SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
บทที่ 3
วิธีดาเนินการวิจัย
การพัฒนาชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ
เทคนิค STAD เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 3 มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ ประกอบการจัดการ
เรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
และพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยชุดฝึกทักษะสร้างเสริม
สุขภาพ ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา และ3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 3 ที่มีต่อการเรียนด้วยชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ
เทคนิค STAD เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ผู้วิจัยได้
ดาเนินการตามลาดับ ดังนี้
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
3. การสร้างและการหาคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
4. รูปแบบการทดลอง
5. การเก็บรวบรวมข้อมูล
6. การวิเคราะห์ข้อมูล
7. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาล
แหลมฉบัง 1 สังกัดเทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จานวน
290 คน จาก 8 ห้องเรียน
1.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/1 โรงเรียน
เทศบาลแหลมฉบัง 1 สังกัดเทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
จานวนนักเรียน 37 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling)
55
2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย
1. ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้
สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จานวน 10 ชุด
2. แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย
ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จานวน 10 แผน
3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เป็นแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 3
ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ
4. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการเรียนด้วย
ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง
รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ซึ่งเป็นมาตราส่วนประมาณค่า
(Rating Scale) ตามวิธีของลิเคอร์ท (Likert) ซึ่งมี 5 ระดับ จานวน 10 ข้อ
3. การสร้างและการหาคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
3.1 ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 การสร้างชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ
เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ผู้วิจัยได้ดาเนินการสร้างตามลาดับขั้นตอน ดังนี้
3.1.1 ศึกษาหลักสูตร จุดมุ่งหมายของหลักสูตร ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของกระทรวงศึกษาธิการ
3.1.2 ศึกษาหลักการ ทฤษฎีจากเอกสาร ตารา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับชุดฝึกทักษะ
เช่น หลักการสร้างชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพของปราณี จิณฤทธิ์ (2552) เพื่อเป็นแนวทางใน
การสร้างชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ
3.1.3 วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระ
การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เพื่อกาหนดเนื้อหา ปรากฏผลดังตาราง
56
ตารางที่ 4 วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ
และการป้องกันโรค กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด
มาตรฐาน พ 4. 1 เห็นคุณค่าและมีทักษะใน
การสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ
การป้องกันโรคและการสร้างเสริมสมรรถภาพ
เพื่อสุขภาพ
1. อธิบายการติดต่อและวิธีการป้องกันการ
แพร่กระจายของโรค
2. จาแนกอาหารหลัก 5 หมู่
3. เลือกกินอาหารที่หลากหลายครบ 5 หมู่
ในสัดส่วนที่เหมาะสม
4. แสดงการแปรงฟันให้สะอาดอย่างถูกวิธี
5. สร้างเสริมสมรรถภาพทางกายได้ตาม
คาแนะนา
จากตารางข้างต้น จะเห็นได้ว่า สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและ
การป้องกันโรค กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กาหนดตัวชี้วัด ดังนี้
พ 4.1 ป.3/1 อธิบายการติดต่อและวิธีการป้องกันการแพร่กระจายของโรค
พ 4.1 ป.3/2 จาแนกอาหารหลัก 5 หมู่
พ 4.1 ป.3/3 เลือกกินอาหารที่หลากหลายครบ 5 หมู่ ในสัดส่วนที่เหมาะสม
พ 4.1 ป.3/4 แสดงการแปรงฟันให้สะอาดอย่างถูกวิธี
พ 4.1 ป.3/5 สร้างเสริมสมรรถภาพทางกายได้ตามคาแนะนา
3.1.4 วิเคราะห์ รวบรวมเนื้อหาเพื่อกาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ในการสร้างชุดฝึก
ทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
และพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สามารถแบ่งเนื้อหาย่อยได้ดังนี้
3.1.5 สร้างชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ให้ครอบคลุมเนื้อหาและ
จุดประสงค์ที่กาหนด จานวน 10 ชุดแต่ละชุด มีองค์ประกอบดังนี้ ปก คานา คาชี้แจง สารบัญ
คาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรม จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน บัตรคาสั่ง ใบความรู้
ใบกิจกรรม แบบทดสอบหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน เฉลยกิจกรรมและ
บรรณานุกรม โดยเนื้อหา จานวน 10 ชุด มีดังนี้
ชุดฝึกทักษะที่ 1 โรคและการป้องกันโรค
ชุดฝึกทักษะที่ 2 เรียนรู้เรื่องอาหาร
57
ชุดฝึกทักษะที่ 3 อาหารหลัก 5 หมู่ ให้ประโยชน์อย่างไร
ชุดฝึกทักษะที่ 4 หลักในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์
