ เช่น แพทย์ศาสตร์ สัตวแพทย์ศาสตร์ เกษตรศาสตร์ วิศวกรรม และ
โภชนาการ เป็นต้น
หากเราพิจารณาในสาขาวิชาแพทยศาสตร์ ซึ่งเป็นวิทยาศาสตร์ประยุกต์สาขาหนึ่งนั้น จะพบว่าเป็น
การผสมผสานความรู้จากสาขาวิชาวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์หลายสาขาประกอบกันเพื่อประโยชน์ในการรักษาโรค
โดยไม่ได้ใช้ความรู้ในวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์สาขานั้นทั้งหมด ยกตัวอย่างเช่น ความรู้ทางด้านชีววิทยาใช้เฉพาะที่
เกี่ยวกับเรื่องการทางานของอวัยวะและระบบต่างๆ ของร่างกาย ความรู้ทางด้านฟิสิกส์ใช้ในส่วนที่เป็นเรื่อง
เกี่ยวกับโครงสร้างของร่างกายและการเคลื่อนไหว ใช้ความรู้ทางด้านเคมี เช่น คุณสมบัติของสารเคมีต่างๆ ที่
สามารถนามาทายารักษาโรค ทางด้านจุลชีววิทยาได้แก่ ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับเชื้อจุลินทรีย์ และเชื้อโรคต่างๆ
เป็นต้น จะเห็นได้ว่าสาขาวิชา แพทย์ศาสตร์นั้นเป็นการดึงเอาความรู้บางส่วนที่เกี่ยวข้องกับการทางานของ
ร่างกายมนุษย์ และ การบาบัดรักษาโรคภัยไข้เจ็บจากสาขาวิชาวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์หลายๆแขนงมาประยุกต์
รวมกันเพื่อประโยชน์ทางด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น โดยสรุป คือ วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์เป็นความรู้ในเรื่องต่างๆ ซึ่ง
มักเป็นสาขาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ที่มีลักษณะเป็นทฤษฏี หลักการ กฎ หรือสูตรต่างๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี
ชีววิทยา เป็นต้น ส่วนวิทยาศาสตร์ประยุกต์เป็นการใช้ความรู้เพื่อให้เกิดประโยชน์ โดยเน้นในทางปฏิบัติ
มากกว่าทฤษฎี และมักเป็นสาขาวิชาเฉพาะทาง เช่น แพทย์ศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์
วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม เป็นต้น จึงจาเป็นต้องให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ที่รู้จริง รู้ลึกด้วยความเข้าใจ มีความรู้
พื้นฐานมากพอเพียงที่สามารถนาไปใช้ ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ การสอนให้ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหา
เป็นนั้นเป็นสิ่งสาคัญที่จะพัฒนาให้ผู้เรียนมีความสามารถแสดงความคิดอย่างชัดเจน สมเหตุสมผล มี
วิจารณญาณ เป็นผู้รู้จริงใฝ่แสวงหาความรู้ กล้าแสดงความรู้และความคิด เสียสละเพื่อส่วนรวม มีน้าใจและ
สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
สภาพการจัดการศึกษาของไทยในปัจจุบันถึงแม้จะมีนโยบายระดับประเทศในการส่งเสริมการจัด
การศึกษา อาทิ เช่น นโยบายในการปฏิรูปการศึกษาและการมุ่งเน้นการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาด้านการคิด มี
ความมุ่งหวังให้เด็กและเยาวชนแสดงความคิดและความสามารถวิเคราะห์ เน้นระบบการจัดการเรียนรู้ให้คนคิด
เป็น วิเคราะห์เป็น กิจกรรมการเรียนรู้ควรฝึกฝนให้นักเรียนเป็นคนช่างคิด และคิดเป็นกระบวนการ รู้จักคิด
วิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตัวเองอย่างมีเหตุผล ค้นหาความรู้ด้วยตนเองได้ แต่ในปัจจุบันพบปัญหาที่ต้องเร่ง
ดาเนินการพัฒนาให้ประสบผลสาเร็จตามนโยบายรัฐบาลด้านการศึกษาที่สาคัญในหลายประเด็น ที่สาคัญคือ
ปัญหาเรื่องคุณภาพการศึกษาและสติปัญญาของเด็ก กล่าวคือ การพัฒนาที่ผ่านมาทาให้เด็กและเยาวชนมี
โอกาสทางการศึกษาเพิ่มขึ้น อัตราการรู้หนังสือและระดับการศึกษาเฉลี่ยของคนไทยมีแนวโน้มสูงขึ้น แต่
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลับลดลง ไม่ว่าจะเป็นการทดสอบระดับชาติ(O-Net, GAT/PAT) หรือการทดสอบ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนานาชาติ(โครงการ PISA และ TIMSS) สถิติและตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
คุณภาพทางการศึกษา ตามนโยบายของรัฐบาลในส่วนของมาตรการการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
(Measure of Achievement) ทุกระดับชั้น ผลการทดสอบต่าง ๆ สะท้อนถึงสถานการณ์การเรียนรู้ทาง
วิทยาศาสตร์ของเด็กไทยล้าหลังกว่านานาชาติถึง 2 ปี ตามที่ไทยได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกนานาชาติ เพื่อประเมิน
ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา(International Association for the Evaluation of EducationalAchievement
หรือ IEA) เมื่อปี พ.ศ. 2551 ล่าสุด สสวท. ได้เข้าร่วม โครงการศึกษาแนวโน้มการจัดการศึกคณิตศาสตร์และ
วิทยาศาสตร์ระดับนานาชาติ พ.ศ.2554 (Trends in International Mathematics and Science:TIMSS
2011) ไทยมีผลคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์ 451 คะแนนอยู่ที่ลาดับ 25 จากประเทศที่เข้าร่วมประเมิน 45
ประเทศ หากเปรียบเทียบ การประเมิน TIMSS 2007 กับ ปี 2011 ของไทยในภาพรวมพบว่าคะแนนเฉลี่ยของ
ไทยลดลงทั้งวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ โดยในปี 2011 วิชาคณิตศาสตร์ลดลง 14 คะแนน วิชา
วิทยาศาสตร์ลดลง 20 คะแนน โดยวิชาคณิตศาสตร์มีคะแนนเฉลี่ยลดลง 441 ในปี 2007 เหลือ 421 ในปี
2011 และวิชาวิทยาศาสตร์มีคะแนนเฉลี่ยลดลงจาก 471 ในปี2007 เหลือ 451 ในปี 2011 ถูกจัดกลุ่มให้อยู่
ในระดับแย่(poor)ทั้ง2วิชา (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.2556:1-13) เมื่อเปรียบเทียบการประเมิน
นักเรียนในโครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ(Program for International Student Assessment หรือ
PISA) ที่มีประเทศสมาชิก OECD (Economic Co-operation and Development) และประเทศ นอก
กลุ่มสมาชิก OECD ซึ่งเรียกว่าประเทศร่วมโครงการ (Partner Countries) ทั้งหมดประมาณ 90% ของเขต
เศรษฐกิจโลก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณภาพของระบบการศึกษา สาหรับประเทศสมาชิกและประเทศ
ร่วมโครงการ ประเมินทุกสามปี เป็นการประเมินความรู้และทักษะของนักเรียนที่มีอายุ 15 ปี ได้แก่ การรู้
(Literacy) สามด้าน คือ ด้านการอ่าน (Reading Literacy) คณิตศาสตร์ (Mathematics Literacy) และ
วิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) ซึ่งประเทศไทยเข้าร่วมการประเมินผลตั้งแต่แรกจนครบสามครั้ง ในการ
ประเมินรอบแรก (Phase I : PISA 2000 PISA 2003 และ PISA 2006) และปัจจุบันเป็นการประเมินรอบสอง
(Phase II : PISA 2009 PISA 2012 และ PISA 2015) การประเมินผลในแต่ละละครั้งสามารถให้ข้อมูล
คุณภาพการศึกษาของชาติ ซึ่งผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการศึกษาทุกฝ่ายและสาธารณชนควรต้องได้รับรู้ ระบบ
การศึกษาของเราได้เตรียมความพร้อมเยาวชนของชาติให้พร้อมที่จะเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพมีสมรรถนะในการ
แข่งขันเทียบกับประชาคมโลก ในครั้งล่าสุด คือ PISA 2012 ผลการประเมินในภาพรวมประเทศไทยอยู่ใน
อันดับที่ 50 จาก 65 ประเทศสมาชิก มีคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ย OECD ทั้งสามวิชา ซึ่งชี้นัยว่าคุณภาพการศึกษา
ของไทยยังห่างไกลจากความเป็นเลิศ ความพยายามที่จะยกระดับคุณภาพการศึกษายังคงเป็นภารกิจสาคัญที่
ต้องดาเนินการต่อไป จุดสาคัญที่พบจุดหนึ่งคือ การยกระดับนักเรียนกลุ่มต่าให้สูงขึ้น แต่ในระบบการศึกษา
ไทยกลับมีเหตุการณ์ที่นักเรียนกลุ่มสูงลดต่าลงซึ่งเกิดขึ้นกับทุกวิชา คะแนนเฉลี่ยวิทยาศาสตร์ของนักเรียนไทย
ได้ 444 คะแนนจากค่าเฉลี่ย 501 คะแนน เพิ่มสูงขึ้นจาก PISA 2009 (คะแนน 425) อย่างมีนัยสาคัญ เมื่อ
เทียบกับ PISA 2000 ก็พบว่ามีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างไรก็ตาม คะแนนยังคงต่ากว่าค่าเฉลี่ย OECD มากกว่าครึ่ง
ระดับ บ่งบอกถึงนักเรียนมีความรู้เรื่องวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับต่าซึ่งไม่ถึงระดับพื้นฐาน (สถาบันส่งเสริมการ
สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.2556 : 1-24)
จากผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาทั่วประเทศ ตั้งแต่ปีการ 2555-2557 พบว่าผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนลดลงทุกๆปีและผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน รอบที่2
ของโรงเรียนสีคิ้ว "สวัสดิ์ผดุงวิทยา" พบว่ามาตรฐานที่5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร
(2.13)และมาฐานที่9 ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
(2.31) ไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) (สานักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) 2552:ออนไลน์) และผลการทดสอบทางการศึกษา
แห่งชาติ(O-NET) ปีการศึกษา 2551-2552 วิชาวิทยาศาสตร์ระดับประเทศได้ค่าคะแนนเฉลี่ย 29.06 และ
31.03 ตามลาดับ ขณะที่มีความมุ่งหมายที่จะจัดการเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็น มี
ความสามารถ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข การดาเนินงาน
จากปัญหาดังกล่าวส่งผลให้การจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่
2 ที่ประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้เรื่องบรรยากาศ หน่วยการเรียนรู้นี้นักเรียนมีผลการเรียนค่อนข้างต่า โดยไม่
ผ่านเกณฑ์ในการวัดผลการเรียนในแต่ละหน่วยย่อย ที่ประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับ ส่วนประกอบของอากาศ
อุณหภูมิและชั้นบรรยากาศ สมบัติของอากาศ ความชื้นของอากาศ ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ อุตุนิยมวิทยา
และพยากรณ์อากาศ และการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิโลกโดยผู้เรียนไม่สามารถตอบคาถามได้ว่าไม่เข้าใจ
ตรงไหน ปัญหาสาคัญอยู่ที่ไหน ใช้หลักการใดไปแก้ปัญหา นักเรียนไม่สามารถแบ่งชั้นบรรยากาศได้ ไม่สามรถ
คานวณหาระดับความสูงจากระดับน้าทะเล จึงต้องมีการสอนเพิ่มเติมและพบว่านักเรียนมีผลการเรียนไม่ผ่าน
เกณฑ์ นักเรียนเกิดการเบื่อหน่ายไม่อยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ไม่มีส่วนร่วมในการเรียน ไม่สนุกกับการเรียน
ส่งผลให้นักเรียนขาดทักษะกระบวนการคิด จากผลการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ที่ต่าตลอดเวลาที่ผ่านมา ทาให้
ผู้วิจัยทบทวนถึงสาเหตุครั้งนี้ พบว่าเกิดจากผู้เรียนและผู้สอน สาคัญที่สุดขึ้นอยู่กับผู้สอนเนื่องจากผู้สอนไม่
พิจารณาถึงความแตกต่างด้านเชาว์ปัญญาของผู้เรียน ผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ไม่เปิดโอกาสให้
ผู้เรียนได้แสดงถึงความสามารถด้านเชาว์ปัญญา ทาให้ไม่สามารถเห็นจุดเด่นของนักเรียนแต่ละคน หากผู้สอน
สามารถจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับลักษณะเด่นของผู้เรียนแต่ละคนและผู้เรียนจะสามารถพัฒนาเชาว์ปัญญา
ให้สูงขึ้นได้
จากปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยในฐานะครูผู้สอนสนใจที่จะนารูปแบบการสอนทฤษฎีกระบวนการจัดการ
เรียนรู้แบบ DRU Modle (YPF) เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนารูปแบบการ
จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มาใช้แก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ที่ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข และมี
กระบวนการคิดอย่างมีระบบ เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนระดับสูงและการดารงชีวิตประจาวันต่อไป
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะการ
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1
2. เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
3. เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชา
วิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
4. เพื่อประเมินผลและปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิต
วิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
4.1 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
4.2 เพื่อเปรียบเทียบทักษะการคิดแบบมีวิจารณญาณ หลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
4.3 เพื่อประเมินจิตวิทยาศาสตร์ หลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้าง
ทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
4.4 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนหลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อ
เสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1
สมมติฐานการวิจัย
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการใช้สูงกว่าก่อนใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อ
เสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1
2. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและจิตวิทยาศาสตร์ของผู้เรียน หลังการใช้สูงกว่าก่อนใช้รูปแบบ
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง
บรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ขอบเขตของการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเพื่อพัฒนา ผู้วิจัยกาหนดขอบเขตของการวิจัย ดังนี้
ตัวแปรในการศึกษา
1. ตัวแปรอิสระ คือรูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิต
วิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน
ดังนี้
1.1 ขั้นที่ 1 เตรียมความพร้อมผู้เรียน (Prepare learners)
1.2 ขั้นที่ 2 ปรับเปลี่ยนความคิด (Turning ideas)
1.3 ขั้นที่ 3 เรียนรู้สิ่งใหม่ (Learn something new)
1.4 ขั้นที่ 4 ประยุกต์ใช้ความรู้ (Application of Knowledge)
1.5 ขั้นที่ 5 เติมเต็มประสบการณ์ (Complement the experience)
2. ตัวแปรตาม คือผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนหลังการใช้รูปแบบ DRU MODEL (YPF) การจัดการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มี 4 ด้านประกอบด้วย
2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
2.2 ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
2.3 จิตวิทยาศาสตร์
2.4 ความพึงพอใจ
ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1. ประชากร ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 1 ห้องเรียน โรงเรียนวัด
มะพร้าวเตี้ย เขตภาษีเจริญ สังกัดกรุงเทพมหานคร จานวน 30 คน ปีการศึกษา 2559
2. กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 1 ห้องเรียน โรงเรียนวัด
มะพร้าวเตี้ย เขตภาษีเจริญ สังกัดกรุงเทพมหานคร จานวน 30 คน ปีการศึกษา 2559 ได้มาโดยการสุ่มอย่าง
ง่าย โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม
ขอบเขตด้านระยะเวลาการศึกษาวิจัย
ดาเนินการวิจัยในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 วันที่ 9-20 มกราคม 2560
นิยามศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย
1. รูปแบบการสอน หมายถึงแบบแผนการดาเนินการจัดกิจกรรมการการเรียนการสอนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
โดยอาศัยทฤษฏีกระบวนการจัดการเรียนรู้ DRO MODEL (YPE) ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน
ขั้นที่ 1 Your Identify คือการตอบคาถาม ให้นักเรียนเกิดทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชา
วิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ขั้นที่ 2 Praxis คือสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการทากิจกรรม/วิพากษ์
ขั้นที่ 3 Formative คือประเมินตนเอง ตรวจสอบทบทวนตนเอง ตามกิจกรรมและภาระงาน
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนของผู้เรียนที่ได้จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ ทาการทดสอบ ก่อนเรียนและหลังเรียนตามกิจกรรมการเรียน
การสอนในรูปแบบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
3. ความรู้ คือ ความเข้าใจในเรื่องบรรยากาศ จดจาในสิ่งที่เรียนไปและนาความรู้เรื่องบรรยากาศไปใช้
ประโยชน์ เป็นความสามารถทางสติปัญญาในการขยายความรู้ ความจา ให้กว้างออกไปจากเดิมอย่าง
สมเหตุสมผล และความสามารถในการแปลความหมาย การสรุปหรือการขยายความสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
4. จิตวิยาศาสตร์ (Science mind) หมายถึงจิตสานึกของบุคคลที่ก่อให้เกิดเป็นลักษณะนิสัยหรือ
ความรู้สึกทางจิตใจของบุคคลที่เกิดการศึกษาความรู้หรือการเรียนรู้ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ประกอบด้วย
4.1 ความสนใจใฝ่รู้ หมายถึงคุณลักษณะของบุคคลที่มีความพยายามจะเผชิญสืบเสาะแสวงหา
ความรู้ในสถานการณ์ใหม่ๆซึ่งไม่สามารถอธิบายด้วยความรู้ที่ทีอยู่เดิม และค้นหาความรู้เพื่อตอบปัญหาซึ่งมี
ความปรารถนาที่จะได้ความรู้ที่สมบูรณ์ ซึ้งมีลักษณะพฤติกรรมดังนี้
4.1.1 มีปัญหาเกิดขึ้นต่อเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นและพยายามหาคาตอบนั้นให้สมบูรณ์โดยการ
ซักถาม สนทนา ฟัง อ่าน เพื่อให้ได้ความรู้ที่สมบูรณ์
4.1.2 มีการศึกษาค้นคว้าเพื่อทาความเข้าใจสถานการณ์ใหม่ๆ ซึ่งไม่สามารถอธิบายได้ด้วยความรู้
ที่มีอยู่เดิม
4.1.3 ชอบสืบเสาะ ทดลอง พิสูจน์แนวคิดแปลกใหม่
4.1.4 มีความกระตือรือร้นต่อกิจกรรม และเรื่องใหม่
4.2 ความรับผิดชอบ มุ่งมั่น อดทน และเพียรพยายาม หมายถึง คุณลักษณะของบุคคลที่สามารถ
ดาเนินการทากิจกรรมในการแก้ปัญหาจนถึงที่สุดจนกว่าจะได้รับคาตอบที่น่าเชื่อถือได้และยอมรับผลการ
กระทาของตนเองทั้งเป็นผลดี และผลเสียซึ่งมีลักษณะและพฤติกรรมดังต่อไปนี้
4.2.1 มีความเต็มใจที่ค้นหาคาตอบโดยการพิสูจน์ ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์แม้มีปัญหาและ
อุปสรรต่างๆ
4.2.2 มีความเต็มใจที่จะทาการทดลองซ้าๆ หลายครั้งเพื่อค้นหาคาตอบที่น่าเชื่อถือที่สุด
4.2.3 ทางานที่รับผิดชอบมอบหมายอย่างเต็มความสามารถ
4.2.4 ทางานที่มอบหมายให้เสร็จสมบูรณ์ตามที่กาหนด และตรงต่อเวลา
4.2.5 ไม่ท้อถอยในการทางาน เมื่อมีอุปสรรคหรือล้มเหลว
4.2.6 มีความอดทน แม้การดาเนินการแก้ปัญหาจะยุ่งยากและใช้เวลา
4.2.7 ยอมรับผลการกระทาของตนเองทั้งที่เป็นผลดีและผลเสีย
4.3 ความมีระเบียบและรอบคอบ หมายถึงคุณลักษณะของบุคคลที่มีการทางานเป็นระเบียบ
รอบคอบ จัดระบบการทางานใช้วิธีการศึกษาหลายวิธีในการตรวจสอบผลการทดลองไตร่ตรอง จัดระบบการ
ทางานก่อนตัดสินใจสรุปมีลักษณะพฤติกรรมดังนี้
4.3.1 เห็นคุณค่าของความมีระเบียบและรอบคอบ
4.3.2 นาวิธีการหลายๆ วิธีมาตรวจสอบผลหรือวิธีการทดลอง
4.3.3 มีการใคร่ครวญ ไตร่ตรอง พินิจพิเคราะห์ ก่อนในการตัดสินใจสรุปหรือเชื่อในสิ่งต่างๆ
4.3.4 มีความละเอียด ถี่ถ้วนในการทางาน
4.3.5 มีการวางแผนการทางานและจัดระบบการทางาน
4.3.6 ตรวจสอบความเรียบร้อย หรือคุณภาพเครื่องมือก่อนทาการทดลอง
4.3.7 ทางานอย่างเป็นระเบียบเรียนร้อย
4.4 ความมีเหตุผล หมายถึงคุณลักษณะของบุคคลที่มียอมรับในคาอธิบายเมื่อมีหลักฐานและข้อมูล
อย่างพอก่อนสรุปผล ชอบพิจารณาหาสาเหตุของปรากฏการณ์ต่างๆซึ่งมีลักษณะพฤติกรรมดังนี้
4.4.1 เห็นคุณคุณค่าในการเหตุผลในเรื่องต่างๆ
4.4.2 ไม่เชื่อโชครางหรือคาทานายที่ไม่สามารถอธิบายได้ตามวิธีของวิทยาศาสตร์ แต่พยายามสิ่ง
ต่างๆในแง่มุมของเหตุผล
4.4.3 หาความสัมพันธ์ของเหตุและผลของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
4.4.4 อธิบายหรือแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
4.4.5 ตรวจความถูกต้องหรือความสมเหตุผลของแนวคิดต่างๆกับแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้เสาะ
แสวงหาหลักฐานหรือข้อมูลจากการสังเกตหรือทดลองเพื่อสนับสนุนหรือค้นหาคาตอบ
4.4.6 เสาะแสวหาหลักฐานหรือข้อมูลจากการสังเกตหรือทดลองเพื่อสนับสนุนหรือค้นหาคาตอบ
4.4.7 ยอมรับในคาอธิบายเมื่อมีหลักฐานหรือข้อมูลสนับสนุนอย่างเพียงพอ
4.4.8 มีความต้องการเคารพในเหตุผลซึ่งกันและกัน
4.5 ความใจกว้าง หมายถึงคุณลักษณะของบุคคลหรือแสดงถึงการมีจิตใจกว้างขวางเต็มใจที่จะ
เปลี่ยนแปลงความคิดเห็นของตนยอมรับฟังความคิดเห็นหรือวิพากษ์วิจารณ์ข้อโต้แย้งของคนอื่น เปลี่ยนความ
คิดเห็นของตนเอง เมื่อมีหลีกฐานที่ดีกว่า ซึ่งมีพฤติกรรมดังนี้
4.5.1 รับฟัง วิพากษ์วิจารณ์ ข้อโต้แย้ง หรือข้อคิดเห็นของผู้อื่น
4.5.2 ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยใจเป็นธรรม
4.5.3 ยอมรับความคิดเห็นหรือวิธีการที่แปลกใหม่
4.5.4 เต็มใจที่จะเปลี่ยนแนวคิดหรือแนวปฏิบัติเมื่อได้ข้อมูลหรือหลักฐานใหม่ๆที่เชื่อถือได้
มากกว่าหรือถูกต้องกว่า
4.5.5 ยอมพิจารณาข้อมูลหรือข้อคิดเห็นที่ยงสรุปไม่ได้และพร้อมที่จะหาข้อมูลเพิ่มเติม
4.6 ความซื่อสัตย์ หมายถึงคุณลักษณะของบุคคลที่ต้องการความถูกต้องในการรายงานการศึกษา
โดยปราศจากอคติ ความรู้สึกส่วนตัวหรืออิทธิพลจากสิ่งต่างๆซึ่งมีพฤติกรรมดังนี้
4.6.1 เห็นคุณค่าการนาเสนอข้อมูลตามความเป็นจริง
4.6.2 นาเสนอความเป็นจริงของตนเองถึงแม้จะมีผลที่มีความแตกต่างจากคนอื่นก็ตาม
4.6.3 บันทึกข้อมูลตามความเป็นจริงและไม่ใช้ความรู้สึกของตนเองมากเกี่ยวข้อง
4.6.4 ไม่แอบอ้างผลงานของผู้อื่นมาเป็นผลงานของตนเอง
4.6.5 ไม่เอาอิทธิพลของความเชื่อมาให้เหนือการตัดสินใจใดๆในทางวิทยาศาสตร์
4.6.6 ไม่นาสภาพทาสังคม เศรษฐกิจและการเมืองมาเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงความหมาย
ข้อมูล
5. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจากรูปแบบ
การสอนวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์เรื่องบรรยากาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ประโยชน์ที่ได้รับ
1. ต่อนักเรียน
1.1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นส่งผลต่อ
ระดับผลสัมฤทธิ์รวมของโรงเรียนสูงขึ้น
1.2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ มีทักษะการคิดขั้นสูง ส่งผลให้สามารถ
แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันได้
1.3 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีคุณลักษณะด้านการมุ่งมั่นในการเรียนรู้ ใฝ่เรียนรู้ มีวินัย และมี
จิตสาธารณะ สามารถช่วยเหลือสังคมได้
2. ต่อครูผู้สอน
2.1 ได้นานวัตกรรมรูปแบบการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิต
วิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีประสิทธิผลสูงกว่า
0.5 สามารถไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์
2.2 เป็นแนวทางสาหรับครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในการพัฒนารูปแบบการสอน
สาหรับพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการคิด
2.3 เป็นแนวทางให้ครูผู้สอนในกลุ่มสาระอื่นๆและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ในการออกแบบพัฒนารูปแบบการสอน สาหรับการพัฒนาการสอน สาหรับพัฒนาผลสมฤทธิ์ทางการเรียนและ
ทักษะการคิด
3. ต่อผู้บริหาร
3.1 การบริหารบุคลากรในสถานศึกษา ทาให้ได้บุคลากรที่มีผลงานด้านการสร้างและพัฒนา
นวัตกรรมสาหรับการจัดการเรียนการสอน
3.2 การบริหารจักการเรียนการสอน ทาให้โรงเรียนมีสื่อนวัตกรรมในการจัดการเรียนการสอน
4. ต่อผู้อื่นที่เกี่ยวข้อง
4.1 ชุมชนมีสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนด้วยนวัตกรรม ทาให้เกิดความมั่นใจในการส่งบุตร
หลานเข้าศึกษาต่อ
4.2 ผู้ปกครองมีความพึงพอใจในผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของบุตรหลานและมีความรู้สึกต่อ
สถานศึกษาศึกษาที่ทาให้บุตรหลานมีความตั้งใจในการศึกษาหาความรู้
4.3 หน่วยงานต้นสังกัดมีสถานศึกษาในความดูแลที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและคิดสูง
กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย
จากแนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยงข้องกับการรูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อเสริมสร้าง
ทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศสาหรับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สรุปกรอบ
แนวคิด ทฤษฎีได้ดังแผนภาพที่ 1
ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดทฤษฎีในการพัฒนารูปแบบการสอน
หลักการ
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการสร้างองค์ความรู้ทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ ได้แนวคิดจาก
DRU MODRL (YPF)
ขั้นที่ 1 Your Identify คือการตอบคาถาม ให้นักเรียนเกิดทักษะ ความรู้ และจิต
วิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ขั้นที่ 2 Praxis คือสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการทากิจกรรม/วิพากษ์
ขั้นที่ 3 Formative คือประเมินตนเอง ตรวจสอบทบทวนตนเอง ตามกิจกรรมและภาระงาน
วัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ และศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อ
รูปแบบการจัดการเรียนรู้
เรื่องบรรยากาศ และทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์สาระการเรียนรู้
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้
รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะ
ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน
ขั้นที่ 1 Your Identify
ขั้นที่ 2 Praxis
ขั้นที่ 3 Formative
เพื่อเสริมสร้างทักษะ
ค ว า ม รู้ แ ล ะ จิ ต
วิทยาศาสตร์
1. ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้ โดยอาศัยทฤษฎี
การสร้างความรู้ รูปแบบการสอน DRU
MODRL (YPF)
2. หลักการสร้างองค์ความรู้
3. ทักษะความรู้
4. จิตวิทยาศาสตร์
องค์ประกอบ
แนวคิด
ทฤษฎีที่สนับสนุน
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_

