SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน Anorexia Nervosa
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวนัดดาวัล บุญใหญ่ เลขที่ 7
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/7 ห้อง 7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
นางสาวนัดดาวัล บุญใหญ่ เลขที่ 7
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคกลัวความอ้วน หรือ โรคคลั่งผอม
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Anorexia Nervosa
ประเภทโครงงาน โครงงานสารวจ รวบรวมข้อมูล
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวนัดดาวัล บุญใหญ่
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในสังคมปัจจุบันนี้ เราอยู่ท่ามกลางการนาเสนอสื่อสิ่งต่างๆที่เกี่ยวข้องกับความผอม มักจะมีคาพูดมากมายที่
เกี่ยวกับการลดน้าหนักหรือความผอม เช่่น "อย่าปล่อยให้ความอ้วนลอยนวล" "เสน่ห์ของคนเราอยู่ที่รูปร่างที่สวยงาม
และบุคลิกภาพที่ดี" ฯลฯ มันทาให้คนเราเริ่มรู้สึกว่าความอ้วนน่าจะไม่ใช่สิ่งที่ดี สิ่งที่สวยงามน่ามองนัก ถ้าเทียบกับ
ความผอมแล้ว เราจะเห็นได้จากสื่อโฆษณาต่างๆ แฟชั่นเสื้อผ้าต่างๆ ที่มักจะนานางแบบ นายแบบ ที่หุ่นผอมเพรียวมา
เป็นพรีเซ็นเตอร์ เพื่อเป็นสิ่งโน้วน้าวใจเรา เหมือนการกรอกข้อมูลซ้าๆภายในหัวให้คิดเช่นเดียวกันว่า ความผอมนั้น
สวยงามที่สุด ด้วยเหตุนี้เองทาให้มีผู้คนมากมายที่อยากจะลดน้าหนักให้หุ่นสวยผอมเพรียวในเวลาแค่เพียงนิดเดียว
บางคนก็หันไปพึ่งยาลดน้าหนักและเกิดอาการโยโย่ บางคนใช้วิธีอดอาหาร โหมออกกาลังกายอย่างหนัก หรือการที่กิน
อาหารเข้าไปแล้วรู้สึกผิดที่คิดเข้าไป จึงพยายามที่จะล้วงคอให้อาเจียนของที่กินไป ถ้าทาพฤติกรรมเช่นนี้นานเข้าจะ
เป็นผลเสียต่อสุขภาพหรืออาจจะถึงแก่ชีวิตได้ ถ้าจิตแพทย์ถือว่าอาการแบบนี้เป็นโรคจิตที่รักษายาก นั่นคือ โรคคลั่ง
ผอม หรือ โรคกลัวอ้วน นั่นเองทั้งหมดที่กล่าวมานี้จึงเป็นเหตุผลที่ผู้จัดทาโครงงานตัดสินใจเลือกหัวข้อนี้ เพราะไม่
เพียงแต่ผู้กระทาจะได้รับความรู้เท่านั้น แต่ผู้จัดทายังสามารถเผื่อแพร่ความรู้นี้ต่อนักเรียนและนึกศึกษาคนอื่นให้ได้
วิธีการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพแบบนี้อีกด้วยเช่นกัน
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกับโรคกลัวอ้วนหรือโรคคลั่งผอม
2. เพื่อศึกษาอาการของผู้ป่วยโรคกลัวอ้วนและโรคคลั่งผอม
3. เพื่อเป็นสื่อความรู้และข้อมูลเกี่ยวกับโรคกลัวความอ้วนและโรคคลั่งผอม
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ศึกษา ความหมาย สาเหตุ อาการ พฤติกรรม การวินิจฉัย การรักษา ภาวะแทรกซ้อน การดูแลและวิธีแก้ไข
3
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
โรคคลั่งผอม (Anorexia Nervosa) เป็นโรคที่ผู้ป่วยจะมีภาวะบกพร่องของพฤติกรรมการกินตลอดจนมี
ความผิดปกติทางจิต เนื่องจากคิดว่าตัวเองอ้วนอยู่เสมอ ทั้งๆที่รูปร่างของตนนั้นผอมอยู่แล้ว จนทาให้เกิดภาวะเครียด
และเกิดพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้องซึ่งส่วนใหญ่มักเกิดขึ้นกับกลุ่มคนที่ประกอบอาชีพที่ต้องรักษารูปร่าง
และน้าหนักตัวให้ดูดีอยู่เสมอ เช่น นางแบบ นักร้อง นักเต้น นักแสดง นักวิ่ง นักยิมนาสติก เป็นต้น
ร้อยละ 90 – 95 ของผู้ป่วยเป็นหญิงที่มีอายุอยู่ระหว่าง 13 – 30 ปี ความทุกข์ทรมานจากโรคนี้ คือ ผู้ป่วยจะมี
น้าหนักตัวลดลงอย่างรวดเร็วประมาณ ร้อยละ 15 ของน้าหนักตัวเดิมทาให้ผู้ป่วยโรคนี้มีรูปร่างที่ผอมมาก แต่
เนื่องจากคิดว่าตัวเองมีน้าหนักมากจึงไม่ยอมบริโภคอาหาร ประกอบกับการออกกาลังกายมากจนเกินไปหรือ
รับประทานยาระบายเป็นประจา ซึ่งผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นคือ ผู้ป่วยจะมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคกระดูกพรุน หรือมีแร่
ธาตุน้อยจนทาให้ร่างกายมีอุณหภูมิลดต่า การเต้นของหัวใจผิดปกติตลอดจนอาจทาให้การเจริญเติบโตของร่างกาย
ผิดปกติตามไปด้วย นอกจากนั้นส่วนใหญ่ผู้ป่วยโรคนี้จะแสดงอาการหรือพฤติกรรมแปลกๆ หลายอย่าง ได้แก่
● ปฏิเสธที่จะรับประทานอาหารในที่สาธารณะ
● มีความกังวล รู้สึกทุกข์ทุกครั้งก่อนรับประทานอาหารและรู้สึกผิดเมื่อรับประทานอาหารเข้าไปแล้ว
● เริ่มอดอาหารบางมื้อ
● มักจะไม่อยากรับประทานอาหาร รับประทานอาหารเล็กน้อย บางคนนาอาหารมาชั่งน้าหนัก
● คนกลุ่มนี้มักจะชั่งน้าหนักบ่อยๆหากพบว่าน้าหนักเริ่มจะขึ้นก็จะออกกาลังกายอย่างมาก
● อาจทาให้ตนเองอาเจียนหลังรับประทานอาหาร รับประทานยาระบาย
สาเหตุ
สาเหตุของโรค Anorexia ยังไม่ปรากฏเฉพาะเจาะจง อย่างไรก็ตาม โรคนี้อาจเกิดจากปัจจัยต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
ร่วมกัน ได้แก่ ยีนหรือพันธุกรรม สภาวะจิตใจ และสภาพแวดล้อม ดังนี้
 ยีนหรือพันธุกรรม ข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับยีน การทางานในสมอง หรือระดับฮอร์โมนที่เปลี่ยนแปลงไปนั้น
นับเป็นข้อสันนิษฐานว่าอาจเป็นสาเหตุของโรค Anorexia โดยการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวอาจกระทบสมอง
ส่วนใดส่วนหนึ่งที่ทาหน้าที่ควบคุมน้าย่อย หรืออาจกระตุ้นให้ผู้ป่วยรู้สึกกังวลและรู้สึกผิดเมื่อรับประทาน
อาหารหลังอดอาหารหรือหักโหมออกกาลังกาย ทั้งนี้ ผู้ที่มีบุคคลในครอบครัวป่วยเป็นโรคผิดปกติเกี่ยวกับ
การกิน โรคซึมเศร้า หรือใช้สารเสพติด ก็เสี่ยงเป็น Anorexia ได้ เนื่องจากอาการป่วยหรือการใช้สารเสพติด
ของบุคคลในครอบครัวต่างส่งผลต่อยีนอันนาไปสู่โรคนี้
 สภาวะจิตใจ สภาวะอารมณ์หรือจิตใจบางอย่างอาจส่งผลให้ป่วยเป็น Anorexia ได้ โดยผู้ที่ประสบสภาวะ