ชุดฝึกทักษะที่ 5 การเลือกซื้ออาหารและพฤติกรรมการรับประทานอาหาร
ชุดฝึกทักษะที่ 6 หลักในการบริโภคอาหาร
ชุดฝึกทักษะที่ 7 การดูแลรักษาร่างกาย
ชุดฝึกทักษะที่ 8 การแปรงฟันให้สะอาดอย่างถูกวิธี
ชุดฝึกทักษะที่ 9 การดูแลรักษาสุขภาพ
ชุดฝึกทักษะที่ 10 การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย
3.1.6 นาชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่สร้างขึ้น เสนอผู้เชี่ยวชาญเพื่อ
ตรวจสอบความถูกต้องและความเหมาะสม จานวน 5 ท่าน (รายละเอียดในภาคผนวก ก) โดยให้
ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเกี่ยวกับความถูกต้องของภาษา การจัดรูปแบบของชุดฝึกทักษะ ภาพประกอบ
กิจกรรมและความสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้เพื่อนามาปรับปรุงแก้ไข โดยใช้แบบประเมินที่
ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ตามวิธีของลิ
เคิร์ท (Likert) (วาโร เพ็งสวัสดิ์. 2551) มีเกณฑ์การประเมิน ดังนี้
คะแนน ช่วงคะแนน ความหมาย
5 4.51- 5.00 เหมาะสมมากที่สุด
4 3.51- 4.50 เหมาะสมมาก
3 2.51- 3.50 เหมาะสมปานกลาง
2 1.51- 2.50 เหมาะสมน้อย
1 1.00- 1.50 เหมาะสมน้อยที่สุด
จากนั้นนาผลการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญมาหาค่าเฉลี่ย พบว่า ระดับคะแนนเฉลี่ย
ของชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้
สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ่าเฉลี่ย 4.52 หมายความว่า
มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด
3.1.7 แก้ไขปรับปรุงตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ แล้วนาไปทดลองหาประสิทธิภาพ
กับนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มเป้าหมาย ดังนี้
1) ขั้นตอนการหาประสิทธิภาพแบบรายเดี่ยว (1 : 1)
ผู้วิจัยนาชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้จักดูแลร่างกายและ
การป้องกันโรค กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ไปทดลองใช้ (Try out) กับนักเรียน
58
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 1 สังกัดเทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี
จานวน 3 คน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 โดยสุ่มนักเรียนที่มีความสามารถแตกต่างกัน คือ
นักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน กลุ่มละ 1 คน เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของชุดฝึกทักษะในด้าน
รูปเล่ม เนื้อหา กิจกรรม ความยากง่ายของชุดฝึกทักษะ ซึ่งผลการหาประสิทธิภาพในครั้งนี้ พบว่า
ได้ประสิทธิภาพเท่ากับ 65.56/63.33 และมีข้อบกพร่องที่ต้องปรับปรุงแก้ไข คือ ปรับกิจกรรมให้
สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ที่กาหนดในชุดฝึกทักษะ ปรับปรุงขนาดตัวอักษรให้เหมาะสมกับ
ระดับชั้นของนักเรียน จากนั้นนาไปเสนอให้ผู้เชี่ยวชาญเพื่อขอคาแนะนาปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติม
2) ขั้นตอนการหาประสิทธิภาพแบบกลุ่มย่อย (1 : 10)
ผู้วิจัยนาชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้จักดูแลร่างกายและ
การป้องกันโรค กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ที่ปรับปรุงแล้วแก้ไขจากขั้นตอนที่ 1 แล้ว
ไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 1 สังกัดเทศบาลนครแหลม
ฉบัง จังหวัดชลบุรี จานวน 10 คน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 ที่ไม่ซ้ากับนักเรียนที่ทาการ
ทดลองในครั้งที่ 1 โดยสุ่มนักเรียนที่มีความสามารถแตกต่างกัน คือ นักเรียนเก่ง 3 คน ปานกลาง 4
คน และนักเรียนอ่อน 3 คน ผลที่ได้จากการคานวณหาประสิทธิภาพ เท่ากับ 74.15/71.00 โดยมี
ข้อบกพร่องที่ต้องปรับปรุงแก้ไข คือ ปรับปรุงแบบทดสอบย่อยในชุดฝึกทักษะที่ 4, 5 และ ชุดที่ 7 ให้มี
ความยากง่ายที่เหมาะสม พร้อมทั้งตรวจสอบสีสัน ภาพประกอบให้น่าสนใจมากขึ้น
3) ขั้นตอนการหาประสิทธิภาพภาคสนาม (1 : 100)
ผู้วิจัยนาชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้จักดูแลร่างกายและ
การป้องกันโรค กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ที่ปรับปรุงแล้ว ไปทดลองใช้กับนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 1 สังกัดเทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี
จานวน 30 คน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 ซึ่งผลการหาประสิทธิภาพภาคสนาม (1 : 100)
มีค่าประสิทธิภาพ เท่ากับ 83.37/81.11 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 1
 / 2
 = 80/80 ที่กาหนดไว้
สามารถนาไปใช้จริงกับกลุ่มตัวอย่างต่อไปได้
3.1.8 จัดพิมพ์ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เป็นฉบับสมบูรณ์แล้วนาไป
ทดลองหาประสิทธิภาพกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/1 โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 1 สังกัด
เทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย จานวน 37 คน ในภาคเรียนที่
2 ปีการศึกษา 2560 ตามแผนการทดลองต่อไป
59
3.2 แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทัน
โรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทัน
โรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ผู้วิจัย
ดาเนินการสร้างตามลาดับขั้นตอน ดังนี้
3.2.1 ศึกษาหลักสูตร จุดมุ่งหมายของหลักสูตร ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของกระทรวงศึกษาธิการ
3.2.2 ศึกษาทฤษฎี หลักการ แนวคิด และเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้
แบบกลุ่มร่วมมือด้วยเทคนิค STAD รวมทั้งศึกษาคู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
