SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Individual
Behavior
By Parinya Thawichan
พฤติกรรมบุคคล
ในแต่ละองค์การย่อมประกอบด้วยบุคคลหลาย ๆ คน มาทางานร่วมกัน ซึ่งบุคคลและ
องค์การต่างมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน กล่าวคือ บุคคลจะถูกองค์การคาดหวังเกี่ยวกับ
ความพยายาม ความสามารถ ความจงรักภักดีต่อองค์การ ทักษะ การทุ่มเทเวลาและ
ศักยภาพ ในขณะเดียวกันองค์การก็ถูกคาดหวังจากบุคคลว่า จะได้รับการสนับสนุนจาก
องค์การในเรื่องค่าตอบแทน ความมั่นคงของงาน ผลประโยชน์ โอกาสในการทางาน
สถานภาพ และความก้าวหน้า ตัวบุคคลถือเป็นระบบย่อยที่สุดในองค์การ ในการศึกษา
พฤติกรรมของบุคคลนั้น เพื่อจะได้นาไปคาดคะเนและกากับพฤติกรรมให้เป็นผลดีต่อ
องค์การ ในบทนี้เราจะทาความเข้าใจพฤติกรรมของบุคคลที่จะมีผลต่อผลการปฏิบัติงาน
โดยอาศัย MARS Model
MARS model of individual behavior
Individual
Characteristics
MARS model
Employee Motivation
แบบจาลอง MARS แสดงให้เห็นปัจจัยทั้ง 4 ปัจจัย ที่ส่งผลต่อผล
การทางานของบุคคลแต่ละคน ปัจจัยทั้ง 4 ที่ประกอบกันเป็น
แบบจาลองชื่อเดียวกันนี้ประกอบด้วย
M : Motivation
A : Ability
R : Role perceptions
S : Situational factors
Motivation : แรงจูงใจ
แรงจูงใจ (Motivation) คือแรงขับดันภายในบุคคลที่ส่งผลให้
บุคคลนั้นดาเนินการตามทิศทางที่กาหนด (Direction) ความ
พยายามเอาจริงเอาจังมุ่งสู่เป้าหมาย (Intensity) และ ความ
วิริยะอดทนเพื่อให้ไปถึงเป้าหมาย อาจกล่าวโดยสรุปว่าแรงจูงใจ
ประกอบด้วย
• Direction − focused by goals.
• Intensity − bulk of effort allocated.
• Persistence − amount of time taken for
the effort to be exerted.
Ability : ความสามารถ
ความสามารถ (Ability) ความสามารถของพนักงานทาให้เกิด
พฤติกรรมและผลการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน ความสามารถหมาย
รวมถึงความสามารถพิเศษที่ติดตัวมาแต่กาเนิด ( Aptitude)
และความสามารถที่เกิดจากการเรียนรู้ในภายหลัง (Learned
capability) เพื่อให้งานประสบผลสาเร็จ มีคาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับ
ความสามารถอีก 2 คา คือ
• Competencies
• Person-job fit
Role perceptions : การรับรู้บทบาทของตน
การรับรู้บทบาทของตน (Role perception) คือความเชื่อของ
บุคคลที่ทีต่องานที่ได้รับมอบหมายเฉพาะหรือตามตาแหน่งที่ได้รับ
มอบหมาย บุคคลจะรับรู้บทบาทของตนได้ก็ต่อเมื่อมีความเข้าใจงาน
ที่ได้รับมอบหมาย ความสาคัญของงานที่ตนได้รับมอบหมาย และ
พฤติกรรมแบบใดที่จะทาให้งานสาเร็จ
องค์การจะพัฒนาการรับรู้บทบาทของบุคคลกรในองค์กรได้อย่างไร?
Situational factors : สถานการณ์ที่เป็นปัจจัย
สถานการณ์ที่เป็นปัจจัย (Situational factors) คือ
สถานการณ์ที่มีผลต่อพฤติกรรมการทางานและผลการปฏิบัติงาน
สถานการณ์ที่เป็นปัจจัยรวมถึงเงื่อนไขบางอย่างที่อยู่เหนือการความ
คุมขององค์การ อาทิเช่น ความต้องการของลูกค้า เงื่อนไขทางด้าน
เศรษฐกิจ เหล่านี้ล้วนเกิดจากเงื่อนไขภายนอกองค์การ อย่างไรก็ตาม
เงื่อนไขส่วนใหญ่จะอยู่อยู่ภายในองค์การซึ่งความคุมได้ อาทิเช่น
เวลา คนในองค์การ งบประมาณ และอุปกรณ์อานวยความสะดวกใน
ที่ทางาน เป็นต้น
สถานการณ์สร้างผู้นา......
Individual Behaviors in the Workplace
Individual Behaviors in the Workplace
Task Performance
การปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ (Task Performance) คือ พฤติกรรม
ของพนักงานที่เกี่ยวข้องกับงานและมีความสัมพันธ์กับเป้าหมายขององค์การ โดยเป็น
การปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้ระบุไว้ในเอกสารบรรยายลักษณะงาน (JD) ซึ่งเป็น
กิจกรรมสาคัญต่อองค์การ ทั้งนี้เพราะเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมที่มีผลโดยตรงต่อการ
ผลิตสินค้า บริการ หรือกิจกรรมต่าง ๆ ที่มีส่วนโดยตรงในการสนับสนุนกระบวนการ
ทางานหลักขององค์การ อีกทั้งยังเป็นการใช้ความชานาญในการปฏิบัติหน้าที่ซึ่ง
เป็นส่วนหนึ่งของงานทั้งโดยทางตรงโดยการเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทางาน
หรือโดยทางอ้อมโดยการจัดหาทรัพยากรที่จาเป็นเพื่อนามาใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อ
การบรรลุสู่เป้าหมายขององค์การ
คาสาคัญ : มุ่งผลงาน ปฏิบัติตามหน้าที่ ใช้ความชานาญ
Organizational Citizenship
พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ (Organizational Citizenship
Behavior หรือ OCB) คือพฤติกรรมความเต็มใจของพนักงานในการปฏิบัติหน้าที่
นอกเหนือจากงานในหน้าที่ของตน ช่วยเหลือผู้ร่วมงานและผู้บังคับบัญชา สนใจในกิจกรรม
และภารกิจขององค์การโดยรวม เพื่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์การโดยไม่หวัง
ผลตอบแทน หรือรางวัลใดๆ ทั้งสิ้นจากองค์การ
คาสาคัญ : Extra-Role Behavior ช่วยเหลือ
Counterproductive Work Behavior
พฤติกรรมต่อต้านการปฏิบัติงาน (counterproductive work behaviors หรือ
CWBs) หมายถึงการกระทาโดยตั้งใจใจของสมาชิกองค์การ ที่ก่อให้เกิดผลเสียหายต่อ
ผลประโยชน์ขององค์ การหรือสมาชิกอื่นๆ ขององค์การ พฤติกรรมเหล่านี้มีลักษณะสาคัญคือการ
ไม่คานึงถึงกฎและค่านิยมของสังคมและองค์การ โดยสามารถจาแนกได้อย่างน้อย 11 ประเภท
ดังต่อไปนี้1) การขโมยและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง 2) การทาลายทรัพย์สิน 3) การใช้ข้อมูลภายใน
อย่างไม่เหมาะสม 4) การใช้เวลาและทรัพยากรอย่างไม่เหมาะสม 5) พฤติกรรมการทางานที่ไม่
ปลอดภัย 6) การไม่ตั้งใจปฏิบัติงาน 7) การทางานอย่างไม่มีคุณภาพ 8) การดื่มเครื่องดื่ม
แอลกอฮอล์ 9) การใช้สารเสพติด 10) การพูดจาที่ไม่เหมาะสม 11) การใช้กาลังประทุษร้าย
(Gruys & Sackett, 2003)
คาสาคัญ : แหกกฎ ทาลาย
Counterproductive Work Behavior
พฤติกรรมต่อต้านการปฏิบัติงาน (counterproductive work behaviors หรือ
CWBs) หมายถึงการกระทาโดยตั้งใจใจของสมาชิกองค์การ ที่ก่อให้เกิดผลเสียหายต่อ
ผลประโยชน์ขององค์ การหรือสมาชิกอื่นๆ ขององค์การ พฤติกรรมเหล่านี้มีลักษณะสาคัญคือการ
ไม่คานึงถึงกฎและค่านิยมของสังคมและองค์การ โดยสามารถจาแนกได้อย่างน้อย 11 ประเภท
ดังต่อไปนี้1) การขโมยและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง 2) การทาลายทรัพย์สิน 3) การใช้ข้อมูลภายใน
อย่างไม่เหมาะสม 4) การใช้เวลาและทรัพยากรอย่างไม่เหมาะสม 5) พฤติกรรมการทางานที่ไม่
ปลอดภัย 6) การไม่ตั้งใจปฏิบัติงาน 7) การทางานอย่างไม่มีคุณภาพ 8) การดื่มเครื่องดื่ม
แอลกอฮอล์ 9) การใช้สารเสพติด 10) การพูดจาที่ไม่เหมาะสม 11) การใช้กาลังประทุษร้าย
(Gruys & Sackett, 2003)
คาสาคัญ : แหกกฎ ทาลาย
Maintaining Work Attendance
ขณะที่องค์การต้องดึงดูดและรักษาบุคลากรไว้แต่องค์การก็ต้องการให้พนักงานอย่าง
สม่าเสมอให้คุ้มกับค่าจ้างที่องค์การจ่ายไป ในอเมริกามีสถิตว่าพนักงานไม่ทางาน
สม่าเสมอหรือมีอัตราการขาดงาน 2 เปอร์เซ็นต์ สาเหตุที่ทาให้คนขาดงานถือเป็น
ปัจจัยด้านสถานการณ์ เช่น สภาพอากาศ รถติด รถเสีย ความเจ็บป่วย ขาดความพึง
พอใจในงาน และปัญหาอื่นๆที่อยู่ใน Individual characteristics ซึ่งเราจะ
อธิบายเรื่องเหล่านี้ในคาบถัดไป
คาสาคัญ : ขาดงาน ป่วยกิจ
Individual behavior