อารมณ์หรือจิตใจต่อไปนี้อาจเสี่ยงป่วยเป็นโรคนี้
- มีแนวโน้มเป็นโรคซึมเศร้าและวิตกกังวล
- จัดการความเครียดได้ไม่ดี
- กังวล กลัว และคิดมากเกี่ยวกับอนาคตมากเกินไป
- เสพติดความสมบูรณ์แบบ หรือตั้งมาตรฐานและเป้าหมายในชีวิตออย่างเคร่งครัด
- ตึงเครียดเกินไป
- มีพฤติกรรมย้าคิดย้าทา
4
 สภาพแวดล้อม การเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์อาจเป็นปัจจัยที่นาไปสู่การป่วยโรคนี้ได้ เนื่องจากฮอร์โมนเปลี่ยนแปลง
อารมณ์แปรปรวน และเกิดความเครียดกังวลต่าง ๆ อันเกี่ยวเนื่องกับพฤติกรรมของโรค Anorexia หรือการ
รับเอาวัฒนธรรมและค่านิยมความผอมที่เผยแพร่ตามสื่อต่าง ๆ ทั้งนี้ ยังปรากฏปัจจัยจากสภาพแวดล้อมอื่น
ๆ ที่ทาให้เสี่ยงเป็นโรคคลั่งผอม ดังนี้
- แรงกดดันจากเพื่อนที่นิยมรูปร่างผอม โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่นหญิง หรือถูกกลั่นแกล้งล้อเลียนเรื่อง
รูปร่างและน้าหนัก
- อาชีพหรืองานอดิเรกบางอย่างที่ได้รับความชื่นชม โดยกิจกรรมเหล่านั้นมาพร้อมภาพลักษณ์ของผู้ที่มี
รูปร่างผอม เช่น นักเต้น นางแบบ หรือนักกีฬาบางประเภท
- เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความเครียด
- เผชิญกับปัญหาความสัมพันธ์ในครอบครัว
- ถูกทาร้ายร่างกายหรือทารุณกรรมทางเพศ
อาการ
 ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะเป็นนักเรียน หรือนักศึกษาสาวที่ขยันเรียน มีความรับผิดชอบสูง ผลการเรียนดี เป็นคน
ค่อนข้าง "สมบูรณ์แบบ" บิดามารดามักประสบความสาเร็จในหน้าที่การงานสูง ผู้ป่วยมักไม่ชอบงานสังคม
สังสรรค์นัก
 ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีน้าหนักตัวต่ากว่ามาตรฐานราว 15% เช่น ควรหนัก 60 กิโลกรัม ก็หนักเพียง 50 กก.
หรือควรหนัก 50 กก. ก็เหลือแค่ 42 กก. หรือน้อยกว่าเป็นต้น โรคนี้ถือเป็นความผิดปกติทางจิตใจชนิดหนึ่ง
โดยมีความเชื่อผิดเกี่ยวกับน้าหนักและรูปร่างตัวเอง บางคนยังเชื่อว่า น้าหนักมากเกินไปทั้งๆ ที่ความจริงอยู่
ในขั้นผอมแห้ง บางคนเชื่อว่าอวัยวะบางส่วนของตัวอ้วนไป ความคิดเต็มไปด้วยเรื่องเกี่ยวกับอาหาร น้าหนัก
ตัว และการควบคุมอาหาร ในที่สุดเมื่อสนใจแต่เรื่องพวกนี้ ก็จะไม่มีเวลาสนใจเรื่องอื่น ทาให้การเรียน การ
ทางาน และมนุษยสัมพันธ์แย่ลง
 ผู้ป่วยจะกลัวมากๆ เกี่ยวกับการที่น้าหนักเพิ่มขึ้น และที่แปลกคือ เมื่อยิ่งผอม น้าหนักลด กลับยิ่งกลัวมากขึ้น
ไปอีก ความกลัวน้าหนักเพิ่มนั้น มากเสียยิ่งกว่ากลัวตายจากการปฏิเสธอาหาร แทนที่จะรู้สึกผ่อนคลายหรือ
เบาใจ เมื่อน้าหนักลดลงได้เขากลับกลัวมากขึ้นไปอีก
 จะพบอาการไม่มีประจาเดือนได้บ่อยในผู้ป่วยโรคนี้ สาเหตุเกิดจากความเครียดอย่างรุนแรงจากการอดอาหาร
ทาให้ฮอร์โมนของสมองที่ควบคุมการมีประจาเดือนลดลง การอดอาหารยังไปกดการหลั่งของฮอร์โมนเพศ ทา
ให้ขาดความสนใจทางเพศ การพัฒนาทางเพศจะล่าช้าในผู้ป่วยพวกนี้ สาเหตุอาจมาจากหลายปัจจัย เช่น
ผู้ป่วยมักแยกตัวจากสังคม เพราะขาดความเชื่อมั่น นับถือตัวเองและกลัวว่าเมื่อเข้าสังคมแล้วจะดาเนินชีวิต
อย่างที่ทาอยู่ไม่ได้
 ผู้ป่วยมักมีความประพฤติแบบย้าคิด-ย้าทา ร่วมด้วย ชีวิตประจาวันเต็มไปด้วยพิธีรีตอง ส่วนตัวอาจนับเมล็ด
ข้าวที่รับประทาน คานวณพลังงานที่ได้จากอาหาร ชั่งน้าหนัก วัดสัดส่วนของร่างกาย ผู้ป่วยโรคนี้จะปฏิเสธ
ความเจ็บป่วยของตัวเองไม่ยอมรับว่าป่วย ทาให้รักษาลาบาก คิดว่าความคิดตนเองถูกต้อง ส่วนคนอื่น
ต่างหากที่เพี้ยนไป
พฤติกรรมของผู้ป่วย มีได้ 2 แบบ
1. แบบจากัด (Restricting Type) หมายถึงจะรับประทานอาหารน้อย และหลีกเลี่ยงอาหารที่มีพลังงานสูง พวก
นี้มักจะออกกาลังกายมาก และหนัก ในช่วงที่มีอาการ ไม่ได้มีการรับประทานครั้งละมากๆ หรือมีการขับ
อาหารจากร่างกาย เช่น ทาให้ตนเองอาเจียน หรือใช้ยาระบาย ยาขับปัสสาวะ หรือยาสวนถ่ายอย่างพร่า
เพรื่อ หรือเป็นประจา
5
2. แบบกินมาก/ออกมาก (Binge-Eating/Purging Type) หมายถึงเมื่อรับประทานอาหารแล้วใช้วิธีทาให้ตัวเอง
อาเจียน ใช้ยาถ่าย ยาขับปัสสาวะ หรือสวนอุจจาระ ในช่วงที่มีอาการ จะมีการรับประทานครั้งละมากๆ หรือ
มีการขับอาหารจากร่างกาย เช่น ทาให้ตนเองอาเจียน หรือใช้ยาระบาย ยาขับปัสสาวะ หรือยาสวนถ่าย
การวินิจฉัย
แพทย์จะวินิจฉัยว่าผู้ป่วยเข้าข่ายป่วยเป็นโรค Anorexia หรือไม่ โดยเบื้องต้นจะซักถามคาถามทั่วไปเกี่ยวกับ
น้าหนักตัวและพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช่น น้าหนักตัวที่ลดลงในช่วงที่ผ่านมา ความรู้สึกหรือความกังวล
เกี่ยวกับน้าหนักตัว พฤติกรรมล้วงคออาเจียน ปัญหาประจาเดือนไม่มาหรือปัญหาเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร
ผู้ป่วยต้องตอบคาถามเหล่านี้ตามความจริง เพื่อให้ประมวลผลออกมาได้อย่างแม่นยา ทั้งนี้ แพทย์อาจตรวจด้านอื่น ๆ
สาหรับประกอบการวินิจฉัย ดังนี้
 ตรวจร่างกาย แพทย์จะวัดน้าหนักและส่วนสูงผู้ป่วย โดยผู้ป่วย Anorexia จะมีน้าหนักที่ต่ากว่ามาตรฐาน ซึ่ง
คิดเป็นร้อยละอย่างน้อย 15 รวมทั้งวัดดัชนีมวลกาย (Body Mass Index: BMI) โดยทั่วไปแล้ว ผู้ใหญ่จะมีค่า
ดัชนีมวลกายในเกณฑ์สุขภาพดีอยู่ที่ 18.5-24.9 หากป่วยเป็นโรคดังกล่าวมักจะมีค่าดัชนีมวลกายต่ากว่า
17.5 นอกจากนี้ แพทย์จะตรวจร่างกายด้านอื่น เช่น อัตราการเต้นของหัวใจ ความดันโลหิตและอุณหภูมิ
ร่างกาย ปัญหาสุขภาพเล็บและผม ฟังหัวใจและปอด และตรวจท้อง
 ตรวจทางห้องปฏิบัติการ แพทย์จะทาการตรวจเลือดเพิ่มเติม ได้แก่ ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
(Complete Blood Count: CBC) ตรวจอิเล็กโทรไลต์ (Electrolites) และโปรตีนในเลือด ตรวจการทางาน