3.2.3 กาหนดเนื้อหาที่จะนามาใช้ในการสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ที่เกิดจาก
การวิเคราะห์สภาพปัญหาในการจัดการเรียนรู้ สาหรับการใช้ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ
เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ในสาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณค่า
และมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การป้องกันโรคและการสร้างเสริมสมรรถภาพ
เพื่อสุขภาพ
3.2.4 เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ตามข้อ 3.2.3 โดยยึดตามลาดับขั้นตอนการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วมมือ เทคนิค STAD ซึ่งมีเนื้อหาทั้งหมด จานวน 10 แผน
(ไม่รวมการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน) แต่ละแผนมีองค์ประกอบ ดังนี้ สาระ/มาตรฐาน/
ตัวชี้วัด สาระสาคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ชิ้นงาน/หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้
กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ 5 ขั้น (ขั้นสอน, ขั้นทากิจกรรมกลุ่ม, ขั้นตรวจสอบผลงานและ
ทดสอบ, ขั้นสรุปบทเรียนและประเมินผลการทางานกลุ่ม) สื่อการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผล
การเรียนรู้ กิจกรรมเสนอแนะ ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้บริหารและบันทึกผลหลัง
การเรียนรู้ ดังรายละเอียด
1) โรคและการป้องกันโรค
2) เรียนรู้เรื่องอาหาร
3) อาหารหลัก 5 หมู่ ให้ประโยชน์อย่างไร
4) หลักในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์
5) การเลือกซื้ออาหารและพฤติกรรมการรับประทานอาหาร
6) หลักในการบริโภคอาหาร
60
7) การดูแลรักษาร่างกาย
8) การแปรงฟันให้สะอาดอย่างถูกวิธี
9) การดูแลรักษาสุขภาพ
10) การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย
3.2.5 นาแผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง
รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ที่สร้างขึ้น เสนอให้ผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 ท่าน (ชุดเดิม) โดยให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจความถูกต้องและ
ความเหมาะสมของภาษา เนื้อหา และกิจกรรมการเรียนรู้ ความสอดคล้องของจุดประสงค์การ
เรียนรู้ เพื่อนามาปรับปรุงแก้ไขและโดยใช้รูปแบบการประเมินและหาค่าแบบมาตราส่วนประมาณค่า
(Rating Scale) ตามวิธีของลิเคิร์ท (Likert) (วาโร เพ็งสวัสดิ์. 2551) มีเกณฑ์การประเมิน ดังนี้
คะแนน ช่วงคะแนน ความหมาย
5 4.51- 5.00 เหมาะสมมากที่สุด
4 3.51- 4.50 เหมาะสมมาก
3 2.51- 3.50 เหมาะสมปานกลาง
2 1.51- 2.50 เหมาะสมน้อย
1 1.00- 1.50 เหมาะสมน้อยที่สุด
ปรับปรุงแก้ไขตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญในด้านรายละเอียดการจัดกิจกรรม ผู้สอน
ควรแบ่งกลุ่มให้ชัดเจน ปรับการใช้ภาษาให้เหมาะสม ตลอดจนตรวจสอบการเข้าไปใช้สื่อและแหล่ง
การเรียนรู้ จากนั้นนาคะแนนที่ได้ มาหาค่าเฉลี่ย พบว่า แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้
ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ
พลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.48 หมายถึง มีความเหมาะสมอยู่ในระดับ
มาก
3.2.6 นาแผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง
รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ไปทดลองใช้ (Try Out)
กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 1 สังกัดเทศบาลนครแหลมฉบัง
จังหวัดชลบุรี เพื่อหาข้อบกพร่องของแผนและปรับปรุงแก้ไข
3.2.7 จัดพิมพ์แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ
เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ฉบับจริง แล้วนาไปใช้จริงกับกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/1 โรงเรียนเทศบาล
แหลมฉบัง 1 สังกัดเทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
จานวน 37 คน
61
3.3 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ
3 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง รู้จักดูแลร่างกายและ
การป้องกันโรค กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ผู้วิจัยได้
ดาเนินการสร้างตามลาดับขั้นตอน ดังนี้
3.3.1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
3.3.2 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเทคนิคการวัดประเมินผล กลุ่มสาระ
การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ตลอดจนวิธีการสร้างแบบทดสอบที่ดี จากหนังสือการวิจัยเบื้องต้น
เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างแบบทดสอบและกาหนดข้อคาถาม
3.3.3 วิเคราะห์เนื้อหา สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ และจานวนข้อสอบให้
สอดคล้องกัน
3.3.4 จัดทาตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างข้อคาถามกับจุดประสงค์เชิง
พฤติกรรม แล้วจัดทาโครงร่างแบบทดสอบ
3.3.5 สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง รู้จักดูแลร่างกายและ
การป้องกันโรค กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
โดยแบบทดสอบเป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบแบบ 3 ตัวเลือก จานวน 1 ฉบับ 50 ข้อ ใช้เป็น
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน
3.3.6 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สร้างขึ้น เสนอผู้เชี่ยวชาญจานวน
5 ท่าน เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงและความสอดคล้องและหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of