More Related Content

What's hot

แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาNontaporn Pilawut
 
คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)
คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)
คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)kroofon fon
 
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553Kobwit Piriyawat
 
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3thanaetch
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรnakkee
 
ครูผู้ซวย 5
ครูผู้ซวย 5ครูผู้ซวย 5
ครูผู้ซวย 5Lahu001710
 
หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51Manchai
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูkrutang2151
 
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนโครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนChonlada078
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน BrProud N. Boonrak
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 

What's hot (17)

แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
 
คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)
คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)
คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)
 
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
 
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
 
ครูผู้ซวย 5
ครูผู้ซวย 5ครูผู้ซวย 5
ครูผู้ซวย 5
 
หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
B2
B2B2
B2
 
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนโครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Front math m2 _2_
Front math m2 _2_Front math m2 _2_
Front math m2 _2_
 
Road Map นคร Model
Road Map นคร ModelRoad Map นคร Model
Road Map นคร Model
 

Viewers also liked

Viewers also liked (17)

Thesis oral presentaton
Thesis oral presentatonThesis oral presentaton
Thesis oral presentaton
 
20161027 農糧署 數位行銷關鍵分享
20161027 農糧署   數位行銷關鍵分享20161027 農糧署   數位行銷關鍵分享
20161027 農糧署 數位行銷關鍵分享
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
Skppp2
Skppp2Skppp2
Skppp2
 
Marketing Emozionale. Come distinguersi e farsi ricordare dagli ospiti grazie...
Marketing Emozionale. Come distinguersi e farsi ricordare dagli ospiti grazie...Marketing Emozionale. Come distinguersi e farsi ricordare dagli ospiti grazie...
Marketing Emozionale. Come distinguersi e farsi ricordare dagli ospiti grazie...
 