ของตับ ไต และต่อมไทรอยด์ รวมทั้งตรวจปัสสาวะ
 วัดผลทางจิตวิทยา แพทย์จะพูดคุยซักถามเกี่ยวกับอารมณ์ ความรู้สึก และพฤติกรรมการกินของผู้ป่วย ทั้งนี้
ผู้ป่วยอาจต้องทาแบบประเมินตนเองทางจิตวิทยาเพื่อวัดผลด้วย
 ตรวจวิธีอื่น แพทย์จะเอกซเรย์ผู้ป่วยเพื่อตรวจความหนาแน่นมวลกระดูก การแตกหรือเปราะของกระดูก
และตรวจหาโรคปอดบวมหรือปัญหาสุขภาพหัวใจ ทั้งนี้ ผู้ป่วยอาจต้องเข้ารับการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
(ECG) เพื่อดูว่าหัวใจผิดปกติหรือไม่ การตรวจทั้งหมดนี้จะช่วยให้แพทย์สามารถประมวลผลว่าร่างกายผู้ป่วย
ใช้พลังงานไปเท่าไหร่ ซึ่งช่วยให้วางแผนการบริโภคสารอาหารให้เพียงพอกับความต้องการของผู้ป่วย
การวินิจฉัยโรคทางจิตเวช (Diagnotis and Statistical Manual of Mental Disorders: DSM-5) กาหนดเกณฑ์ที่
ระบุลักษณะของผู้ป่วย Anorexia ไว้ ดังนี้
 จากัดการรับประทานอาหาร ผู้ป่วย Anorexia จะรับประทานอาหารน้อยกว่าความต้องการของร่างกาย เพื่อ
รักษาน้าหนักตัวให้น้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐานตามอายุและส่วนสูงของตัวเอง
 กลัวน้าหนักขึ้น กลัวและกังวลว่าน้าหนักตัวจะขึ้นหรือมีรูปร่างอ้วนเป็นอย่างมาก อีกทั้งพยายามลดน้าหนัก
อยู่เสมอทั้งที่น้าหนักตัวน้อยเกินไป เช่น ล้วงคออาเจียน หรือใช้ยาระบาย
 มีปัญหากับรูปร่างตนเอง ผู้ป่วยไม่รู้สึกกังวลที่มีน้าหนักตัวต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน โดยให้คุณค่าตัวเองผูกติด
อยู่กับน้าหนัก รวมทั้งรับรู้ภาพลักษณ์หรือรูปร่างของตนเองที่บิดเบือนไปจากความเป็นจริง
6
การรักษาโรค
1.จิตบาบัด ผู้ป่วยโรค Anorexia จะได้รับการรักษาด้วยวิธีจิตบาบัดต่าง ๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงของอาการ
โดยวิธีนี้มักใช้เวลารักษาอย่างน้อย 6-12 เดือน หรือมากกว่านั้น
วิธีจิตบาบัดที่ใช้รักษา Anorexia มีดังนี้
1.1.Cognitive Analytic Therapy (CAT) วิธีนี้ตั้งอยู่บนฐานแนวคิดที่ว่าปัญหาสุขภาพจิตที่เกิดขึ้นเกิดจากรูปแบบ
พฤติกรรมหรือความคิดที่ไม่ส่งผลดีต่อสุขภาพ อันเป็นผลมาจากวัยเด็กหรือในอดีต ขั้นตอนการรักษามี 3 ขั้นตอน
ได้แก่
- พิจารณาเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้น ซึ่งอาจอธิบายสาเหตุที่ทาให้เกิดรูปแบบพฤติกรรมหรือความคิดที่ส่งผลเสียต่อ
สุขภาพ (Reformation)
- ทาให้เห็นว่ารูปแบบพฤติกรรมและความคิดดังกล่าวนาไปสู่โรค Anorexia ได้อย่างไร (Recognition)
- ระบุความเปลี่ยนแปลงที่สามารถทาให้เลิกรูปแบบพฤติกรรมและความคิดที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพได้ (Revision)
1.2.ความคิดเและพฤติกรรมบาบัด (Cognitive Behavioural Therapy: CBT)
วิธีนี้ตั้งบนฐานแนวคิดที่ว่าทัศนคติของผู้ป่วยที่มีต่อเหตุการณ์ต่าง ๆ ส่งผลต่อพฤติกรรมที่แสดงออกมา นัก
บาบัดจะทาให้ผู้ป่วยเห็นว่าภาวะที่เกิดขึ้นนั้นเกิดจากความคิดที่ผิดเพี้ยนเกี่ยวกับอาหารและการรับประทานอาหาร
โดยนักบาบัดจะปรับความคิดเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยมีความคิดในการรับประทานไปในทางที่เป็นจริงและส่งผลดีต่อสุขภาพ
อันนาไปสู่การปรับพฤติกรรมต่อไป
1.3.จิตบาบัดสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal Therapy: IPT)
วิธีนี้ตั้งอยู่บนฐานแนวคิดที่ว่าความสัมพันธ์ต่อผู้คนรอบข้างและสิ่งแวดล้อมภายนอกมีอิทธิพลต่อสุขภาพจิต
นักบาบัดจะพิจารณาความสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้างของผู้ป่วยที่ส่งผลหรือเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและความคิดแง่ลบ
รวมทั้งดูว่าจะแก้ไขพฤติกรรมและความคิดดังกล่าวได้อย่างไร
1.4.Focal Psychodynamic Therapy: FPT
วิธีนี้ตั้งอยู่บนฐานแนวคิดที่ว่าภาวะทางจิตที่เกิดขึ้นอาจเกี่ยวเนื่องกับปมขัดแย้งที่เกิดขึ้นในวัยเด็กหรือในอดีต
โดยผู้ป่วยไม่สามารถแก้ไขปมขัดแย้งนั้นได้ นักบาบัดจะกระตุ้นให้ผู้ป่วยนึกถึงปมขัดแย้งที่ส่งผลต่อตัวเอง เพื่อช่วยให้
หาวิธีรับมือกับพฤติกรรม ความคิด และความรู้สึก เมื่อต้องเผชิญสถานการณ์ที่ทาให้เครียด
2.การบาบัดครอบครัว (Family Interventions) ครอบครัวนับว่ามีบทบาทสาคัญ
ในการรักษาในกรณีที่ผู้ป่วย Anorexia เป็นเด็กหรือมีอายุน้อย เนื่องจากปัญหาสุขภาพจิตนี้ส่งผลต่อบุคคลใน
ครอบครัวทุกคน การบาบัดครอบครัวจะมุ่งเน้นไปที่ผลกระทบโรคที่ส่งผลต่อครอบครัว ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจลักษณะ
ของโรคและวิธีที่บุคคลในครอบครัวจะช่วยเหลือผู้ป่วยด้วย
3.วิธีเพิ่มน้าหนัก แผนการรักษาโรคนี้จะครอบคลุมคาแนะนาในการรับประทานอาหารเพื่อเพิ่มน้าหนักตัวอย่าง
ปลอดภัย โดยแพทย์จะให้ผู้ป่วยเริ่มรับประทานอาหารในปริมาณน้อย และค่อย ๆ เพิ่มปริมาณอาหารอย่างช้า ๆ เมื่อ
ร่างกายปรับตัวได้แล้ว เนื่องจากการเพิ่มปริมาณอาหารเร็วเกินไปสามารถเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ โดยมีเป้าหมายให้
น้าหนักตัวเพิ่มขึ้นสัปดาห์ละ 0.5 กิโลกรัม ผู้ป่วยเด็กหรือวัยรุ่นจะได้รับการตรวจอย่างสม่าเสมอ เพื่อติดตาม
ผลการรักษาให้เป็นไปตามเป้าหมาย การเพิ่มน้าหนักตัวจะช่วยให้ผู้ป่วยกลับมารับประทานอาหารครบ 3 มื้อเป็นปกติ
7
4.ยารักษา โรค Anorexia ไม่สามารถรักษาได้ด้วยยาเพียงอย่างเดียว แพทย์มักใช้รักษาควบคู่กับวิธีบาบัด โดยใช้ยา
เพื่อรักษาภาวะทางจิตอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นร่วมด้วย เช่น โรคย้าคิดย้าทา หรือโรคซึมเศร้า
ยาที่ใช้รักษาผู้ป่วย Anorexia ได้แก่
ยากลุ่มเอสเอสอาร์ไอ และยาโอแลนซาปีน ดังนี้
4.1ยากลุ่มเอสเอสอาร์ไอ (Selective Serotonin Ruptake Inhibitors: SSRIs)