Item Objective Congruence : IOC) ระหว่างข้อคาถามของแบบทดสอบกับจุดประสงค์เชิง
พฤติกรรมของแบบทดสอบ แล้วเลือกข้อสอบที่มีค่าดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป โดย
กาหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้ (สมนึก ภัททิยธนี. 2549)
+1 เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบนั้นสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
0 เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อสอบนั้นสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
- 1 เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
3.3.7 ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่าน
3.3.8 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จานวน 50 ข้อ ไปทดลองใช้ (Try
Out) กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 1 สังกัดเทศบาลนคร
แหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี จานวน 30 คน เพื่อหาคุณภาพของแบบทดสอบ
62
3.3.9 นาผลการตรวจคะแนนที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย (p) และหาค่า
อานาจจาแนก (B) โดยใช้วิธีของเบรนเนน (Brenan Index หรือ B - Index) (วาโร เพ็งสวัสดิ์.
2551) เกณฑ์ที่เลือกคือความยากง่าย (p) อยู่ระหว่าง 0.20 - 0.80 และค่าอานาจจาแนก (B) อยู่
ที่ระดับ 0.20 ขึ้นไป ได้แบบทดสอบที่ใช้ได้ทั้งหมด จานวน 30 ข้อ จากแบบทดสอบที่สร้างขึ้นทั้งหมด
50 ข้อ ที่มีค่าความยากง่าย (p) อยู่ระหว่าง 0.37 - 0.67 และค่าอานาจจาแนก (B) อยู่ระหว่าง
0.22 - 0.50
3.3.10 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่คัดเลือกไว้ จานวน 30 ข้อ ไปหา
ค่าความเชื่อมั่น โดยวิธีของโลเวท (Lovett) (วาโร เพ็งสวัสดิ์. 2551) ได้ค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ
0.76
3.3.11 จัดพิมพ์และนาแบบทดสอบที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพแล้ว จานวน 30 ข้อ
ไปใช้จริงกับกลุ่มตัวอย่างต่อไป
3.4 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการเรียนด้วย
ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง
รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ซึ่งเป็นมาตราส่วนประมาณ
ค่า (Rating Scale) ตามวิธีของลิเคอร์ท (Likert) ซึ่งมี 5 ระดับ จานวน 10 ข้อ
การสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ผู้วิจัยดาเนินการ ดังนี้
3.4.1 ศึกษารูปแบบการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ จากเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี
และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3.4.2 สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จานวน 10 ข้อ ซึ่งเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating
Scale) โดยกาหนดระดับความพึงพอใจเป็นมากที่สุด (5) มาก (4) ปานกลาง (3) น้อย (2) และน้อย
ที่สุด โดยปรับใช้เกณฑ์ของธานินทร์ ศิลป์จารุ (2551) ดังนี้
5 หมายถึง มีความพึงพอใจมากที่สุด
4 หมายถึง มีความพึงพอใจมาก
3 หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง
2 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อย
1 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อยที่สุด
3.4.3 นาแบบสอบถามความพึงพอใจที่สร้างขึ้นเสนอให้ผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน (ชุดเดิม)
เพื่อพิจารณาความเหมาะสมของแบบสอบถาม ตรวจสอบความถูกต้องด้านเนื้อหาและภาษา
63
ความเที่ยงตรง และความสอดคล้องหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objective
Congruence: IOC) ระหว่างข้อคาถามของแบบสอบถามกับจุดประสงค์แล้วเลือกข้อสอบที่มีค่าดัชนี
ความสอดคล้องตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไปโดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
+1 เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบถามมีความถูกต้อง/เหมาะสม
0 เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อสอบถามมีความถูกต้อง/เหมาะสม
- 1 เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบถามขาดความถูกต้อง/ไม่เหมาะสม
3.4.4 ปรับปรุงแก้ไขตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน โดยปรับปรุงแก้ไขเนื้อหา
และภาษาที่ใช้แต่ละข้อให้สอดคล้องกันในแต่ละประเด็น เพิ่มข้อคาถามในบางตอนให้มีความชัดเจน
ยิ่งขึ้น
3.4.5 นาแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนด้วยชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ
ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ ชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จานวน 30 คน ซึ่งเป็นขั้นตอนหลังการทดลอง
ภาคสนาม (Field Testing) เพื่อหาค่าความเชื่อมั่น โดยการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (α -coefficient)
ของครอนบาค (Cronbach) (บุญชม ศรีสะอาด. 2556) และจากการวิเคราะห์ พบว่า แบบสอบถาม
ความพึงพอใจ มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.79
3.4.6 จัดพิมพ์แบบสอบถามความพึงพอใจฉบับจริงแล้วนาไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างต่อไป
4. รูปแบบการทดลอง
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi - Experimental Design) ซึ่งผู้วิจัยใช้กลุ่ม
ทดลองกลุ่มเดียว มีการทดสอบก่อนเรียนหลัง (One Group Pre - test Post - test Design)
(สมบัติ ท้ายเรือคา. 2553) ดังตารางที่ 5
ตารางที่ 5 แสดงรูปแบบการทดลองแบบ One Group Pre - test Post - test Design
Pretest Treatment Posttest
1
 X 2