1 video quinta disciplina
1 video quinta disciplina1 video quinta disciplina
1 video quinta disciplina
 
Concrete Demolition Company in Houston, TX 77070
Concrete Demolition Company in Houston, TX 77070Concrete Demolition Company in Houston, TX 77070
Concrete Demolition Company in Houston, TX 77070
 
Analisis comparativo organizaciones
Analisis comparativo organizacionesAnalisis comparativo organizaciones
Analisis comparativo organizaciones
 
Matemática
MatemáticaMatemática
Matemática
 
Sistemas neumáticos - INTRODUCCIÓN -
Sistemas neumáticos - INTRODUCCIÓN -Sistemas neumáticos - INTRODUCCIÓN -
Sistemas neumáticos - INTRODUCCIÓN -
 
สายบัดน้อง59
สายบัดน้อง59สายบัดน้อง59
สายบัดน้อง59
 
La guadua
La guaduaLa guadua
La guadua
 
eusebio jerez
eusebio jerezeusebio jerez
eusebio jerez
 
Lampiran i 1770
Lampiran i 1770Lampiran i 1770
Lampiran i 1770
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
eusebio jerez
eusebio jerezeusebio jerez
eusebio jerez
 
Trabajo tics (1)
Trabajo tics (1)Trabajo tics (1)
Trabajo tics (1)
 

Similar to ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...Kroo Keng
 
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56docSlกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56dockrupornpana55
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...Kobwit Piriyawat
 
Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentWeerachat Martluplao
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการWatcharasak Chantong
 
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54 แก้2
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54 แก้2เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54 แก้2
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54 แก้2นู๋หนึ่ง nooneung
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นLathika Phapchai
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์คุณครูพี่อั๋น
 
วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...
วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...
วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...พรทิพย์ สิงหรา
 
ชื่อผลงานวิจัย พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...
ชื่อผลงานวิจัย 	พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...ชื่อผลงานวิจัย 	พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...
ชื่อผลงานวิจัย พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...nattasorn kamonmal
 

Similar to ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_ (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
 
E book world-class
E book world-classE book world-class
E book world-class
 
STEM Education
STEM Education STEM Education
STEM Education
 
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56docSlกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
ทักษะกระบวนการวิทย์
ทักษะกระบวนการวิทย์ทักษะกระบวนการวิทย์
ทักษะกระบวนการวิทย์
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
 
Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills development
 
4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54 แก้2
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54 แก้2เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54 แก้2
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54 แก้2
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
 
Abstrac
AbstracAbstrac
Abstrac
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
 
วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...
วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...
วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...
 
ชื่อผลงานวิจัย พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...
ชื่อผลงานวิจัย 	พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...ชื่อผลงานวิจัย 	พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...
ชื่อผลงานวิจัย พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...
 