ยานี้จัดเป็นยารักษาอาการซึมเศร้าชนิดหนึ่ง มักใช้รักษาผู้ที่ประสบปัญหาเกี่ยวกับภาวะทางจิต เช่น โรค
ซึมเศร้า หรือวิตกกังวล อย่างไรก็ตาม แพทย์จะจ่ายยากลุ่มเอสเอสอาร์ไอให้ผู้ป่วยในกรณีที่น้าหนักตัวผู้ป่วยเริ่ม
เพิ่มขึ้นแล้ว เนื่องจากการใช้ยาดังกล่าวขณะที่ผู้ป่วยมีน้าหนักตัวน้อยมากเกินไปเสี่ยงได้รับผลข้างเคียงสูง ทั้งนี้ ผู้ที่
อายุต่ากว่า 18 ปี ควรใช้ยากลุ่มเอสเอสอาร์ไออย่างระมัดระวัง
4.2ยาโอแลนซาปีน (Olanzapine) ผู้ป่วย Anorexia ที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยวิธีอื่น จะได้รับยานี้เพื่อลด
อาการกังวลเกี่ยวกับน้าหนักตัวและการทานอาหาร
5.การแพทย์ทางเลือก วิธีนี้ไม่ใช่วิธีรักษาตามหลักแพทย์แผนปัจจุบัน ยังไม่ปรากฏงานวิจัยเกี่ยวกับการรักษาโรค
Anorexia ด้วยการแพทย์ทางเลือก อย่างไรก็ดี วิธีนี้อาจช่วยลดอาการวิตกกังวลลงได้ โดยทาให้ผู้ป่วยรู้สึกดีและผ่อน
คลายมากขึ้น การแพทย์ทางเลือกที่ใช้รักษาอาการวิตกกังวล
ได้แก่ การฝังเข็ม การนวด โยคะ และการนั่งสมาธิ ผู้ที่ต้องการรักษาด้วยวิธีดังกล่าว
ควรปรึกษาแพทย์ก่อน เพื่อให้ทราบและเข้าใจเกี่ยวกับประโยชน์และความเสี่ยงจากการรักษาด้วยการแพทย์ทางเลือก
วิธีต่าง ๆ
ภาวะแทรกซ้อน
ผู้ป่วยโรค Anorexia ที่ไม่ได้รับการรักษาเสี่ยงเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้หลายประการ ซึ่งอาจเกิด
ภาวะแทรกซ้อนอย่างรุนแรงหรืออันตรายถึงขั้นเสียชีวิต ทั้งนี้ ผู้ป่วยที่ไม่ได้มีน้าหนักตัวต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานมากนัก
ก็อาจเสียชีวิตกะทันหันได้ เนื่องจากเกิดหัวใจเต้นผิดจังหวะและระดับอิเล็กโทรไลต์ไม่สมดุล ภาวะแทรกซ้อนที่เกิด
จากโรค Anorexia แบ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่เกิดกับสุขภาพกาย และภาวะแทรกซ้อนที่เกิดกับสุขภาพจิต ดังนี้
1. ภาวะแทรกซ้อนจากสุขภาพกาย
 โลหิตจาง
 เกิดโรคเกี่ยวกับสุขภาพหัวใจ เช่น ลิ้นหัวใจยาว หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจเต้นช้าผิดปกติ หรือหัวใจวาย
 มีปัญหาเกี่ยวกับสมองและระบบประสาท เช่น เกิดอาการชัก สมาธิสั้น หรือความจาไม่ดี
 มีปัญหาเกี่ยวกับกล้ามเนื้อและกระดูก เช่น กระดูกอ่อนแอหรือกระดูกพรุน สูญเสียมวลกระดูก ส่งผลให้เสี่ยง
กระดูกหักได้ในอนาคต รวมทั้งมีปัญหาเกี่ยวกับพัฒนาการทางร่างกายสาหรับผู้ป่วยเด็กและวัยรุ่น
 ประสบปัญหาสุขภาพทางเพศ ได้แก่ มีลูกยากและประจาเดือนไม่มาสาหรับผู้หญิง หรือฮอร์โมนเทสโทสเทอ
โรนลดลงและหย่อนสมรรถภาพทางเพศสาหรับผู้ชาย
 มีปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร เช่น ท้องผูก ท้องอืด หรือคลื่นไส้
 อิเล็กโทรไลต์ผิดปกติ เช่น โพแทสเซียม โซเดียม หรือคลอไรด์ในเลือดต่า
 มีปัญหาเกี่ยวกับไต
 พยายามฆ่าตัวตาย
8
 เกิดโรคเกี่ยวกับการกินผิดปกติอย่างอื่นร่วมด้วย เช่น บูลิเมีย (Bulimia Nervosa) โดยผู้ป่วยจะทาให้ตัวเอง
ป่วย หรือใช้ยาระบายเพื่อขับอาหารออกจากร่างกาย
2. ภาวะแทรกซ้อนจากสุขภาพจิต
 ประสบภาวะซึมเศร้า วิตกกังวล หรือโรคอารมณ์แปรปรวน
 ประสบภาวะบุคลิกภาพแปรปรวน (Personality Disorders)
 ป่วยเป็นโรคย้าคิดย้าทา (Obsessive-Compulsive Disorders)
 ใช้แอลกอฮอล์หรือสารเสพติดอื่น ๆ
นอกจากนี้ ผู้ป่วย Anorexia ที่ตั้งครรภ์ สามารถประสบภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ขึ้นมา ได้แก่ แท้งบุตร คลอดก่อน
กาหนด ทารกมีน้าหนักตัวต่า และอาจต้องเข้ารับการผ่าคลอด
การดูแลและวิธีแก้ไข
 เสริมให้วัยรุ่นมีความเชื่อมั่นในตนเอง
 เสริมพลังอานาจในตนเองให้รู้สึกว่าสามารถควบคุมเหตุการณ์ต่างๆ ได้
 เรียนรู้ที่จะเคารพตนเอง เชื่อว่าตนเองเป็นอิสระ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับพ่อแม่ ครอบครัวหรือ สังคมเท่านั้น
 รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และครบ 5 หมู่
 ส่งเสริมทักษะในการใช้ชีวิตในสังคมร่วมกับผู้อื่น
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. กาหนดหัวข้อที่ต้องการศึกษา
2. ศึกษารวบรวมข้อมูล
3. จัดทาโครงร่างโครงงาน
4. จัดทาโครงงานเพื่อนาเสนอ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์
2. โทรศัพท์มือถือ
3. อินเทอร์เน็ต
4. โปรแกรม photoshop
งบประมาณ
-
9
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคกลัวความอ้วนหรือโรคคลั่งผอม
2. สามารถเข้าใจเกี่ยวกับอาการของผู้ป่วยที่อาจพบเจอในชีวิตประจาวันได้
3. ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับโรคกลัวความอ้วนหรือโรคคลั่งผอมได้รับความรู้ ความเข้าใจมากขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ตั้งอยู่เลขที่ 238 ถนนพระปกเกล้า ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
รหัสไปรษณีย์ 50200
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา
2. กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
● โรคกลัวอ้วน (Anorexia Nervosa) โดย BangkokHealth.com
แหล่งที่มา:http://www.bangkokhealth.com/health/article/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8
%84%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%AD%E0%B9%89%E0%B8
%A7%E0%B8%99-Anorexia-Nervosa-1270
● โรค ANOREXIA NERVOSA โดย นางสาวยุวศรี ต่ายคา
แหล่งที่มา: http://biology.ipst.ac.th/?p=921
● ความหมาย Anorexia (อะนอเร็กเซีย) โดย POBPAD
แหล่งที่มา: https://www.pobpad.com/anorexia-
%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87
%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2