สัญลักษณ์ที่ใช้ในแบบแผนการทดลอง
1
 หมายถึง การทดสอบก่อนการทดลอง (Pre - test)
X หมายถึง การจัดการเรียนการสอนด้วยชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง
รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
2
 หมายถึง การทดสอบหลังการทดลอง (Post - test)
64
5. การเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2560 โดยมีขั้นตอนในการดาเนินการ ดังนี้
1. นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการ
เรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ไปทดสอบก่อนเรียน (Pre - test) กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่
3/1 โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 1 สังกัดเทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ในภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 2560 จานวน 37 คน
2. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 10 แผน ให้แก่นักเรียน
ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/1 โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 1 สังกัด
เทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จานวน 37 คน
โดยในระหว่างการจัดกิจกรรมแต่ละครั้ง ผู้วิจัยมีการทดสอบย่อยและเก็บคะแนนใบงานจากชุดฝึก
ทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทั้ง 10 ชุด เพื่อวิเคราะห์หาประสิทธิภาพด้านกระบวนการ ( 1
 ) ซึ่งผู้วิจัย
ดาเนินการทดลองใช้ชุดฝึกทักษะตามแผนการจัดการเรียนรู้ระหว่างวันที่ 10 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.
2560 ถึงวันที่ 9 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 ใช้เวลาทดลอง 12 ครั้ง ครั้งละ 1 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น
12 ชั่วโมง ทั้งนี้รวมเวลาที่ทาการทดสอบก่อนเรียนและทดสอบหลังเรียนด้วย
3. หลังจากจัดการเรียนการสอนตามชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจ
สุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เสร็จสิ้นลงนาแบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนไปทดสอบหลังเรียน (Post - test) กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี
ที่ 3/1 โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 1 สังกัดเทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ปีการศึกษา 2560
จานวน 37 คน จากนั้นนาผลการทดสอบไปหาค่าประสิทธิภาพด้านผลลัพธ์ ( 2
 ) และเปรียบเทียบ
กับผลการทดสอบก่อนเรียน
4. เมื่อทาการทดสอบหลังเรียน (Post - test) แล้วให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบ
ถามความพึงพอใจ จานวน 10 ข้อ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นในช่องที่ตรง
กับระดับความพึงพอใจของนักเรียน เมื่อดาเนินการเสร็จแล้วผู้วิจัยนาผลการตอบแบบสอบถามมา
วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วนาไปเทียบกับเกณฑ์ที่กาหนดไว้
ระยะเวลาในการดาเนินการจัดการเรียนการสอน โดยใช้ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง
รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มี
รายละเอียดดังตารางที่ 6
65
ตารางที่ 6 แสดงระยะเวลาในการดาเนินการจัดการเรียนการสอน โดยใช้ชุดฝึกทักษะสร้างเสริม
สุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 3
แผนที่ เรื่อง วัน/เดือน/ปี เวลา (ชั่วโมง)
–
ปฐมนิเทศและทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนก่อนเรียน เรื่อง รู้ทันโรคภัย
ใส่ใจสุขภาพ
10 พฤศจิกายน 2560 1
1 โรคและการป้องกันโรค 17 พฤศจิกายน 2560 1
2 เรียนรู้เรื่องอาหาร 24 พฤศจิกายน 2560 1
3 อาหารหลัก 5 หมู่ ให้ประโยชน์อย่างไร 1 ธันวาคม 2560 1
4 หลักในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ 8 ธันวาคม 2560 1
5
การเลือกซื้ออาหารและพฤติกรรม
การรับประทานอาหาร
15 ธันวาคม 2560 1
6 หลักในการบริโภคอาหาร 22 ธันวาคม 2560 1
7 การดูแลรักษาร่างกาย 29 ธันวาคม 2560 1
8 การแปรงฟันให้สะอาดอย่างถูกวิธี 5 มกราคม 2561 1
9 การดูแลรักษาสุขภาพ 12 มกราคม 2561 1
10 การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย 19 มกราคม 2561 1
–
สรุปความรู้และทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนหลังเรียน เรื่อง รู้จัก
ดูแลร่างกายและป้องกันโรค
26 มกราคม 2561 1
รวม 12
6. การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วนามาวิเคราะห์ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1. หาค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (X ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(S.D.) ของคะแนนที่ได้จากชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ และคะแนน
จากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน - หลังเรียน
2. วิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่
ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
66
2.1 หาค่าความยากง่าย (p) และหาค่าอานาจจาแนก (B) โดยใช้วิธีของเบรนเนน
(Brenan Index หรือ B - Index) (วาโร เพ็งสวัสดิ์. 2551)
2.2 หาค่าความเชื่อมั่น โดยวิธีของโลเวท (Lovett) (วาโร เพ็งสวัสดิ์. 2551)
3. วิเคราะห์หาค่าประสิทธิภาพของชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจ
สุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ตามเกณฑ์ 80/80
โดยใช้สูตร E1/E2
4. วิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการใช้
ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ
พลศึกษา ก่อนและหลังเรียนโดยการหาค่าเฉลี่ย (X ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของคะแนน
ที่ได้จากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนและทดสอบความแตกต่างโดย
ใช้การทดสอบค่า t ( t - test แบบ Dependent Samples)
5. วิเคราะห์ความพึงพอใจ ที่มีต่อชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจ
สุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการหาค่าเฉลี่ย
(X) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยกาหนดระดับความพึงพอใจเป็น มากที่สุด (5) มาก (4)
ปานกลาง (3) น้อย (2) และน้อยที่สุด (1) โดยปรับใช้เกณฑ์ของธานินทร์ ศิลป์จารุ (2551) ดังนี้
5 หมายถึง มีความพึงพอใจมากที่สุด
4 หมายถึง มีความพึงพอใจมาก
3 หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง
2 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อย
1 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อยที่สุด
7. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ดังนี้
1. ร้อยละ (Percentage) ใช้สูตรดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2554)
100
N
f
P 