Tep summary
Tep summaryTep summary
Tep summary
 

ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_

  • 1. ชื่อผลงานวิจัย พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศ” สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้ทาวิจัย นายสุริยา จุมพลหลา และคณะ ปี พ.ศ. 2560 สถานศึกษา โรงเรียนวัดมะพร้าวเตี้ย เขตภาษีเจริญ บทคัดย่อ รายงาน พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้และจิตวิทยา ศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศ” สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อ ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิต วิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศ สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2) เพื่อพัฒนารูปแบบ การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศ สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3) เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้าง ทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศ สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 4) เพื่อประเมินผลและปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศ สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 4.1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศ สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 4.2) เพื่อ เปรียบเทียบทักษะ ความรู้หลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และ จิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศ สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 4.3) เพื่อประเมินจิต วิทยาศาสตร์ หลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิต วิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศ สาหรับนักเรียน ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 4.4) เพื่อศึกษาความ พึงพอใจของนักเรียนหลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิต วิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศ สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 การดาเนินการวิจัยใน ครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) 3 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 D: Diagnosis of needs (การวินิจฉัยและออกแบบการเรียนรู้ ) ขั้นที่ 2 R: Research in effective learning environment (การใช้วิจัยเพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ซึ่งใน ที่นี้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้หมายถึงการจัดการเรียนรู้และการ จัดการชั้นเรียน ) ขั้นที่ 3 U: Universal Design for learning (เป็นขั้นการประเมิน) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ วิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดมะพร้าวเตี้ย จานวน 30 คน
  • 2. ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (DRU MODEL: YPF MOEDL) รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ สร้างขึ้นมีความเหมาะสมและสอดคล้องเชิงโครงสร้าง สามารถนาไปทดลองใช้ได้ค่าประสิทธิภาพค่าของ รูปแบบการจัดการเรียนรู้เท่ากับ 77.27/79.61 สูงกว่าเกณฑ์ 75/75 หลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ รูปแบบการการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (DRU MODEL: YPF MOEDL) โดย ภาพรวมอยู่ในระดับสูงมาก สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 หลังเรียนโดยใช้รูปแบบ การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (DRU MODEL: YPF MOEDL) พัฒนาขึ้นหลังเรียน มีค่าเฉลี่ย (̅ =4.90 , S.D. = 0.20) อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาหลายด้าน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านความสนใจใฝ่รู้ มีค่าเฉลี่ย (̅ =4.90 , S.D. = 0.20) อยู่ในระดับมากที่สุดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้รูปแบบการจัดการ เรียนรู้ (DRU MODEL: YPF MOEDL) ในภาพรวมนักเรียนเห็นด้วยในระดับมากที่สุด และเมื่อแยกหลายด้าน ในภาพรวมด้านพฤติกรรมจิตวิทยาศาสตร์ นักเรียนเห็นด้วยในระดับมากที่สุด ในด้านกระบวนการจัดการ เรียนรู้ ในภาพรวมนักเรียนเห็นด้วยในระดับมากที่สุด
  • 3. บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ปัจจุบันเป็นยุคที่โลกมีความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว อันสืบเนื่องมาจากการใช้เทคโนโลยีเพื่อ เชื่อมโยงข้อมูลต่างๆของทุกภูมิภาคของโลกเข้าด้วยกัน กระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อวิถีการดารงชีพของสังคมอย่างทั่วถึง ครูจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้ เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักเรียนมีทักษะสาหรับการออกไปดารงชีวิตในโลกศตวรรษที่ 21 ที่สาคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (LEARNING Skill) ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เด็กในศตวรรษที่ 21 นี้ มีความรู้ ความสามารถ และทักษะจาเป็น ซึ่งเป็นผลมาจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียน การสอน ตลอดจนการเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ ที่เป็นปัจจัยสนับสนุนที่จะทาให้เกิดการเรียนรู้ดังกล่าว การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการกาหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ โดยร่วมกันสร้างรูปแบบ และแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นที่องค์ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญและสมรรถนะที่เกิดกับผู้เรียน เพื่อใช้ในการดารงชีวิตในสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงใน ปัจจุบัน (ศิริวรรณ ฉัตรมณีรุ่งเจริญ และวรางคณา ทองนพคุณ. 2556 : 1-3) สอดคล้องกับนโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โลกศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม รักความเป็นไทย มีทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ มีทักษะด้านเทคโนโลยีสามารถทางานและอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างสันติ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2552 : 2) จึงเกิดการปฏิรูปการศึกษาของไทยอย่างต่อเนื่องภายใต้ กฎหมายการศึกษาหลักพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 มีความต้องการจัดการศึกษาเพื่อ พัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรมมีจริยธรรมและ วัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข การจัดการศึกษาต้องยึดหลักผู้เรียนทุก คนมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญมากที่สุด กระบวนการ จัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาศักยภาพ ส่วนการจัดกระบวนการเรียนรู้ ได้เน้นให้ สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัด ของผู้เรียนโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญ สถานการณ์และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา และจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จาก ประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติ ให้ทาได้ คิดเป็น รักการอ่านและใฝ่เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ในส่วนของการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์นั้นต้องให้เกิดทั้งความรู้ ทักษะ และเจตคติด้านวิทยาศาสตร์รวมทั้งความรู้ความเข้าใจและ
  • 4. ประสบการณ์เรื่องการจัดการ การบารุงรักษา และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลยั่งยืน (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542.2542 : 1-8) จากข้อค้นพบในการศึกษาวิจัยและติดตามผลการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2542 ในช่วงระยะ 6 ปีที่ผ่านมา (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2546ก, 2546ข, 2548ก, 2548ข ; สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2547 ; สานักผู้ตรวจราชการและติดตามประเมินผล, 2548 ; สุวิมล ว่อง วานิช และนงลักษณ์ วิรัชชัย, 2547; Nutravong, 2002; Kittsunthorn, 2003, อ้างถึงใน กระทรวงศึกษาธิการ 2552 : 1) และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โลก ยุคศตวรรษที่ 21 จึงได้มีการพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียน ให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ กาหนดจุดหมายไว้ 5 ประการ ดังนี้ 1) มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฎิบัติตนตาม หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2) มีความรู้อัน เป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต 3) มี สุขภาพกายและสุขภาพที่ดี มีสุขนิสัยและรักการออกกาลังกาย 4) มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็น พลเมืองไทยและพลโลก 4) มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองและพลโลก 5) มีจิตสานึกในการ อนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และ สร้างสิ่งที่ดีงามในสังคมและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข โดยมุ่งหวังพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตาม มาตรฐานการเรียนรู้ซึ่งการพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ คือ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ในส่วนของความสามารถในการคิด นั้นเป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบเพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคม ได้อย่างเหมาะสม มีการพัฒนาอย่างสมดุลโดยคานึงถึงหลักการพัฒนาทางสมองและพหุปัญญา และกาหนด มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียนรู้วิทยาศาสตร์เน้นการเชื่อมโยงความรู้กับ กระบวนการ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และการ แก้ปัญหาที่หลากหลายให้กับผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทากิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติ จริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น (กระทรวงศึกษาธิการ, 2552 : 2-13) วิทยาศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับทุกคน ทั้งในชีวิตประจาวันและการงานอาชีพต่างๆ ตลอดจนเทคโนโลยีเครื่องมือ เครื่องใช้และผลผลิตต่างๆ ที่มนุษย์