More Related Content

Similar to Anorexia

แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
tassanee chaicharoen
 

Similar to Anorexia (20)

2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)
 
Punisa
PunisaPunisa
Punisa
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
2562 final-project -warun
2562 final-project -warun2562 final-project -warun
2562 final-project -warun
 
2562 final-project -2 (1)
2562 final-project -2 (1)2562 final-project -2 (1)
2562 final-project -2 (1)
 
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานแบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
 
Exercise in-teens
Exercise in-teensExercise in-teens
Exercise in-teens
 
2562 final-project 12-matave
2562 final-project 12-matave2562 final-project 12-matave
2562 final-project 12-matave
 
Project com
Project comProject com
Project com
 
Final1
Final1Final1
Final1
 
Work1.1
Work1.1Work1.1
Work1.1
 
การงาน.Doc
การงาน.Docการงาน.Doc
การงาน.Doc
 
Hyper36
Hyper36Hyper36
Hyper36
 
งาน
งานงาน
งาน
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
W.111
W.111W.111
W.111
 

More from Natdawan Boonyai (8)

Achi
AchiAchi
Achi
 
24
2424
24
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
2 2
2
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Lk
LkLk
Lk
 

Anorexia

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน Anorexia Nervosa ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวนัดดาวัล บุญใหญ่ เลขที่ 7 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/7 ห้อง 7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ นางสาวนัดดาวัล บุญใหญ่ เลขที่ 7 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคกลัวความอ้วน หรือ โรคคลั่งผอม ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Anorexia Nervosa ประเภทโครงงาน โครงงานสารวจ รวบรวมข้อมูล ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวนัดดาวัล บุญใหญ่ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในสังคมปัจจุบันนี้ เราอยู่ท่ามกลางการนาเสนอสื่อสิ่งต่างๆที่เกี่ยวข้องกับความผอม มักจะมีคาพูดมากมายที่ เกี่ยวกับการลดน้าหนักหรือความผอม เช่่น "อย่าปล่อยให้ความอ้วนลอยนวล" "เสน่ห์ของคนเราอยู่ที่รูปร่างที่สวยงาม และบุคลิกภาพที่ดี" ฯลฯ มันทาให้คนเราเริ่มรู้สึกว่าความอ้วนน่าจะไม่ใช่สิ่งที่ดี สิ่งที่สวยงามน่ามองนัก ถ้าเทียบกับ ความผอมแล้ว เราจะเห็นได้จากสื่อโฆษณาต่างๆ แฟชั่นเสื้อผ้าต่างๆ ที่มักจะนานางแบบ นายแบบ ที่หุ่นผอมเพรียวมา เป็นพรีเซ็นเตอร์ เพื่อเป็นสิ่งโน้วน้าวใจเรา เหมือนการกรอกข้อมูลซ้าๆภายในหัวให้คิดเช่นเดียวกันว่า ความผอมนั้น สวยงามที่สุด ด้วยเหตุนี้เองทาให้มีผู้คนมากมายที่อยากจะลดน้าหนักให้หุ่นสวยผอมเพรียวในเวลาแค่เพียงนิดเดียว บางคนก็หันไปพึ่งยาลดน้าหนักและเกิดอาการโยโย่ บางคนใช้วิธีอดอาหาร โหมออกกาลังกายอย่างหนัก หรือการที่กิน อาหารเข้าไปแล้วรู้สึกผิดที่คิดเข้าไป จึงพยายามที่จะล้วงคอให้อาเจียนของที่กินไป ถ้าทาพฤติกรรมเช่นนี้นานเข้าจะ เป็นผลเสียต่อสุขภาพหรืออาจจะถึงแก่ชีวิตได้ ถ้าจิตแพทย์ถือว่าอาการแบบนี้เป็นโรคจิตที่รักษายาก นั่นคือ โรคคลั่ง ผอม หรือ โรคกลัวอ้วน นั่นเองทั้งหมดที่กล่าวมานี้จึงเป็นเหตุผลที่ผู้จัดทาโครงงานตัดสินใจเลือกหัวข้อนี้ เพราะไม่ เพียงแต่ผู้กระทาจะได้รับความรู้เท่านั้น แต่ผู้จัดทายังสามารถเผื่อแพร่ความรู้นี้ต่อนักเรียนและนึกศึกษาคนอื่นให้ได้ วิธีการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพแบบนี้อีกด้วยเช่นกัน วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกับโรคกลัวอ้วนหรือโรคคลั่งผอม 2. เพื่อศึกษาอาการของผู้ป่วยโรคกลัวอ้วนและโรคคลั่งผอม 3. เพื่อเป็นสื่อความรู้และข้อมูลเกี่ยวกับโรคกลัวความอ้วนและโรคคลั่งผอม ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษา ความหมาย สาเหตุ อาการ พฤติกรรม การวินิจฉัย การรักษา ภาวะแทรกซ้อน การดูแลและวิธีแก้ไข
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) โรคคลั่งผอม (Anorexia Nervosa) เป็นโรคที่ผู้ป่วยจะมีภาวะบกพร่องของพฤติกรรมการกินตลอดจนมี ความผิดปกติทางจิต เนื่องจากคิดว่าตัวเองอ้วนอยู่เสมอ ทั้งๆที่รูปร่างของตนนั้นผอมอยู่แล้ว จนทาให้เกิดภาวะเครียด และเกิดพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้องซึ่งส่วนใหญ่มักเกิดขึ้นกับกลุ่มคนที่ประกอบอาชีพที่ต้องรักษารูปร่าง และน้าหนักตัวให้ดูดีอยู่เสมอ เช่น นางแบบ นักร้อง นักเต้น นักแสดง นักวิ่ง นักยิมนาสติก เป็นต้น ร้อยละ 90 – 95 ของผู้ป่วยเป็นหญิงที่มีอายุอยู่ระหว่าง 13 – 30 ปี ความทุกข์ทรมานจากโรคนี้ คือ ผู้ป่วยจะมี น้าหนักตัวลดลงอย่างรวดเร็วประมาณ ร้อยละ 15 ของน้าหนักตัวเดิมทาให้ผู้ป่วยโรคนี้มีรูปร่างที่ผอมมาก แต่ เนื่องจากคิดว่าตัวเองมีน้าหนักมากจึงไม่ยอมบริโภคอาหาร ประกอบกับการออกกาลังกายมากจนเกินไปหรือ รับประทานยาระบายเป็นประจา ซึ่งผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นคือ ผู้ป่วยจะมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคกระดูกพรุน หรือมีแร่ ธาตุน้อยจนทาให้ร่างกายมีอุณหภูมิลดต่า การเต้นของหัวใจผิดปกติตลอดจนอาจทาให้การเจริญเติบโตของร่างกาย ผิดปกติตามไปด้วย นอกจากนั้นส่วนใหญ่ผู้ป่วยโรคนี้จะแสดงอาการหรือพฤติกรรมแปลกๆ หลายอย่าง ได้แก่ ● ปฏิเสธที่จะรับประทานอาหารในที่สาธารณะ ● มีความกังวล รู้สึกทุกข์ทุกครั้งก่อนรับประทานอาหารและรู้สึกผิดเมื่อรับประทานอาหารเข้าไปแล้ว ● เริ่มอดอาหารบางมื้อ ● มักจะไม่อยากรับประทานอาหาร รับประทานอาหารเล็กน้อย บางคนนาอาหารมาชั่งน้าหนัก ● คนกลุ่มนี้มักจะชั่งน้าหนักบ่อยๆหากพบว่าน้าหนักเริ่มจะขึ้นก็จะออกกาลังกายอย่างมาก ● อาจทาให้ตนเองอาเจียนหลังรับประทานอาหาร รับประทานยาระบาย สาเหตุ สาเหตุของโรค Anorexia ยังไม่ปรากฏเฉพาะเจาะจง อย่างไรก็ตาม โรคนี้อาจเกิดจากปัจจัยต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ร่วมกัน ได้แก่ ยีนหรือพันธุกรรม สภาวะจิตใจ และสภาพแวดล้อม ดังนี้  ยีนหรือพันธุกรรม ข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับยีน การทางานในสมอง หรือระดับฮอร์โมนที่เปลี่ยนแปลงไปนั้น นับเป็นข้อสันนิษฐานว่าอาจเป็นสาเหตุของโรค Anorexia โดยการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวอาจกระทบสมอง ส่วนใดส่วนหนึ่งที่ทาหน้าที่ควบคุมน้าย่อย หรืออาจกระตุ้นให้ผู้ป่วยรู้สึกกังวลและรู้สึกผิดเมื่อรับประทาน อาหารหลังอดอาหารหรือหักโหมออกกาลังกาย ทั้งนี้ ผู้ที่มีบุคคลในครอบครัวป่วยเป็นโรคผิดปกติเกี่ยวกับ การกิน โรคซึมเศร้า หรือใช้สารเสพติด ก็เสี่ยงเป็น Anorexia ได้ เนื่องจากอาการป่วยหรือการใช้สารเสพติด ของบุคคลในครอบครัวต่างส่งผลต่อยีนอันนาไปสู่โรคนี้  สภาวะจิตใจ สภาวะอารมณ์หรือจิตใจบางอย่างอาจส่งผลให้ป่วยเป็น Anorexia ได้ โดยผู้ที่ประสบสภาวะ อารมณ์หรือจิตใจต่อไปนี้อาจเสี่ยงป่วยเป็นโรคนี้ - มีแนวโน้มเป็นโรคซึมเศร้าและวิตกกังวล - จัดการความเครียดได้ไม่ดี - กังวล กลัว และคิดมากเกี่ยวกับอนาคตมากเกินไป - เสพติดความสมบูรณ์แบบ หรือตั้งมาตรฐานและเป้าหมายในชีวิตออย่างเคร่งครัด - ตึงเครียดเกินไป - มีพฤติกรรมย้าคิดย้าทา
  • 4. 4  สภาพแวดล้อม การเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์อาจเป็นปัจจัยที่นาไปสู่การป่วยโรคนี้ได้ เนื่องจากฮอร์โมนเปลี่ยนแปลง อารมณ์แปรปรวน และเกิดความเครียดกังวลต่าง ๆ อันเกี่ยวเนื่องกับพฤติกรรมของโรค Anorexia หรือการ รับเอาวัฒนธรรมและค่านิยมความผอมที่เผยแพร่ตามสื่อต่าง ๆ ทั้งนี้ ยังปรากฏปัจจัยจากสภาพแวดล้อมอื่น ๆ ที่ทาให้เสี่ยงเป็นโรคคลั่งผอม ดังนี้ - แรงกดดันจากเพื่อนที่นิยมรูปร่างผอม โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่นหญิง หรือถูกกลั่นแกล้งล้อเลียนเรื่อง รูปร่างและน้าหนัก - อาชีพหรืองานอดิเรกบางอย่างที่ได้รับความชื่นชม โดยกิจกรรมเหล่านั้นมาพร้อมภาพลักษณ์ของผู้ที่มี รูปร่างผอม เช่น นักเต้น นางแบบ หรือนักกีฬาบางประเภท - เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความเครียด - เผชิญกับปัญหาความสัมพันธ์ในครอบครัว - ถูกทาร้ายร่างกายหรือทารุณกรรมทางเพศ อาการ  ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะเป็นนักเรียน หรือนักศึกษาสาวที่ขยันเรียน มีความรับผิดชอบสูง ผลการเรียนดี เป็นคน ค่อนข้าง "สมบูรณ์แบบ" บิดามารดามักประสบความสาเร็จในหน้าที่การงานสูง ผู้ป่วยมักไม่ชอบงานสังคม สังสรรค์นัก  ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีน้าหนักตัวต่ากว่ามาตรฐานราว 15% เช่น ควรหนัก 60 กิโลกรัม ก็หนักเพียง 50 กก. หรือควรหนัก 50 กก. ก็เหลือแค่ 42 กก. หรือน้อยกว่าเป็นต้น โรคนี้ถือเป็นความผิดปกติทางจิตใจชนิดหนึ่ง โดยมีความเชื่อผิดเกี่ยวกับน้าหนักและรูปร่างตัวเอง บางคนยังเชื่อว่า น้าหนักมากเกินไปทั้งๆ ที่ความจริงอยู่ ในขั้นผอมแห้ง บางคนเชื่อว่าอวัยวะบางส่วนของตัวอ้วนไป ความคิดเต็มไปด้วยเรื่องเกี่ยวกับอาหาร น้าหนัก ตัว และการควบคุมอาหาร ในที่สุดเมื่อสนใจแต่เรื่องพวกนี้ ก็จะไม่มีเวลาสนใจเรื่องอื่น ทาให้การเรียน การ ทางาน และมนุษยสัมพันธ์แย่ลง  ผู้ป่วยจะกลัวมากๆ เกี่ยวกับการที่น้าหนักเพิ่มขึ้น และที่แปลกคือ เมื่อยิ่งผอม น้าหนักลด กลับยิ่งกลัวมากขึ้น ไปอีก ความกลัวน้าหนักเพิ่มนั้น มากเสียยิ่งกว่ากลัวตายจากการปฏิเสธอาหาร แทนที่จะรู้สึกผ่อนคลายหรือ เบาใจ เมื่อน้าหนักลดลงได้เขากลับกลัวมากขึ้นไปอีก  จะพบอาการไม่มีประจาเดือนได้บ่อยในผู้ป่วยโรคนี้ สาเหตุเกิดจากความเครียดอย่างรุนแรงจากการอดอาหาร ทาให้ฮอร์โมนของสมองที่ควบคุมการมีประจาเดือนลดลง การอดอาหารยังไปกดการหลั่งของฮอร์โมนเพศ ทา ให้ขาดความสนใจทางเพศ การพัฒนาทางเพศจะล่าช้าในผู้ป่วยพวกนี้ สาเหตุอาจมาจากหลายปัจจัย เช่น ผู้ป่วยมักแยกตัวจากสังคม เพราะขาดความเชื่อมั่น นับถือตัวเองและกลัวว่าเมื่อเข้าสังคมแล้วจะดาเนินชีวิต อย่างที่ทาอยู่ไม่ได้  ผู้ป่วยมักมีความประพฤติแบบย้าคิด-ย้าทา ร่วมด้วย ชีวิตประจาวันเต็มไปด้วยพิธีรีตอง ส่วนตัวอาจนับเมล็ด ข้าวที่รับประทาน คานวณพลังงานที่ได้จากอาหาร ชั่งน้าหนัก วัดสัดส่วนของร่างกาย ผู้ป่วยโรคนี้จะปฏิเสธ ความเจ็บป่วยของตัวเองไม่ยอมรับว่าป่วย ทาให้รักษาลาบาก คิดว่าความคิดตนเองถูกต้อง ส่วนคนอื่น ต่างหากที่เพี้ยนไป พฤติกรรมของผู้ป่วย มีได้ 2 แบบ 1. แบบจากัด (Restricting Type) หมายถึงจะรับประทานอาหารน้อย และหลีกเลี่ยงอาหารที่มีพลังงานสูง พวก นี้มักจะออกกาลังกายมาก และหนัก ในช่วงที่มีอาการ ไม่ได้มีการรับประทานครั้งละมากๆ หรือมีการขับ อาหารจากร่างกาย เช่น ทาให้ตนเองอาเจียน หรือใช้ยาระบาย ยาขับปัสสาวะ หรือยาสวนถ่ายอย่างพร่า เพรื่อ หรือเป็นประจา
  • 5. 5 2. แบบกินมาก/ออกมาก (Binge-Eating/Purging Type) หมายถึงเมื่อรับประทานอาหารแล้วใช้วิธีทาให้ตัวเอง อาเจียน ใช้ยาถ่าย ยาขับปัสสาวะ หรือสวนอุจจาระ ในช่วงที่มีอาการ จะมีการรับประทานครั้งละมากๆ หรือ มีการขับอาหารจากร่างกาย เช่น ทาให้ตนเองอาเจียน หรือใช้ยาระบาย ยาขับปัสสาวะ หรือยาสวนถ่าย การวินิจฉัย แพทย์จะวินิจฉัยว่าผู้ป่วยเข้าข่ายป่วยเป็นโรค Anorexia หรือไม่ โดยเบื้องต้นจะซักถามคาถามทั่วไปเกี่ยวกับ น้าหนักตัวและพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช่น น้าหนักตัวที่ลดลงในช่วงที่ผ่านมา ความรู้สึกหรือความกังวล เกี่ยวกับน้าหนักตัว พฤติกรรมล้วงคออาเจียน ปัญหาประจาเดือนไม่มาหรือปัญหาเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร ผู้ป่วยต้องตอบคาถามเหล่านี้ตามความจริง เพื่อให้ประมวลผลออกมาได้อย่างแม่นยา ทั้งนี้ แพทย์อาจตรวจด้านอื่น ๆ สาหรับประกอบการวินิจฉัย ดังนี้  ตรวจร่างกาย