เมื่อ P แทน ร้อยละ
f แทน ความถี่ที่ต้องการแปลงให้เป็นร้อยละ
N แทน จานวนความถี่ทั้งหมด
67
2. ค่าเฉลี่ย (Arithmetic Mean) ใช้สูตรดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2554)
N
X
X


เมื่อ X แทน ค่าเฉลี่ย
X แทน ผลรวมคะแนนทั้งหมด
N แทน จานวนคะแนนในกลุ่ม
1.
3. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใช้สูตรดังนี้
(บุญชม ศรีสะอาด. 2554)
2 2
N X ( X)
S.D.
N(N 1)



 
เมื่อ S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
X แทน ข้อมูลแต่ละจานวน
N แทน จานวนข้อมูลทั้งหมด
 แทน ผลรวม
สถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพของแบบทดสอบ
1. ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) เป็นการหาความเที่ยงตรง (Validity) ของเนื้อหา
และความสอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์ ใช้สูตรดังนี้ (สมบัติ ท้ายเรือคา. 2553)

R
IOC
N
เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้อง
R แทน ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด
N แทน จานวนผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด
68
2. ค่าความยากง่าย (p) ของแบบทดสอบ ใช้สูตร ดังนี้ (วาโร เพ็งสวัสดิ์. 2551)
p =
N
R
เมื่อ p แทน ความยากง่ายของข้อสอบ
R แทน จานวนผู้ตอบถูก
N แทน จานวนผู้เข้าสอบทั้งหมด
3. ค่าอานาจจาแนก (B) ของแบบทดสอบ โดยใช้สูตรดัชนีค่าอานาจจาแนกของ
เบรนแนน (Brennan) ดังนี้ (วาโร เพ็งสวัสดิ์. 2551)
2
n
L
1
n
U
B 

เมื่อ B แทน ค่าอานาจจาแนก
U แทน จานวนผู้รอบรู้หรือสอบผ่านเกณฑ์ที่ตอบถูก
L แทน จานวนผู้ไม่รอบรู้หรือสอบไม่ผ่านเกณฑ์ที่ตอบถูก
n1 แทน จานวนผู้รอบรู้หรือสอบผ่านเกณฑ์
n2 แทน จานวนผู้ไม่รอบรู้หรือสอบไม่ผ่านเกณฑ์
4. ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ โดยวิธีของโลเวท (Lovett) โดยใช้สูตร ดังนี้
(วาโร เพ็งสวัสดิ์. 2551)
rcc =
 

 

 2
C)
i
(X
1)
(k
2
X
i
X
k
1
เมื่อ rcc แทน ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ
k แทน จานวนข้อสอบ
Xi แทน คะแนนของแต่ละคน
 i
X แทน ผลรวมคะแนนของนักเรียนแต่ละคน
 2
X แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละตัวยกกาลังสอง
C แทน คะแนนเกณฑ์หรือจุดตัดของแบบทดสอบ
69
5. ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามวัดความพึงพอใจ โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่า
( -Coefficient) วิธีของครอนบัค(Cronbach) (ชูศรี วงศ์รัตนะ. 2549) ดังนี้
 =









 