  • 5. ได้ใช้เพื่ออานวยความสะดวกในชีวิตและการงาน ล้วนเป็นผลของความรู้วิทยาศาสตร์ ผสมผสานกับความคิด สร้างสรรค์และศาสตร์อื่นๆ วิทยาศาสตร์ช่วยให้มนุษย์ได้พัฒนาวิธีคิดทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็น ระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลที่หลากหลายและประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ วิทยาศาสตร์เป็น วัฒนธรรมของโลกสมันใหม่ซึ่งเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ (Knowledge-based society) ทุกคนจาเป็นต้อง ได้รับการพัฒนาให้รู้วิทยาศาสตร์ เพื่อที่จะมีความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างสรรค์ ขึ้น สามารถนาความรู้ไปใช้อย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์ มีคุณธรรม (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. 2551 : 1) เป็นที่น่าสังเกตว่า ประเทศในโลกที่สามที่เจริญก้าวหน้าไปได้ดี มักจะมีนโยบายวิทยาศาสตร์ที่ ชัดเจน เป็นรูปธรรม และตัวบ่งชี้ที่วัดและเปรียบเทียบได้ เช่น จานวนนักวิทยาศาสตร์ต่อประชากรพันคน งบประมาณวิจัยค้นคว้า วิทยาศาสตร์เป็นเปอร์เซ็นต์ของผลิตผลรวมมวล ฯลฯ แต่บางประเทศกลับมีนโยบายที่ หน่วงเหนี่ยววิทยาศาสตร์ เป็นต้น ว่านโยบายที่แบ่งวิทยาศาสตร์ออกเป็นสองประเภท คือประเภทที่มีบทบาท ในการพัฒนาประเทศ และประเทศที่ไม่มีบทบาทในการพัฒนาประเทศ และรวมการพัฒนาวิทยาศาสตร์มูล ฐาน เช่น คณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี หรือแม้แต่ ชีววิทยา เข้าไว้ในประเภทหลัง หลักสูตรการเรียนการสอนใน ปัจจุบันของประเทศต่างๆ แม้แต่ประเทศเพื่อนบ้าน ได้มุ่งไปที่ Knowledge curriculum คาว่า Knowledge ในที่นี้หมายถึงสิ่งที่เรียนรู้ ที่สามารถเปลี่ยนไป ให้มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ หากสิ่งที่เรียนรู้เปลี่ยนไป ให้มีมูลค่า ทางเศรษฐกิจไม่ได้ ก็จะไม่นับเป็นความรู้ ดังนั้น หลักการสาคัญของการเรียนรู้ คือการเปลี่ยนสิ่งเรียนรู้ให้มี ประโยชน์แก่ตนเองหรือผู้อื่นให้ได้ ดังนั้น ได้มีผู้เสนอแนะว่า การเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ ควรจะเริ่มด้วยการใช้ ประโยชน์ก่อน และเข้าสู่ทฤษฎีภายหลัง หรืออย่างน้อย ผู้สอนน่าจะสอนในสิ่งที่ผู้เรียนรู้ว่า สิ่งที่เรียนมีหรือจะ ให้ประโยชน์ แก่นักเรียนอย่างไรบ้าง ในขณะที่ประเทศไทยกาลังพูดถึง Quantum economy ซึ่งการพัฒนา nano computer และนักฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ในอนาคตจะมีลักษณะใกล้เคียงกันเข้าไปยิ่งขึ้น (เฉลียว มณีเลิศ. 2557 : 1) รัฐต้องเร่งรัดและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาประกอบกันองค์การยูเนสโกในปี 2000 ได้ออกมาเสนอให้พลโลกรู้วิทยาศาสตร์อย่างเพียงพอเพื่อการดารงชีวิตอย่างเป็นสุขและปลอดภัยในโลก ยุคโลกาภิวัฒน์ การพัฒนาให้ทุกคนรู้วิทยาศาสตร์จึงมีความสาคัญในการดารงชีวิต ช่วยเพิ่มขีดความสามารถ ในการพัฒนาเศรษฐกิจ (หัสชัย สิทธิรักษ์. 2551) ดังนั้น วิทยาศาสตร์จึงเป็นวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ซึ่งเป็น สังคมแห่งการเรียนรู้ การบูรณาการความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ สอดคล้องกับเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ควบคู่ไปพร้อมกับการพัฒนาการทางความคิดในระดับสูง อันจะส่งผลต่อการ พัฒนาความคิดที่มีเหตุผล สร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นทักษะสาคัญในการแก้ปัญหา อย่างเป็นระบบ การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มิได้มุ่งเฉพาะตัวเนื้อหาความรู้แต่มีความหมายครอบคลุมไปถึง กระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์อีกด้วย นั่นคือ ผู้เรียนต้องได้รับผลผลิตทั้งเนื้อหาความรู้และ
  • 6. ปลูกฝังกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในเวลาเดียวกัน (วรรณทิพา รอดแรงค้า. 2544 : ค) เพื่อให้เกิดทักษะการเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านพุทธิพิสัย ด้านทักษะพิสัย และด้านจิตพิสัย ผู้เรียนต้องได้ เรียนรู้ผ่านกระบวนการเป็นผู้คิดลงปฏิบัติ ศึกษาค้นคว้าอย่างมีระบบด้วยกิจกรรมหลากหลาย ทั้งการทา กิจกรรมภาคสนาม การสังเกต การสารวจ ตรวจสอบ การทดลองในห้องปฎิบัติการ การสืบค้นข้อมูลจาก แหล่งข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิการเรียนรู้ของผู้เรียนจะเกิดขึ้นระหว่างที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมผ่านการทากิจกรรม เหล่านั้นจึงจะมีความสามารถในการแก้ปัญหาด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ได้พัฒนากระบวนการคิดขั้นสูง (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2547 : 9-10) หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กาหนดไว้ว่าสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มุ่งให้มีการนาความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ใน การศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ และแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ การคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล คิดวิเคราะห์ คิด สร้างสรรค์ และจิตวิทยาศาสตร์ผู้เรียนต้องอาศัยความรู้ที่หลากหลาย เป็นเครื่องมือที่จะนาพาตนเองไปสู่ เป้าหมายของหลักสูตร สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นสาระที่มีกระบวนการและขั้นตอนในการศึกษา ประเด็นวิทยาศาสตร์ กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในชั้นเรียน มักต้องมีการคิดวิเคราะห์ประเด็นต่างๆ เป็น หลัก โดยจะเริ่มจากการทาความเข้าใจประเด็นปัญหาหรือคาถาม โดยที่เด็กต้องทาความเข้าใจกับสถานการณ์ นั้นอย่างถ่องแท้ มักจะเริ่มด้วยการคิดวิเคราะห์ว่ามีองค์ประกอบใดบ้างที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์นั้นๆ ไม่ เพียงแต่ความรู้ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน การพัฒนาและปลูกฝังทักษะการคิดวิเคราะห์ให้เด็กจะสามารถทาให้เกิด ความเข้าใจเรื่องราวที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจาวัน และใช้ความเป็นเหตุและผลในการตัดสินใจแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ได้อีกด้วย (กระทรวงศึกษาธิการ 2551 : 4-21) การสอนจึงเป็นเรื่องสาคัญอย่างยิ่งในยุคปฏิรูปการศึกษาการ ดาเนินชีวิตที่ประสบความสุข ความสาเร็จ เป็นผลมาจากประสิทธิภาพของการคิดกลวิธี และทักษะ กระบวนการคิดในลักษณะต่างๆ การคิดเป็นกลไกที่สาคัญอย่างอย่างยิ่งในการพัฒนาความสามารถทางสมอง การฝึกทักษะการคิดและกระบวนการคิดจึงเป็นปัจจัยที่สาคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาสติปัญญาของเด็กเพื่อจะได้ เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking) พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข. (2548 : 22) ; สมนึก ภัททิยธนี, จุฑาทิพย์ ชาติสุวรรณ์ และวิภาดา คาดี (2548 : 2) กล่าวถึงการคิดอย่างมีวิจารณญาณไว้ว่า เป็นความคิดประเภทหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถแก้ปัญหาได้อย่าง มีประสิทธิภาพและเป็นเครื่องมือสาหรับการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องได้ด้วยตนเอง อีกทั้งเป็นความคิดที่มี จุดมุ่งหมายเพื่อใช้ในการพิจารณาไตร่ตรองอย่างรอบคอบโดยอาศัยความรู้ ความคิด และประสบการณ์เพื่อ นาไปสู่ข้อสรุปที่สมเหตุสมผล ดังนั้น การคิดอย่างมีวิจารณญาณส่งผลให้สามารถตัดสินใจและแก้ปัญหาโดย การใช้เหตุผลอย่างถูกต้องเหมาะสมช่วยให้สามารถยืนหยัดได้อย่างมั่นคงในโลกปัจจุบันและอนาคต วิทยาศาสตร์ เป็นความรู้ที่ได้จากการศึกษาปรากฏการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ ซึ่งความรู้ต่างๆ เหล่านี้มีอยู่อย่างมากมาย ดังนั้น เพื่อความเป็นระเบียบจึงต้องมีการจัดความรู้ต่างๆ ออกเป็นหมวดหมู่ตามแต่ ละสาขา เช่น ถ้าเป็นความรู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตจาพวกพืช หรือพรรณไม้ต่างๆ จัดอยู่ในสาขาพฤกษาศาสตร์ ส่วน
  • 7. เรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก เช่น สัตว์เซลล์เดียวหรือเชื้อจุลินทรีย์ จัดอยู่ในสาขาจุลชีววิทยา เป็นต้น อย่างไรก็ตามความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้แบ่งออกอย่างกว้างๆ เป็น 2 ประเภท ตามจุดประสงค์ของการแสวงหา ความรู้ คือ1) วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ (Pure Science) หรือวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural Science) คือ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่บรรยายถึงความเป็นไปของปรากฏการณ์ต่างๆ ในธรรมชาติ อันประกอบไปด้วย ข้อเท็จจริง หลักการ ทฤษฏี กฎ และสูตรต่างๆ เป็นความรู้พื้นฐานของนักวิทยาศาสตร์ ซึ่งได้มาเพื่อสนอง ความต้องการอยากรู้อยากเห็น โดยไม่คานึงถึงประโยชน์ของการค้นหา สามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยได้อีก 3 แขนง คือ (1) วิทยาศาสตร์กายภาพ (Physical Science) คือ วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องราวต่างๆ ของ สิ่งไม่มีชีวิต เช่น เคมี ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2542) รวมถึงอุตุนิยมวิทยา และ ธรณีวิทยา เป็นต้น (2) วิทยาศาสตร์ชีวภาพ (Biological Science) คือ วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องราวต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต เช่น สัตววิทยา พฤกษศาสตร์ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2542) จุลชีววิทยา เป็นต้น (3) วิทยาศาสตร์ สังคม (Social Science) เป็นวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาหาความรู้ เพื่อจัดระบบให้มนุษย์มีการดารงชีวิตอยู่ด้วยกัน อย่างมีแบบแผน เพื่อความสงบสุขของสังคม ประกอบด้วย วิชาจิตวิทยา วิชาการศึกษา วิชารัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เป็นต้น 2) วิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Applied Science) วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คือ วิทยาศาสตร์ ที่ว่าด้วยเรื่องราวต่างๆที่มุ่งประโยชน์ในทางปฏิบัติยิ่งกว่าทฤษฏี เช่นแพทย์ศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2542) วิทยาศาสตร์ประยุกต์เป็นวิทยาศาสตร์ที่นาเอาความรู้จากวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ มาประยุกต์เพื่อให้เกิด ประโยชน์ต่อสังคมสนองความต้องการของมนุษย์ในด้านต่างๆ เช่น การแพทย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม ทาให้เกิดสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สาขาใหม่ เช่น แพทย์ศาสตร์ สัตวแพทย์ศาสตร์ เกษตรศาสตร์ วิศวกรรม และ โภชนาการ เป็นต้น หากเราพิจารณาในสาขาวิชาแพทยศาสตร์ ซึ่งเป็นวิทยาศาสตร์ประยุกต์สาขาหนึ่งนั้น จะพบว่าเป็น การผสมผสานความรู้จากสาขาวิชาวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์หลายสาขาประกอบกันเพื่อประโยชน์ในการรักษาโรค โดยไม่ได้ใช้ความรู้ในวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์สาขานั้นทั้งหมด ยกตัวอย่างเช่น ความรู้ทางด้านชีววิทยาใช้เฉพาะที่ เกี่ยวกับเรื่องการทางานของอวัยวะและระบบต่างๆ ของร่างกาย ความรู้ทางด้านฟิสิกส์ใช้ในส่วนที่เป็นเรื่อง เกี่ยวกับโครงสร้างของร่างกายและการเคลื่อนไหว ใช้ความรู้ทางด้านเคมี เช่น คุณสมบัติของสารเคมีต่างๆ ที่ สามารถนามาทายารักษาโรค ทางด้านจุลชีววิทยาได้แก่ ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับเชื้อจุลินทรีย์ และเชื้อโรคต่างๆ เป็นต้น จะเห็นได้ว่าสาขาวิชา แพทย์ศาสตร์นั้นเป็นการดึงเอาความรู้บางส่วนที่เกี่ยวข้องกับการทางานของ ร่างกายมนุษย์ และ การบาบัดรักษาโรคภัยไข้เจ็บจากสาขาวิชาวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์หลายๆแขนงมาประยุกต์ รวมกันเพื่อประโยชน์ทางด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น โดยสรุป คือ วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์เป็นความรู้ในเรื่องต่างๆ ซึ่ง มักเป็นสาขาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ที่มีลักษณะเป็นทฤษฏี หลักการ กฎ หรือสูตรต่างๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา เป็นต้น ส่วนวิทยาศาสตร์ประยุกต์เป็นการใช้ความรู้เพื่อให้เกิดประโยชน์ โดยเน้นในทางปฏิบัติ