More Related Content

What's hot

บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตPattapong Promchai
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำissareening
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคพฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคWut Sookcharoen
 
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณา
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณาSlide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณา
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณาNatepanna Yavirach
 
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อยกรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อยChatchamon Uthaikao
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตOrnkapat Bualom
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Thida Noodaeng
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
สร้างแบรนด์ให้เกิด บริหารแบรนด์ให้โดนใจ
สร้างแบรนด์ให้เกิด บริหารแบรนด์ให้โดนใจสร้างแบรนด์ให้เกิด บริหารแบรนด์ให้โดนใจ
สร้างแบรนด์ให้เกิด บริหารแบรนด์ให้โดนใจisamare-hesheit
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Organization diagnosis การวินิจฉัยองค์กร
Organization diagnosis การวินิจฉัยองค์กรOrganization diagnosis การวินิจฉัยองค์กร
Organization diagnosis การวินิจฉัยองค์กรmaruay songtanin
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติOrnkapat Bualom
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาบทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 

What's hot (20)

Case Study : Serksu Thailand
Case Study : Serksu ThailandCase Study : Serksu Thailand
Case Study : Serksu Thailand
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคพฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
 
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณา
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณาSlide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณา
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณา
 
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อยกรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
Value Chain กรณี Starbucks
Value Chain กรณี StarbucksValue Chain กรณี Starbucks
Value Chain กรณี Starbucks
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
สร้างแบรนด์ให้เกิด บริหารแบรนด์ให้โดนใจ
สร้างแบรนด์ให้เกิด บริหารแบรนด์ให้โดนใจสร้างแบรนด์ให้เกิด บริหารแบรนด์ให้โดนใจ
สร้างแบรนด์ให้เกิด บริหารแบรนด์ให้โดนใจ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
 
Organization diagnosis การวินิจฉัยองค์กร
Organization diagnosis การวินิจฉัยองค์กรOrganization diagnosis การวินิจฉัยองค์กร
Organization diagnosis การวินิจฉัยองค์กร
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
 