 2
S
2
S
1
1
k t
i
k
เมื่อ  แทน ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ
k แทน จานวนข้อสอบ
 2
i
S แทน ความแปรปรวนของคะแนนแต่ละข้อ
2
t
S แทน ความแปรปรวนของคะแนนทั้งฉบับ
6. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ใช้สถิติ
ทดสอบค่าที (t - test) แบบกลุ่มตัวอย่างไม่เป็นอิสระต่อกัน (Dependent samples t - test
analysis) ใช้สูตรดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2554)




 
2 2
D
t
n D ( D)
(n 1)
เมื่อ t แทน ค่าสถิติที่ใช้เปรียบเทียบกับค่าวิกฤตเพื่อทราบ
ความมีนัยสาคัญ
D แทน ค่าผลต่างระหว่างคู่คะแนน
n แทน จานวนกลุ่มตัวอย่างหรือจานวนคู่คะแนน
D
 แทน ผลรวมของความแตกต่างจากการเปรียบเทียบกัน
เป็นรายบุคคลระหว่างคะแนนที่ได้รับจากการทดสอบ
ก่อนเรียนและทดสอบหลังเรียน
70
7. การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของชุดฝึกทักษะ ตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ 80/80
ใช้สูตรดังนี้ (ชัยยงค์ พรหมวงศ์. 2556)
สูตร 1 E1 = 100
A
N
X


เมื่อ E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ
X แทน คะแนนรวมของแบบฝึกปฏิบัติกิจกรรมหรืองานที่ทาระหว่าง
เรียน
A แทน คะแนนเต็มของแบบฝึกปฏิบัติทุกชิ้นรวมกัน
N แทน จานวนผู้เรียน
สูตร 2 E2 = 100
B
N
F


เมื่อ E2 แทน ประสิทธิภาพของผลลัพธ์
F แทน คะแนนรวมของผลลัพธ์ของการประเมินหลังเรียน
B แทน คะแนนเต็มของการประเมินสุดท้าย (ผลการสอบผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนหลังเรียน)
N แทน จานวนผู้เรียน

More Related Content

What's hot

แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1tassanee chaicharoen
 
หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้nitirot
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเราแผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเราtassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...โรงเรียนบ้านเสาเล้าฯ สผศ
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาan1030
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2tassanee chaicharoen
 
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค5620แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56Pochchara Tiamwong
 
การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาลงสู่หน่วยการเรียนรู้
การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาลงสู่หน่วยการเรียนรู้การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาลงสู่หน่วยการเรียนรู้
การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาลงสู่หน่วยการเรียนรู้tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตแผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตtassanee chaicharoen
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาBoonlert Aroonpiboon
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55Decode Ac
 
กำหนดการสอนสุข1
กำหนดการสอนสุข1กำหนดการสอนสุข1
กำหนดการสอนสุข1tassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4tassanee chaicharoen
 
เพศศึกษา
เพศศึกษาเพศศึกษา
เพศศึกษาduesdee tawon
 
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับติวอินดี้ ง่ายโคตร
 

What's hot (20)

แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
 
หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเราแผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
 
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค5620แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
 
การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาลงสู่หน่วยการเรียนรู้
การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาลงสู่หน่วยการเรียนรู้การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาลงสู่หน่วยการเรียนรู้
การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาลงสู่หน่วยการเรียนรู้
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตแผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
 
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
 
กำหนดการสอนสุข1
กำหนดการสอนสุข1กำหนดการสอนสุข1
กำหนดการสอนสุข1
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
 
เพศศึกษา
เพศศึกษาเพศศึกษา
เพศศึกษา
 
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับ
 

Similar to บทที่ 3

3.ตารางวิเคราะห์แอกกอฮอล์ม.3เอมพันธ์
3.ตารางวิเคราะห์แอกกอฮอล์ม.3เอมพันธ์3.ตารางวิเคราะห์แอกกอฮอล์ม.3เอมพันธ์
3.ตารางวิเคราะห์แอกกอฮอล์ม.3เอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงteeradejmwk
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาan1030
 
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1sonsukda
 
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2sonsukda
 
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6Prachoom Rangkasikorn
 
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6Prachoom Rangkasikorn
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)pairat13
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้าการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้าIpst Thailand
 
09+heap3+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 1 3
09+heap3+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 1 309+heap3+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 1 3
09+heap3+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 1 3Prachoom Rangkasikorn
 
07+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 1 3
07+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 1 307+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 1 3
07+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 1 3Prachoom Rangkasikorn
 
09+heap2+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 1 3
09+heap2+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 1 309+heap2+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 1 3
09+heap2+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 1 3Prachoom Rangkasikorn
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3arsad20
 
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนการพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนSweetsak Samnakwong
 
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5wichsitb
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4Kruthai Kidsdee
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์ไชยยา มะณี
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1bb5311600637
 

Similar to บทที่ 3 (20)