  • 8. มากกว่าทฤษฎี และมักเป็นสาขาวิชาเฉพาะทาง เช่น แพทย์ศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม เป็นต้น จึงจาเป็นต้องให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ที่รู้จริง รู้ลึกด้วยความเข้าใจ มีความรู้ พื้นฐานมากพอเพียงที่สามารถนาไปใช้ ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ การสอนให้ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหา เป็นนั้นเป็นสิ่งสาคัญที่จะพัฒนาให้ผู้เรียนมีความสามารถแสดงความคิดอย่างชัดเจน สมเหตุสมผล มี วิจารณญาณ เป็นผู้รู้จริงใฝ่แสวงหาความรู้ กล้าแสดงความรู้และความคิด เสียสละเพื่อส่วนรวม มีน้าใจและ สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข สภาพการจัดการศึกษาของไทยในปัจจุบันถึงแม้จะมีนโยบายระดับประเทศในการส่งเสริมการจัด การศึกษา อาทิ เช่น นโยบายในการปฏิรูปการศึกษาและการมุ่งเน้นการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาด้านการคิด มี ความมุ่งหวังให้เด็กและเยาวชนแสดงความคิดและความสามารถวิเคราะห์ เน้นระบบการจัดการเรียนรู้ให้คนคิด เป็น วิเคราะห์เป็น กิจกรรมการเรียนรู้ควรฝึกฝนให้นักเรียนเป็นคนช่างคิด และคิดเป็นกระบวนการ รู้จักคิด วิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตัวเองอย่างมีเหตุผล ค้นหาความรู้ด้วยตนเองได้ แต่ในปัจจุบันพบปัญหาที่ต้องเร่ง ดาเนินการพัฒนาให้ประสบผลสาเร็จตามนโยบายรัฐบาลด้านการศึกษาที่สาคัญในหลายประเด็น ที่สาคัญคือ ปัญหาเรื่องคุณภาพการศึกษาและสติปัญญาของเด็ก กล่าวคือ การพัฒนาที่ผ่านมาทาให้เด็กและเยาวชนมี โอกาสทางการศึกษาเพิ่มขึ้น อัตราการรู้หนังสือและระดับการศึกษาเฉลี่ยของคนไทยมีแนวโน้มสูงขึ้น แต่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลับลดลง ไม่ว่าจะเป็นการทดสอบระดับชาติ(O-Net, GAT/PAT) หรือการทดสอบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนานาชาติ(โครงการ PISA และ TIMSS) สถิติและตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา คุณภาพทางการศึกษา ตามนโยบายของรัฐบาลในส่วนของมาตรการการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา (Measure of Achievement) ทุกระดับชั้น ผลการทดสอบต่าง ๆ สะท้อนถึงสถานการณ์การเรียนรู้ทาง วิทยาศาสตร์ของเด็กไทยล้าหลังกว่านานาชาติถึง 2 ปี ตามที่ไทยได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกนานาชาติ เพื่อประเมิน ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา(International Association for the Evaluation of EducationalAchievement หรือ IEA) เมื่อปี พ.ศ. 2551 ล่าสุด สสวท. ได้เข้าร่วม โครงการศึกษาแนวโน้มการจัดการศึกคณิตศาสตร์และ วิทยาศาสตร์ระดับนานาชาติ พ.ศ.2554 (Trends in International Mathematics and Science:TIMSS 2011) ไทยมีผลคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์ 451 คะแนนอยู่ที่ลาดับ 25 จากประเทศที่เข้าร่วมประเมิน 45 ประเทศ หากเปรียบเทียบ การประเมิน TIMSS 2007 กับ ปี 2011 ของไทยในภาพรวมพบว่าคะแนนเฉลี่ยของ ไทยลดลงทั้งวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ โดยในปี 2011 วิชาคณิตศาสตร์ลดลง 14 คะแนน วิชา วิทยาศาสตร์ลดลง 20 คะแนน โดยวิชาคณิตศาสตร์มีคะแนนเฉลี่ยลดลง 441 ในปี 2007 เหลือ 421 ในปี 2011 และวิชาวิทยาศาสตร์มีคะแนนเฉลี่ยลดลงจาก 471 ในปี2007 เหลือ 451 ในปี 2011 ถูกจัดกลุ่มให้อยู่ ในระดับแย่(poor)ทั้ง2วิชา (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.2556:1-13) เมื่อเปรียบเทียบการประเมิน นักเรียนในโครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ(Program for International Student Assessment หรือ PISA) ที่มีประเทศสมาชิก OECD (Economic Co-operation and Development) และประเทศ นอก
  • 9. กลุ่มสมาชิก OECD ซึ่งเรียกว่าประเทศร่วมโครงการ (Partner Countries) ทั้งหมดประมาณ 90% ของเขต เศรษฐกิจโลก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณภาพของระบบการศึกษา สาหรับประเทศสมาชิกและประเทศ ร่วมโครงการ ประเมินทุกสามปี เป็นการประเมินความรู้และทักษะของนักเรียนที่มีอายุ 15 ปี ได้แก่ การรู้ (Literacy) สามด้าน คือ ด้านการอ่าน (Reading Literacy) คณิตศาสตร์ (Mathematics Literacy) และ วิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) ซึ่งประเทศไทยเข้าร่วมการประเมินผลตั้งแต่แรกจนครบสามครั้ง ในการ ประเมินรอบแรก (Phase I : PISA 2000 PISA 2003 และ PISA 2006) และปัจจุบันเป็นการประเมินรอบสอง (Phase II : PISA 2009 PISA 2012 และ PISA 2015) การประเมินผลในแต่ละละครั้งสามารถให้ข้อมูล คุณภาพการศึกษาของชาติ ซึ่งผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการศึกษาทุกฝ่ายและสาธารณชนควรต้องได้รับรู้ ระบบ การศึกษาของเราได้เตรียมความพร้อมเยาวชนของชาติให้พร้อมที่จะเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพมีสมรรถนะในการ แข่งขันเทียบกับประชาคมโลก ในครั้งล่าสุด คือ PISA 2012 ผลการประเมินในภาพรวมประเทศไทยอยู่ใน อันดับที่ 50 จาก 65 ประเทศสมาชิก มีคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ย OECD ทั้งสามวิชา ซึ่งชี้นัยว่าคุณภาพการศึกษา ของไทยยังห่างไกลจากความเป็นเลิศ ความพยายามที่จะยกระดับคุณภาพการศึกษายังคงเป็นภารกิจสาคัญที่ ต้องดาเนินการต่อไป จุดสาคัญที่พบจุดหนึ่งคือ การยกระดับนักเรียนกลุ่มต่าให้สูงขึ้น แต่ในระบบการศึกษา ไทยกลับมีเหตุการณ์ที่นักเรียนกลุ่มสูงลดต่าลงซึ่งเกิดขึ้นกับทุกวิชา คะแนนเฉลี่ยวิทยาศาสตร์ของนักเรียนไทย ได้ 444 คะแนนจากค่าเฉลี่ย 501 คะแนน เพิ่มสูงขึ้นจาก PISA 2009 (คะแนน 425) อย่างมีนัยสาคัญ เมื่อ เทียบกับ PISA 2000 ก็พบว่ามีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างไรก็ตาม คะแนนยังคงต่ากว่าค่าเฉลี่ย OECD มากกว่าครึ่ง ระดับ บ่งบอกถึงนักเรียนมีความรู้เรื่องวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับต่าซึ่งไม่ถึงระดับพื้นฐาน (สถาบันส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.2556 : 1-24) จากผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาทั่วประเทศ ตั้งแต่ปีการ 2555-2557 พบว่าผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนลดลงทุกๆปีและผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน รอบที่2 ของโรงเรียนสีคิ้ว "สวัสดิ์ผดุงวิทยา" พบว่ามาตรฐานที่5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร (2.13)และมาฐานที่9 ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (2.31) ไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) (สานักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) 2552:ออนไลน์) และผลการทดสอบทางการศึกษา แห่งชาติ(O-NET) ปีการศึกษา 2551-2552 วิชาวิทยาศาสตร์ระดับประเทศได้ค่าคะแนนเฉลี่ย 29.06 และ 31.03 ตามลาดับ ขณะที่มีความมุ่งหมายที่จะจัดการเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็น มี ความสามารถ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข การดาเนินงาน จากปัญหาดังกล่าวส่งผลให้การจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ที่ประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้เรื่องบรรยากาศ หน่วยการเรียนรู้นี้นักเรียนมีผลการเรียนค่อนข้างต่า โดยไม่ ผ่านเกณฑ์ในการวัดผลการเรียนในแต่ละหน่วยย่อย ที่ประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับ ส่วนประกอบของอากาศ
  • 10. อุณหภูมิและชั้นบรรยากาศ สมบัติของอากาศ ความชื้นของอากาศ ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ อุตุนิยมวิทยา และพยากรณ์อากาศ และการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิโลกโดยผู้เรียนไม่สามารถตอบคาถามได้ว่าไม่เข้าใจ ตรงไหน ปัญหาสาคัญอยู่ที่ไหน ใช้หลักการใดไปแก้ปัญหา นักเรียนไม่สามารถแบ่งชั้นบรรยากาศได้ ไม่สามรถ คานวณหาระดับความสูงจากระดับน้าทะเล จึงต้องมีการสอนเพิ่มเติมและพบว่านักเรียนมีผลการเรียนไม่ผ่าน เกณฑ์ นักเรียนเกิดการเบื่อหน่ายไม่อยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ไม่มีส่วนร่วมในการเรียน ไม่สนุกกับการเรียน ส่งผลให้นักเรียนขาดทักษะกระบวนการคิด จากผลการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ที่ต่าตลอดเวลาที่ผ่านมา ทาให้ ผู้วิจัยทบทวนถึงสาเหตุครั้งนี้ พบว่าเกิดจากผู้เรียนและผู้สอน สาคัญที่สุดขึ้นอยู่กับผู้สอนเนื่องจากผู้สอนไม่ พิจารณาถึงความแตกต่างด้านเชาว์ปัญญาของผู้เรียน ผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ไม่เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้แสดงถึงความสามารถด้านเชาว์ปัญญา ทาให้ไม่สามารถเห็นจุดเด่นของนักเรียนแต่ละคน หากผู้สอน สามารถจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับลักษณะเด่นของผู้เรียนแต่ละคนและผู้เรียนจะสามารถพัฒนาเชาว์ปัญญา ให้สูงขึ้นได้ จากปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยในฐานะครูผู้สอนสนใจที่จะนารูปแบบการสอนทฤษฎีกระบวนการจัดการ เรียนรู้แบบ DRU Modle (YPF) เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนารูปแบบการ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มาใช้แก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ที่ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข และมี กระบวนการคิดอย่างมีระบบ เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนระดับสูงและการดารงชีวิตประจาวันต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะการ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3. เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 4. เพื่อประเมินผลและปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิต วิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 4.1 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  • 11. 4.2 เพื่อเปรียบเทียบทักษะการคิดแบบมีวิจารณญาณ หลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 4.3 เพื่อประเมินจิตวิทยาศาสตร์ หลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้าง ทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 4.4 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนหลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อ เสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 สมมติฐานการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการใช้สูงกว่าก่อนใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อ เสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 2. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและจิตวิทยาศาสตร์ของผู้เรียน หลังการใช้สูงกว่าก่อนใช้รูปแบบ การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเพื่อพัฒนา ผู้วิจัยกาหนดขอบเขตของการวิจัย ดังนี้ ตัวแปรในการศึกษา 1. ตัวแปรอิสระ คือรูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิต วิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1.1 ขั้นที่ 1 เตรียมความพร้อมผู้เรียน (Prepare learners) 1.2 ขั้นที่ 2 ปรับเปลี่ยนความคิด (Turning ideas) 1.3 ขั้นที่ 3 เรียนรู้สิ่งใหม่ (Learn something new) 1.4 ขั้นที่ 4 ประยุกต์ใช้ความรู้ (Application of Knowledge) 1.5 ขั้นที่ 5 เติมเต็มประสบการณ์ (Complement the experience) 2. ตัวแปรตาม คือผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนหลังการใช้รูปแบบ DRU MODEL (YPF) การจัดการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มี 4 ด้านประกอบด้วย 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2.2 ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