หลักการจัดการ.
หลักการจัดการ.หลักการจัดการ.
หลักการจัดการ.
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาบทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
 

Similar to Individual behavior

บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1Saiiew
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660CUPress
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่Natepanna Yavirach
 
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Napin Yeamprayunsawasd
 
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพChalermpon Dondee
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
Organization structure
Organization structureOrganization structure
Organization structureKan Yuenyong
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4praphol
 
Organization measurement
Organization measurementOrganization measurement
Organization measurementKan Yuenyong
 
การพัฒนาระบบงาน Managing+Work+Flows
การพัฒนาระบบงาน Managing+Work+Flowsการพัฒนาระบบงาน Managing+Work+Flows
การพัฒนาระบบงาน Managing+Work+Flowsearthpetch
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3praphol
 

Similar to Individual behavior (20)

20180110104912
2018011010491220180110104912
20180110104912
 
20180110104912
2018011010491220180110104912
20180110104912
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
 
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
 
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
 
Tool HPO
Tool HPO Tool HPO
Tool HPO
 
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Routine to Research :R2R
Routine to Research :R2RRoutine to Research :R2R
Routine to Research :R2R
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
Organization structure
Organization structureOrganization structure
Organization structure
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
 
Organization measurement
Organization measurementOrganization measurement
Organization measurement
 
Kpi 18 1_55
Kpi 18 1_55Kpi 18 1_55
Kpi 18 1_55
 
การพัฒนาระบบงาน Managing+Work+Flows
การพัฒนาระบบงาน Managing+Work+Flowsการพัฒนาระบบงาน Managing+Work+Flows
การพัฒนาระบบงาน Managing+Work+Flows
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 