แพทย์จะวัดน้าหนักและส่วนสูงผู้ป่วย โดยผู้ป่วย Anorexia จะมีน้าหนักที่ต่ากว่ามาตรฐาน ซึ่ง คิดเป็นร้อยละอย่างน้อย 15 รวมทั้งวัดดัชนีมวลกาย (Body Mass Index: BMI) โดยทั่วไปแล้ว ผู้ใหญ่จะมีค่า ดัชนีมวลกายในเกณฑ์สุขภาพดีอยู่ที่ 18.5-24.9 หากป่วยเป็นโรคดังกล่าวมักจะมีค่าดัชนีมวลกายต่ากว่า 17.5 นอกจากนี้ แพทย์จะตรวจร่างกายด้านอื่น เช่น อัตราการเต้นของหัวใจ ความดันโลหิตและอุณหภูมิ ร่างกาย ปัญหาสุขภาพเล็บและผม ฟังหัวใจและปอด และตรวจท้อง  ตรวจทางห้องปฏิบัติการ แพทย์จะทาการตรวจเลือดเพิ่มเติม ได้แก่ ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (Complete Blood Count: CBC) ตรวจอิเล็กโทรไลต์ (Electrolites) และโปรตีนในเลือด ตรวจการทางาน ของตับ ไต และต่อมไทรอยด์ รวมทั้งตรวจปัสสาวะ  วัดผลทางจิตวิทยา แพทย์จะพูดคุยซักถามเกี่ยวกับอารมณ์ ความรู้สึก และพฤติกรรมการกินของผู้ป่วย ทั้งนี้ ผู้ป่วยอาจต้องทาแบบประเมินตนเองทางจิตวิทยาเพื่อวัดผลด้วย  ตรวจวิธีอื่น แพทย์จะเอกซเรย์ผู้ป่วยเพื่อตรวจความหนาแน่นมวลกระดูก การแตกหรือเปราะของกระดูก และตรวจหาโรคปอดบวมหรือปัญหาสุขภาพหัวใจ ทั้งนี้ ผู้ป่วยอาจต้องเข้ารับการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG) เพื่อดูว่าหัวใจผิดปกติหรือไม่ การตรวจทั้งหมดนี้จะช่วยให้แพทย์สามารถประมวลผลว่าร่างกายผู้ป่วย ใช้พลังงานไปเท่าไหร่ ซึ่งช่วยให้วางแผนการบริโภคสารอาหารให้เพียงพอกับความต้องการของผู้ป่วย การวินิจฉัยโรคทางจิตเวช (Diagnotis and Statistical Manual of Mental Disorders: DSM-5) กาหนดเกณฑ์ที่ ระบุลักษณะของผู้ป่วย Anorexia ไว้ ดังนี้  จากัดการรับประทานอาหาร ผู้ป่วย Anorexia จะรับประทานอาหารน้อยกว่าความต้องการของร่างกาย เพื่อ รักษาน้าหนักตัวให้น้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐานตามอายุและส่วนสูงของตัวเอง  กลัวน้าหนักขึ้น กลัวและกังวลว่าน้าหนักตัวจะขึ้นหรือมีรูปร่างอ้วนเป็นอย่างมาก อีกทั้งพยายามลดน้าหนัก อยู่เสมอทั้งที่น้าหนักตัวน้อยเกินไป เช่น ล้วงคออาเจียน หรือใช้ยาระบาย  มีปัญหากับรูปร่างตนเอง ผู้ป่วยไม่รู้สึกกังวลที่มีน้าหนักตัวต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน โดยให้คุณค่าตัวเองผูกติด อยู่กับน้าหนัก รวมทั้งรับรู้ภาพลักษณ์หรือรูปร่างของตนเองที่บิดเบือนไปจากความเป็นจริง
  • 6. 6 การรักษาโรค 1.จิตบาบัด ผู้ป่วยโรค Anorexia จะได้รับการรักษาด้วยวิธีจิตบาบัดต่าง ๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงของอาการ โดยวิธีนี้มักใช้เวลารักษาอย่างน้อย 6-12 เดือน หรือมากกว่านั้น วิธีจิตบาบัดที่ใช้รักษา Anorexia มีดังนี้ 1.1.Cognitive Analytic Therapy (CAT) วิธีนี้ตั้งอยู่บนฐานแนวคิดที่ว่าปัญหาสุขภาพจิตที่เกิดขึ้นเกิดจากรูปแบบ พฤติกรรมหรือความคิดที่ไม่ส่งผลดีต่อสุขภาพ อันเป็นผลมาจากวัยเด็กหรือในอดีต ขั้นตอนการรักษามี 3 ขั้นตอน ได้แก่ - พิจารณาเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้น ซึ่งอาจอธิบายสาเหตุที่ทาให้เกิดรูปแบบพฤติกรรมหรือความคิดที่ส่งผลเสียต่อ สุขภาพ (Reformation) - ทาให้เห็นว่ารูปแบบพฤติกรรมและความคิดดังกล่าวนาไปสู่โรค Anorexia ได้อย่างไร (Recognition) - ระบุความเปลี่ยนแปลงที่สามารถทาให้เลิกรูปแบบพฤติกรรมและความคิดที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพได้ (Revision) 1.2.ความคิดเและพฤติกรรมบาบัด (Cognitive Behavioural Therapy: CBT) วิธีนี้ตั้งบนฐานแนวคิดที่ว่าทัศนคติของผู้ป่วยที่มีต่อเหตุการณ์ต่าง ๆ ส่งผลต่อพฤติกรรมที่แสดงออกมา นัก บาบัดจะทาให้ผู้ป่วยเห็นว่าภาวะที่เกิดขึ้นนั้นเกิดจากความคิดที่ผิดเพี้ยนเกี่ยวกับอาหารและการรับประทานอาหาร โดยนักบาบัดจะปรับความคิดเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยมีความคิดในการรับประทานไปในทางที่เป็นจริงและส่งผลดีต่อสุขภาพ อันนาไปสู่การปรับพฤติกรรมต่อไป 1.3.จิตบาบัดสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal Therapy: IPT) วิธีนี้ตั้งอยู่บนฐานแนวคิดที่ว่าความสัมพันธ์ต่อผู้คนรอบข้างและสิ่งแวดล้อมภายนอกมีอิทธิพลต่อสุขภาพจิต นักบาบัดจะพิจารณาความสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้างของผู้ป่วยที่ส่งผลหรือเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและความคิดแง่ลบ รวมทั้งดูว่าจะแก้ไขพฤติกรรมและความคิดดังกล่าวได้อย่างไร 1.4.Focal Psychodynamic Therapy: FPT วิธีนี้ตั้งอยู่บนฐานแนวคิดที่ว่าภาวะทางจิตที่เกิดขึ้นอาจเกี่ยวเนื่องกับปมขัดแย้งที่เกิดขึ้นในวัยเด็กหรือในอดีต โดยผู้ป่วยไม่สามารถแก้ไขปมขัดแย้งนั้นได้ นักบาบัดจะกระตุ้นให้ผู้ป่วยนึกถึงปมขัดแย้งที่ส่งผลต่อตัวเอง เพื่อช่วยให้ หาวิธีรับมือกับพฤติกรรม ความคิด และความรู้สึก เมื่อต้องเผชิญสถานการณ์ที่ทาให้เครียด 2.การบาบัดครอบครัว (Family Interventions) ครอบครัวนับว่ามีบทบาทสาคัญ ในการรักษาในกรณีที่ผู้ป่วย Anorexia เป็นเด็กหรือมีอายุน้อย เนื่องจากปัญหาสุขภาพจิตนี้ส่งผลต่อบุคคลใน ครอบครัวทุกคน การบาบัดครอบครัวจะมุ่งเน้นไปที่ผลกระทบโรคที่ส่งผลต่อครอบครัว ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจลักษณะ ของโรคและวิธีที่บุคคลในครอบครัวจะช่วยเหลือผู้ป่วยด้วย 3.วิธีเพิ่มน้าหนัก แผนการรักษาโรคนี้จะครอบคลุมคาแนะนาในการรับประทานอาหารเพื่อเพิ่มน้าหนักตัวอย่าง ปลอดภัย โดยแพทย์จะให้ผู้ป่วยเริ่มรับประทานอาหารในปริมาณน้อย และค่อย ๆ เพิ่มปริมาณอาหารอย่างช้า ๆ เมื่อ ร่างกายปรับตัวได้แล้ว เนื่องจากการเพิ่มปริมาณอาหารเร็วเกินไปสามารถเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ โดยมีเป้าหมายให้ น้าหนักตัวเพิ่มขึ้นสัปดาห์ละ 0.5 กิโลกรัม ผู้ป่วยเด็กหรือวัยรุ่นจะได้รับการตรวจอย่างสม่าเสมอ เพื่อติดตาม ผลการรักษาให้เป็นไปตามเป้าหมาย การเพิ่มน้าหนักตัวจะช่วยให้ผู้ป่วยกลับมารับประทานอาหารครบ 3 มื้อเป็นปกติ