  • 12. 2.3 จิตวิทยาศาสตร์ 2.4 ความพึงพอใจ ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากร ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 1 ห้องเรียน โรงเรียนวัด มะพร้าวเตี้ย เขตภาษีเจริญ สังกัดกรุงเทพมหานคร จานวน 30 คน ปีการศึกษา 2559 2. กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 1 ห้องเรียน โรงเรียนวัด มะพร้าวเตี้ย เขตภาษีเจริญ สังกัดกรุงเทพมหานคร จานวน 30 คน ปีการศึกษา 2559 ได้มาโดยการสุ่มอย่าง ง่าย โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม ขอบเขตด้านระยะเวลาการศึกษาวิจัย ดาเนินการวิจัยในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 วันที่ 9-20 มกราคม 2560 นิยามศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย 1. รูปแบบการสอน หมายถึงแบบแผนการดาเนินการจัดกิจกรรมการการเรียนการสอนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยอาศัยทฤษฏีกระบวนการจัดการเรียนรู้ DRO MODEL (YPE) ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ขั้นที่ 1 Your Identify คือการตอบคาถาม ให้นักเรียนเกิดทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ขั้นที่ 2 Praxis คือสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการทากิจกรรม/วิพากษ์ ขั้นที่ 3 Formative คือประเมินตนเอง ตรวจสอบทบทวนตนเอง ตามกิจกรรมและภาระงาน 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนของผู้เรียนที่ได้จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ ทาการทดสอบ ก่อนเรียนและหลังเรียนตามกิจกรรมการเรียน การสอนในรูปแบบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น 3. ความรู้ คือ ความเข้าใจในเรื่องบรรยากาศ จดจาในสิ่งที่เรียนไปและนาความรู้เรื่องบรรยากาศไปใช้ ประโยชน์ เป็นความสามารถทางสติปัญญาในการขยายความรู้ ความจา ให้กว้างออกไปจากเดิมอย่าง สมเหตุสมผล และความสามารถในการแปลความหมาย การสรุปหรือการขยายความสิ่งใดสิ่งหนึ่ง 4. จิตวิยาศาสตร์ (Science mind) หมายถึงจิตสานึกของบุคคลที่ก่อให้เกิดเป็นลักษณะนิสัยหรือ ความรู้สึกทางจิตใจของบุคคลที่เกิดการศึกษาความรู้หรือการเรียนรู้ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย 4.1 ความสนใจใฝ่รู้ หมายถึงคุณลักษณะของบุคคลที่มีความพยายามจะเผชิญสืบเสาะแสวงหา ความรู้ในสถานการณ์ใหม่ๆซึ่งไม่สามารถอธิบายด้วยความรู้ที่ทีอยู่เดิม และค้นหาความรู้เพื่อตอบปัญหาซึ่งมี ความปรารถนาที่จะได้ความรู้ที่สมบูรณ์ ซึ้งมีลักษณะพฤติกรรมดังนี้ 4.1.1 มีปัญหาเกิดขึ้นต่อเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นและพยายามหาคาตอบนั้นให้สมบูรณ์โดยการ ซักถาม สนทนา ฟัง อ่าน เพื่อให้ได้ความรู้ที่สมบูรณ์
  • 13. 4.1.2 มีการศึกษาค้นคว้าเพื่อทาความเข้าใจสถานการณ์ใหม่ๆ ซึ่งไม่สามารถอธิบายได้ด้วยความรู้ ที่มีอยู่เดิม 4.1.3 ชอบสืบเสาะ ทดลอง พิสูจน์แนวคิดแปลกใหม่ 4.1.4 มีความกระตือรือร้นต่อกิจกรรม และเรื่องใหม่ 4.2 ความรับผิดชอบ มุ่งมั่น อดทน และเพียรพยายาม หมายถึง คุณลักษณะของบุคคลที่สามารถ ดาเนินการทากิจกรรมในการแก้ปัญหาจนถึงที่สุดจนกว่าจะได้รับคาตอบที่น่าเชื่อถือได้และยอมรับผลการ กระทาของตนเองทั้งเป็นผลดี และผลเสียซึ่งมีลักษณะและพฤติกรรมดังต่อไปนี้ 4.2.1 มีความเต็มใจที่ค้นหาคาตอบโดยการพิสูจน์ ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์แม้มีปัญหาและ อุปสรรต่างๆ 4.2.2 มีความเต็มใจที่จะทาการทดลองซ้าๆ หลายครั้งเพื่อค้นหาคาตอบที่น่าเชื่อถือที่สุด 4.2.3 ทางานที่รับผิดชอบมอบหมายอย่างเต็มความสามารถ 4.2.4 ทางานที่มอบหมายให้เสร็จสมบูรณ์ตามที่กาหนด และตรงต่อเวลา 4.2.5 ไม่ท้อถอยในการทางาน เมื่อมีอุปสรรคหรือล้มเหลว 4.2.6 มีความอดทน แม้การดาเนินการแก้ปัญหาจะยุ่งยากและใช้เวลา 4.2.7 ยอมรับผลการกระทาของตนเองทั้งที่เป็นผลดีและผลเสีย 4.3 ความมีระเบียบและรอบคอบ หมายถึงคุณลักษณะของบุคคลที่มีการทางานเป็นระเบียบ รอบคอบ จัดระบบการทางานใช้วิธีการศึกษาหลายวิธีในการตรวจสอบผลการทดลองไตร่ตรอง จัดระบบการ ทางานก่อนตัดสินใจสรุปมีลักษณะพฤติกรรมดังนี้ 4.3.1 เห็นคุณค่าของความมีระเบียบและรอบคอบ 4.3.2 นาวิธีการหลายๆ วิธีมาตรวจสอบผลหรือวิธีการทดลอง 4.3.3 มีการใคร่ครวญ ไตร่ตรอง พินิจพิเคราะห์ ก่อนในการตัดสินใจสรุปหรือเชื่อในสิ่งต่างๆ 4.3.4 มีความละเอียด ถี่ถ้วนในการทางาน 4.3.5 มีการวางแผนการทางานและจัดระบบการทางาน 4.3.6 ตรวจสอบความเรียบร้อย หรือคุณภาพเครื่องมือก่อนทาการทดลอง 4.3.7 ทางานอย่างเป็นระเบียบเรียนร้อย 4.4 ความมีเหตุผล หมายถึงคุณลักษณะของบุคคลที่มียอมรับในคาอธิบายเมื่อมีหลักฐานและข้อมูล อย่างพอก่อนสรุปผล ชอบพิจารณาหาสาเหตุของปรากฏการณ์ต่างๆซึ่งมีลักษณะพฤติกรรมดังนี้ 4.4.1 เห็นคุณคุณค่าในการเหตุผลในเรื่องต่างๆ 4.4.2 ไม่เชื่อโชครางหรือคาทานายที่ไม่สามารถอธิบายได้ตามวิธีของวิทยาศาสตร์ แต่พยายามสิ่ง ต่างๆในแง่มุมของเหตุผล 4.4.3 หาความสัมพันธ์ของเหตุและผลของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น 4.4.4 อธิบายหรือแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
  • 14. 4.4.5 ตรวจความถูกต้องหรือความสมเหตุผลของแนวคิดต่างๆกับแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้เสาะ แสวงหาหลักฐานหรือข้อมูลจากการสังเกตหรือทดลองเพื่อสนับสนุนหรือค้นหาคาตอบ 4.4.6 เสาะแสวหาหลักฐานหรือข้อมูลจากการสังเกตหรือทดลองเพื่อสนับสนุนหรือค้นหาคาตอบ 4.4.7 ยอมรับในคาอธิบายเมื่อมีหลักฐานหรือข้อมูลสนับสนุนอย่างเพียงพอ 4.4.8 มีความต้องการเคารพในเหตุผลซึ่งกันและกัน 4.5 ความใจกว้าง หมายถึงคุณลักษณะของบุคคลหรือแสดงถึงการมีจิตใจกว้างขวางเต็มใจที่จะ เปลี่ยนแปลงความคิดเห็นของตนยอมรับฟังความคิดเห็นหรือวิพากษ์วิจารณ์ข้อโต้แย้งของคนอื่น เปลี่ยนความ คิดเห็นของตนเอง เมื่อมีหลีกฐานที่ดีกว่า ซึ่งมีพฤติกรรมดังนี้ 4.5.1 รับฟัง วิพากษ์วิจารณ์ ข้อโต้แย้ง หรือข้อคิดเห็นของผู้อื่น 4.5.2 ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยใจเป็นธรรม 4.5.3 ยอมรับความคิดเห็นหรือวิธีการที่แปลกใหม่ 4.5.4 เต็มใจที่จะเปลี่ยนแนวคิดหรือแนวปฏิบัติเมื่อได้ข้อมูลหรือหลักฐานใหม่ๆที่เชื่อถือได้ มากกว่าหรือถูกต้องกว่า 4.5.5 ยอมพิจารณาข้อมูลหรือข้อคิดเห็นที่ยงสรุปไม่ได้และพร้อมที่จะหาข้อมูลเพิ่มเติม 4.6 ความซื่อสัตย์ หมายถึงคุณลักษณะของบุคคลที่ต้องการความถูกต้องในการรายงานการศึกษา โดยปราศจากอคติ ความรู้สึกส่วนตัวหรืออิทธิพลจากสิ่งต่างๆซึ่งมีพฤติกรรมดังนี้ 4.6.1 เห็นคุณค่าการนาเสนอข้อมูลตามความเป็นจริง 4.6.2 นาเสนอความเป็นจริงของตนเองถึงแม้จะมีผลที่มีความแตกต่างจากคนอื่นก็ตาม 4.6.3 บันทึกข้อมูลตามความเป็นจริงและไม่ใช้ความรู้สึกของตนเองมากเกี่ยวข้อง 4.6.4 ไม่แอบอ้างผลงานของผู้อื่นมาเป็นผลงานของตนเอง 4.6.5 ไม่เอาอิทธิพลของความเชื่อมาให้เหนือการตัดสินใจใดๆในทางวิทยาศาสตร์ 4.6.6 ไม่นาสภาพทาสังคม เศรษฐกิจและการเมืองมาเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงความหมาย ข้อมูล 5. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจากรูปแบบ การสอนวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์เรื่องบรรยากาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ต่อนักเรียน 1.1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นส่งผลต่อ ระดับผลสัมฤทธิ์รวมของโรงเรียนสูงขึ้น 1.2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ มีทักษะการคิดขั้นสูง ส่งผลให้สามารถ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันได้
  • 15. 1.3 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีคุณลักษณะด้านการมุ่งมั่นในการเรียนรู้ ใฝ่เรียนรู้ มีวินัย และมี จิตสาธารณะ สามารถช่วยเหลือสังคมได้ 2. ต่อครูผู้สอน 2.1 ได้นานวัตกรรมรูปแบบการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิต วิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีประสิทธิผลสูงกว่า 0.5 สามารถไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ 2.2 เป็นแนวทางสาหรับครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในการพัฒนารูปแบบการสอน สาหรับพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการคิด 2.3 เป็นแนวทางให้ครูผู้สอนในกลุ่มสาระอื่นๆและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ในการออกแบบพัฒนารูปแบบการสอน สาหรับการพัฒนาการสอน สาหรับพัฒนาผลสมฤทธิ์ทางการเรียนและ ทักษะการคิด 3. ต่อผู้บริหาร 3.1 การบริหารบุคลากรในสถานศึกษา ทาให้ได้บุคลากรที่มีผลงานด้านการสร้างและพัฒนา นวัตกรรมสาหรับการจัดการเรียนการสอน 3.2 การบริหารจักการเรียนการสอน ทาให้โรงเรียนมีสื่อนวัตกรรมในการจัดการเรียนการสอน 4. ต่อผู้อื่นที่เกี่ยวข้อง 4.1 ชุมชนมีสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนด้วยนวัตกรรม ทาให้เกิดความมั่นใจในการส่งบุตร หลานเข้าศึกษาต่อ 4.2 ผู้ปกครองมีความพึงพอใจในผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของบุตรหลานและมีความรู้สึกต่อ สถานศึกษาศึกษาที่ทาให้บุตรหลานมีความตั้งใจในการศึกษาหาความรู้ 4.3 หน่วยงานต้นสังกัดมีสถานศึกษาในความดูแลที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและคิดสูง
  • 16. กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย จากแนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยงข้องกับการรูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อเสริมสร้าง ทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศสาหรับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สรุปกรอบ แนวคิด ทฤษฎีได้ดังแผนภาพที่ 1 ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดทฤษฎีในการพัฒนารูปแบบการสอน หลักการ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการสร้างองค์ความรู้ทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ ได้แนวคิดจาก DRU MODRL (YPF) ขั้นที่ 1 Your Identify คือการตอบคาถาม ให้นักเรียนเกิดทักษะ ความรู้ และจิต วิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ขั้นที่ 2 Praxis คือสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการทากิจกรรม/วิพากษ์ ขั้นที่ 3 Formative คือประเมินตนเอง ตรวจสอบทบทวนตนเอง ตามกิจกรรมและภาระงาน วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ และศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ เรื่องบรรยากาศ และทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์สาระการเรียนรู้ ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ขั้นที่ 1 Your Identify ขั้นที่ 2 Praxis ขั้นที่ 3 Formative เพื่อเสริมสร้างทักษะ ค ว า ม รู้ แ ล ะ จิ ต วิทยาศาสตร์ 1. ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้ โดยอาศัยทฤษฎี การสร้างความรู้ รูปแบบการสอน DRU MODRL (YPF) 2. หลักการสร้างองค์ความรู้ 3. ทักษะความรู้ 4. จิตวิทยาศาสตร์ องค์ประกอบ แนวคิด ทฤษฎีที่สนับสนุน