Individual behavior

  • 2. พฤติกรรมบุคคล ในแต่ละองค์การย่อมประกอบด้วยบุคคลหลาย ๆ คน มาทางานร่วมกัน ซึ่งบุคคลและ องค์การต่างมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน กล่าวคือ บุคคลจะถูกองค์การคาดหวังเกี่ยวกับ ความพยายาม ความสามารถ ความจงรักภักดีต่อองค์การ ทักษะ การทุ่มเทเวลาและ ศักยภาพ ในขณะเดียวกันองค์การก็ถูกคาดหวังจากบุคคลว่า จะได้รับการสนับสนุนจาก องค์การในเรื่องค่าตอบแทน ความมั่นคงของงาน ผลประโยชน์ โอกาสในการทางาน สถานภาพ และความก้าวหน้า ตัวบุคคลถือเป็นระบบย่อยที่สุดในองค์การ ในการศึกษา พฤติกรรมของบุคคลนั้น เพื่อจะได้นาไปคาดคะเนและกากับพฤติกรรมให้เป็นผลดีต่อ องค์การ ในบทนี้เราจะทาความเข้าใจพฤติกรรมของบุคคลที่จะมีผลต่อผลการปฏิบัติงาน โดยอาศัย MARS Model
  • 3. MARS model of individual behavior Individual Characteristics MARS model
  • 4. Employee Motivation แบบจาลอง MARS แสดงให้เห็นปัจจัยทั้ง 4 ปัจจัย ที่ส่งผลต่อผล การทางานของบุคคลแต่ละคน ปัจจัยทั้ง 4 ที่ประกอบกันเป็น แบบจาลองชื่อเดียวกันนี้ประกอบด้วย M : Motivation A : Ability R : Role perceptions S : Situational factors
  • 5. Motivation : แรงจูงใจ แรงจูงใจ (Motivation) คือแรงขับดันภายในบุคคลที่ส่งผลให้ บุคคลนั้นดาเนินการตามทิศทางที่กาหนด (Direction) ความ พยายามเอาจริงเอาจังมุ่งสู่เป้าหมาย (Intensity) และ ความ วิริยะอดทนเพื่อให้ไปถึงเป้าหมาย อาจกล่าวโดยสรุปว่าแรงจูงใจ ประกอบด้วย • Direction − focused by goals. • Intensity − bulk of effort allocated. • Persistence − amount of time taken for the effort to be exerted.
  • 6. Ability : ความสามารถ ความสามารถ (Ability) ความสามารถของพนักงานทาให้เกิด พฤติกรรมและผลการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน ความสามารถหมาย รวมถึงความสามารถพิเศษที่ติดตัวมาแต่กาเนิด ( Aptitude) และความสามารถที่เกิดจากการเรียนรู้ในภายหลัง (Learned capability) เพื่อให้งานประสบผลสาเร็จ มีคาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับ ความสามารถอีก 2 คา คือ • Competencies • Person-job fit
  • 7. Role perceptions : การรับรู้บทบาทของตน การรับรู้บทบาทของตน (Role perception) คือความเชื่อของ บุคคลที่ทีต่องานที่ได้รับมอบหมายเฉพาะหรือตามตาแหน่งที่ได้รับ มอบหมาย บุคคลจะรับรู้บทบาทของตนได้ก็ต่อเมื่อมีความเข้าใจงาน ที่ได้รับมอบหมาย ความสาคัญของงานที่ตนได้รับมอบหมาย และ พฤติกรรมแบบใดที่จะทาให้งานสาเร็จ องค์การจะพัฒนาการรับรู้บทบาทของบุคคลกรในองค์กรได้อย่างไร?
  • 8. Situational factors : สถานการณ์ที่เป็นปัจจัย สถานการณ์ที่เป็นปัจจัย (Situational factors) คือ สถานการณ์ที่มีผลต่อพฤติกรรมการทางานและผลการปฏิบัติงาน สถานการณ์ที่เป็นปัจจัยรวมถึงเงื่อนไขบางอย่างที่อยู่เหนือการความ คุมขององค์การ อาทิเช่น ความต้องการของลูกค้า เงื่อนไขทางด้าน เศรษฐกิจ เหล่านี้ล้วนเกิดจากเงื่อนไขภายนอกองค์การ อย่างไรก็ตาม เงื่อนไขส่วนใหญ่จะอยู่อยู่ภายในองค์การซึ่งความคุมได้ อาทิเช่น เวลา คนในองค์การ งบประมาณ และอุปกรณ์อานวยความสะดวกใน ที่ทางาน เป็นต้น สถานการณ์สร้างผู้นา......
  • 9. Individual Behaviors in the Workplace
  • 10. Individual Behaviors in the Workplace
  • 11. Task Performance การปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ (Task Performance) คือ พฤติกรรม ของพนักงานที่เกี่ยวข้องกับงานและมีความสัมพันธ์กับเป้าหมายขององค์การ โดยเป็น การปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้ระบุไว้ในเอกสารบรรยายลักษณะงาน (JD) ซึ่งเป็น กิจกรรมสาคัญต่อองค์การ ทั้งนี้เพราะเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมที่มีผลโดยตรงต่อการ ผลิตสินค้า บริการ หรือกิจกรรมต่าง ๆ ที่มีส่วนโดยตรงในการสนับสนุนกระบวนการ ทางานหลักขององค์การ อีกทั้งยังเป็นการใช้ความชานาญในการปฏิบัติหน้าที่ซึ่ง เป็นส่วนหนึ่งของงานทั้งโดยทางตรงโดยการเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทางาน หรือโดยทางอ้อมโดยการจัดหาทรัพยากรที่จาเป็นเพื่อนามาใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อ การบรรลุสู่เป้าหมายขององค์การ คาสาคัญ : มุ่งผลงาน ปฏิบัติตามหน้าที่ ใช้ความชานาญ