  • 7. 7 4.ยารักษา โรค Anorexia ไม่สามารถรักษาได้ด้วยยาเพียงอย่างเดียว แพทย์มักใช้รักษาควบคู่กับวิธีบาบัด โดยใช้ยา เพื่อรักษาภาวะทางจิตอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นร่วมด้วย เช่น โรคย้าคิดย้าทา หรือโรคซึมเศร้า ยาที่ใช้รักษาผู้ป่วย Anorexia ได้แก่ ยากลุ่มเอสเอสอาร์ไอ และยาโอแลนซาปีน ดังนี้ 4.1ยากลุ่มเอสเอสอาร์ไอ (Selective Serotonin Ruptake Inhibitors: SSRIs) ยานี้จัดเป็นยารักษาอาการซึมเศร้าชนิดหนึ่ง มักใช้รักษาผู้ที่ประสบปัญหาเกี่ยวกับภาวะทางจิต เช่น โรค ซึมเศร้า หรือวิตกกังวล อย่างไรก็ตาม แพทย์จะจ่ายยากลุ่มเอสเอสอาร์ไอให้ผู้ป่วยในกรณีที่น้าหนักตัวผู้ป่วยเริ่ม เพิ่มขึ้นแล้ว เนื่องจากการใช้ยาดังกล่าวขณะที่ผู้ป่วยมีน้าหนักตัวน้อยมากเกินไปเสี่ยงได้รับผลข้างเคียงสูง ทั้งนี้ ผู้ที่ อายุต่ากว่า 18 ปี ควรใช้ยากลุ่มเอสเอสอาร์ไออย่างระมัดระวัง 4.2ยาโอแลนซาปีน (Olanzapine) ผู้ป่วย Anorexia ที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยวิธีอื่น จะได้รับยานี้เพื่อลด อาการกังวลเกี่ยวกับน้าหนักตัวและการทานอาหาร 5.การแพทย์ทางเลือก วิธีนี้ไม่ใช่วิธีรักษาตามหลักแพทย์แผนปัจจุบัน ยังไม่ปรากฏงานวิจัยเกี่ยวกับการรักษาโรค Anorexia ด้วยการแพทย์ทางเลือก อย่างไรก็ดี วิธีนี้อาจช่วยลดอาการวิตกกังวลลงได้ โดยทาให้ผู้ป่วยรู้สึกดีและผ่อน คลายมากขึ้น การแพทย์ทางเลือกที่ใช้รักษาอาการวิตกกังวล ได้แก่ การฝังเข็ม การนวด โยคะ และการนั่งสมาธิ ผู้ที่ต้องการรักษาด้วยวิธีดังกล่าว ควรปรึกษาแพทย์ก่อน เพื่อให้ทราบและเข้าใจเกี่ยวกับประโยชน์และความเสี่ยงจากการรักษาด้วยการแพทย์ทางเลือก วิธีต่าง ๆ ภาวะแทรกซ้อน ผู้ป่วยโรค Anorexia ที่ไม่ได้รับการรักษาเสี่ยงเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้หลายประการ ซึ่งอาจเกิด ภาวะแทรกซ้อนอย่างรุนแรงหรืออันตรายถึงขั้นเสียชีวิต ทั้งนี้ ผู้ป่วยที่ไม่ได้มีน้าหนักตัวต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานมากนัก ก็อาจเสียชีวิตกะทันหันได้ เนื่องจากเกิดหัวใจเต้นผิดจังหวะและระดับอิเล็กโทรไลต์ไม่สมดุล ภาวะแทรกซ้อนที่เกิด จากโรค Anorexia แบ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่เกิดกับสุขภาพกาย และภาวะแทรกซ้อนที่เกิดกับสุขภาพจิต ดังนี้ 1. ภาวะแทรกซ้อนจากสุขภาพกาย  โลหิตจาง  เกิดโรคเกี่ยวกับสุขภาพหัวใจ เช่น ลิ้นหัวใจยาว หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจเต้นช้าผิดปกติ หรือหัวใจวาย  มีปัญหาเกี่ยวกับสมองและระบบประสาท เช่น เกิดอาการชัก สมาธิสั้น หรือความจาไม่ดี  มีปัญหาเกี่ยวกับกล้ามเนื้อและกระดูก เช่น กระดูกอ่อนแอหรือกระดูกพรุน สูญเสียมวลกระดูก ส่งผลให้เสี่ยง กระดูกหักได้ในอนาคต รวมทั้งมีปัญหาเกี่ยวกับพัฒนาการทางร่างกายสาหรับผู้ป่วยเด็กและวัยรุ่น  ประสบปัญหาสุขภาพทางเพศ ได้แก่ มีลูกยากและประจาเดือนไม่มาสาหรับผู้หญิง หรือฮอร์โมนเทสโทสเทอ โรนลดลงและหย่อนสมรรถภาพทางเพศสาหรับผู้ชาย  มีปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร เช่น ท้องผูก ท้องอืด หรือคลื่นไส้  อิเล็กโทรไลต์ผิดปกติ เช่น โพแทสเซียม โซเดียม หรือคลอไรด์ในเลือดต่า  มีปัญหาเกี่ยวกับไต  พยายามฆ่าตัวตาย
  • 8. 8  เกิดโรคเกี่ยวกับการกินผิดปกติอย่างอื่นร่วมด้วย เช่น บูลิเมีย (Bulimia Nervosa) โดยผู้ป่วยจะทาให้ตัวเอง ป่วย หรือใช้ยาระบายเพื่อขับอาหารออกจากร่างกาย 2. ภาวะแทรกซ้อนจากสุขภาพจิต  ประสบภาวะซึมเศร้า วิตกกังวล หรือโรคอารมณ์แปรปรวน  ประสบภาวะบุคลิกภาพแปรปรวน (Personality Disorders)  ป่วยเป็นโรคย้าคิดย้าทา (Obsessive-Compulsive Disorders)  ใช้แอลกอฮอล์หรือสารเสพติดอื่น ๆ นอกจากนี้ ผู้ป่วย Anorexia ที่ตั้งครรภ์ สามารถประสบภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ขึ้นมา ได้แก่ แท้งบุตร คลอดก่อน กาหนด ทารกมีน้าหนักตัวต่า และอาจต้องเข้ารับการผ่าคลอด การดูแลและวิธีแก้ไข  เสริมให้วัยรุ่นมีความเชื่อมั่นในตนเอง  เสริมพลังอานาจในตนเองให้รู้สึกว่าสามารถควบคุมเหตุการณ์ต่างๆ ได้  เรียนรู้ที่จะเคารพตนเอง เชื่อว่าตนเองเป็นอิสระ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับพ่อแม่ ครอบครัวหรือ สังคมเท่านั้น  รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และครบ 5 หมู่  ส่งเสริมทักษะในการใช้ชีวิตในสังคมร่วมกับผู้อื่น วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. กาหนดหัวข้อที่ต้องการศึกษา 2. ศึกษารวบรวมข้อมูล 3. จัดทาโครงร่างโครงงาน 4. จัดทาโครงงานเพื่อนาเสนอ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. โทรศัพท์มือถือ 3. อินเทอร์เน็ต 4. โปรแกรม photoshop งบประมาณ -
  • 9. 9 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคกลัวความอ้วนหรือโรคคลั่งผอม 2. สามารถเข้าใจเกี่ยวกับอาการของผู้ป่วยที่อาจพบเจอในชีวิตประจาวันได้ 3. ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับโรคกลัวความอ้วนหรือโรคคลั่งผอมได้รับความรู้ ความเข้าใจมากขึ้น สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ตั้งอยู่เลขที่ 238 ถนนพระปกเกล้า ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50200 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา 2. กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) ● โรคกลัวอ้วน (Anorexia Nervosa) โดย BangkokHealth.com แหล่งที่มา:http://www.bangkokhealth.com/health/article/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8 %84%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%AD%E0%B9%89%E0%B8 %A7%E0%B8%99-Anorexia-Nervosa-1270 ● โรค ANOREXIA NERVOSA โดย นางสาวยุวศรี ต่ายคา แหล่งที่มา: http://biology.ipst.ac.th/?p=921 ● ความหมาย Anorexia (อะนอเร็กเซีย) โดย POBPAD แหล่งที่มา: https://www.pobpad.com/anorexia- %E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87 %E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2