  • 12. Organizational Citizenship พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ (Organizational Citizenship Behavior หรือ OCB) คือพฤติกรรมความเต็มใจของพนักงานในการปฏิบัติหน้าที่ นอกเหนือจากงานในหน้าที่ของตน ช่วยเหลือผู้ร่วมงานและผู้บังคับบัญชา สนใจในกิจกรรม และภารกิจขององค์การโดยรวม เพื่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์การโดยไม่หวัง ผลตอบแทน หรือรางวัลใดๆ ทั้งสิ้นจากองค์การ คาสาคัญ : Extra-Role Behavior ช่วยเหลือ
  • 13. Counterproductive Work Behavior พฤติกรรมต่อต้านการปฏิบัติงาน (counterproductive work behaviors หรือ CWBs) หมายถึงการกระทาโดยตั้งใจใจของสมาชิกองค์การ ที่ก่อให้เกิดผลเสียหายต่อ ผลประโยชน์ขององค์ การหรือสมาชิกอื่นๆ ขององค์การ พฤติกรรมเหล่านี้มีลักษณะสาคัญคือการ ไม่คานึงถึงกฎและค่านิยมของสังคมและองค์การ โดยสามารถจาแนกได้อย่างน้อย 11 ประเภท ดังต่อไปนี้1) การขโมยและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง 2) การทาลายทรัพย์สิน 3) การใช้ข้อมูลภายใน อย่างไม่เหมาะสม 4) การใช้เวลาและทรัพยากรอย่างไม่เหมาะสม 5) พฤติกรรมการทางานที่ไม่ ปลอดภัย 6) การไม่ตั้งใจปฏิบัติงาน 7) การทางานอย่างไม่มีคุณภาพ 8) การดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ 9) การใช้สารเสพติด 10) การพูดจาที่ไม่เหมาะสม 11) การใช้กาลังประทุษร้าย (Gruys & Sackett, 2003) คาสาคัญ : แหกกฎ ทาลาย
  • 14. Counterproductive Work Behavior พฤติกรรมต่อต้านการปฏิบัติงาน (counterproductive work behaviors หรือ CWBs) หมายถึงการกระทาโดยตั้งใจใจของสมาชิกองค์การ ที่ก่อให้เกิดผลเสียหายต่อ ผลประโยชน์ขององค์ การหรือสมาชิกอื่นๆ ขององค์การ พฤติกรรมเหล่านี้มีลักษณะสาคัญคือการ ไม่คานึงถึงกฎและค่านิยมของสังคมและองค์การ โดยสามารถจาแนกได้อย่างน้อย 11 ประเภท ดังต่อไปนี้1) การขโมยและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง 2) การทาลายทรัพย์สิน 3) การใช้ข้อมูลภายใน อย่างไม่เหมาะสม 4) การใช้เวลาและทรัพยากรอย่างไม่เหมาะสม 5) พฤติกรรมการทางานที่ไม่ ปลอดภัย 6) การไม่ตั้งใจปฏิบัติงาน 7) การทางานอย่างไม่มีคุณภาพ 8) การดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ 9) การใช้สารเสพติด 10) การพูดจาที่ไม่เหมาะสม 11) การใช้กาลังประทุษร้าย (Gruys & Sackett, 2003) คาสาคัญ : แหกกฎ ทาลาย
  • 15. Maintaining Work Attendance ขณะที่องค์การต้องดึงดูดและรักษาบุคลากรไว้แต่องค์การก็ต้องการให้พนักงานอย่าง สม่าเสมอให้คุ้มกับค่าจ้างที่องค์การจ่ายไป ในอเมริกามีสถิตว่าพนักงานไม่ทางาน สม่าเสมอหรือมีอัตราการขาดงาน 2 เปอร์เซ็นต์ สาเหตุที่ทาให้คนขาดงานถือเป็น ปัจจัยด้านสถานการณ์ เช่น สภาพอากาศ รถติด รถเสีย ความเจ็บป่วย ขาดความพึง พอใจในงาน และปัญหาอื่นๆที่อยู่ใน Individual characteristics ซึ่งเราจะ อธิบายเรื่องเหล่านี้ในคาบถัดไป คาสาคัญ : ขาดงาน ป่วยกิจ

Editor's Notes

  1. Competencies − abilities, individual values, personality traits and other features of people that result in superior performance. Person-job fit − there are three ways to match people with jobs selecting qualified people developing employee abilities through training redesigning job to fit person's existing abilities
  2. โดยทั่วไปคนเราจะมีพฤติกรรมหลายแบบในการทำงาน แต่จะมีแบบที่เด่นชัดที่สุดเพียงหนึ่งแบบ