3.ตารางวิเคราะห์แอกกอฮอล์ม.3เอมพันธ์
3.ตารางวิเคราะห์แอกกอฮอล์ม.3เอมพันธ์3.ตารางวิเคราะห์แอกกอฮอล์ม.3เอมพันธ์
3.ตารางวิเคราะห์แอกกอฮอล์ม.3เอมพันธ์
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
 
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
 
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
 
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้าการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
 
09+heap3+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 1 3
09+heap3+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 1 309+heap3+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 1 3
09+heap3+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 1 3
 
07+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 1 3
07+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 1 307+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 1 3
07+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 1 3
 
09+heap2+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 1 3
09+heap2+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 1 309+heap2+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 1 3
09+heap2+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 1 3
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนการพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

บทที่ 3

  • 1. บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย การพัฒนาชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ เทคนิค STAD เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ ประกอบการจัดการ เรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยชุดฝึกทักษะสร้างเสริม สุขภาพ ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา และ3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 ที่มีต่อการเรียนด้วยชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ เทคนิค STAD เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ผู้วิจัยได้ ดาเนินการตามลาดับ ดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3. การสร้างและการหาคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 4. รูปแบบการทดลอง 5. การเก็บรวบรวมข้อมูล 6. การวิเคราะห์ข้อมูล 7. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาล แหลมฉบัง 1 สังกัดเทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จานวน 290 คน จาก 8 ห้องเรียน 1.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/1 โรงเรียน เทศบาลแหลมฉบัง 1 สังกัดเทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จานวนนักเรียน 37 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling)
  • 2. 55 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1. ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จานวน 10 ชุด 2. แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จานวน 10 แผน 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระ การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เป็นแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 3 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ 4. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการเรียนด้วย ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ซึ่งเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ตามวิธีของลิเคอร์ท (Likert) ซึ่งมี 5 ระดับ จานวน 10 ข้อ 3. การสร้างและการหาคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3.1 ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระ การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 การสร้างชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ผู้วิจัยได้ดาเนินการสร้างตามลาดับขั้นตอน ดังนี้ 3.1.1 ศึกษาหลักสูตร จุดมุ่งหมายของหลักสูตร ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของกระทรวงศึกษาธิการ 3.1.2 ศึกษาหลักการ ทฤษฎีจากเอกสาร ตารา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับชุดฝึกทักษะ เช่น หลักการสร้างชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพของปราณี จิณฤทธิ์ (2552) เพื่อเป็นแนวทางใน การสร้างชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ 3.1.3 วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระ การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เพื่อกาหนดเนื้อหา ปรากฏผลดังตาราง
  • 3. 56 ตารางที่ 4 วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด มาตรฐาน พ 4. 1 เห็นคุณค่าและมีทักษะใน การสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การป้องกันโรคและการสร้างเสริมสมรรถภาพ เพื่อสุขภาพ 1. อธิบายการติดต่อและวิธีการป้องกันการ แพร่กระจายของโรค 2. จาแนกอาหารหลัก 5 หมู่ 3. เลือกกินอาหารที่หลากหลายครบ 5 หมู่ ในสัดส่วนที่เหมาะสม 4. แสดงการแปรงฟันให้สะอาดอย่างถูกวิธี 5. สร้างเสริมสมรรถภาพทางกายได้ตาม คาแนะนา จากตารางข้างต้น จะเห็นได้ว่า สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและ การป้องกันโรค กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กาหนดตัวชี้วัด ดังนี้ พ 4.1 ป.3/1 อธิบายการติดต่อและวิธีการป้องกันการแพร่กระจายของโรค พ 4.1 ป.3/2 จาแนกอาหารหลัก 5 หมู่ พ 4.1 ป.3/3 เลือกกินอาหารที่หลากหลายครบ 5 หมู่ ในสัดส่วนที่เหมาะสม พ 4.1 ป.3/4 แสดงการแปรงฟันให้สะอาดอย่างถูกวิธี พ 4.1 ป.3/5 สร้างเสริมสมรรถภาพทางกายได้ตามคาแนะนา 3.1.4 วิเคราะห์ รวบรวมเนื้อหาเพื่อกาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ในการสร้างชุดฝึก ทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สามารถแบ่งเนื้อหาย่อยได้ดังนี้ 3.1.5 สร้างชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ให้ครอบคลุมเนื้อหาและ จุดประสงค์ที่กาหนด จานวน 10 ชุดแต่ละชุด มีองค์ประกอบดังนี้ ปก คานา คาชี้แจง สารบัญ คาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรม จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน บัตรคาสั่ง ใบความรู้ ใบกิจกรรม แบบทดสอบหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน เฉลยกิจกรรมและ บรรณานุกรม โดยเนื้อหา จานวน 10 ชุด มีดังนี้ ชุดฝึกทักษะที่ 1 โรคและการป้องกันโรค ชุดฝึกทักษะที่ 2 เรียนรู้เรื่องอาหาร
  • 4. 57 ชุดฝึกทักษะที่ 3 อาหารหลัก 5 หมู่ ให้ประโยชน์อย่างไร ชุดฝึกทักษะที่ 4 หลักในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ ชุดฝึกทักษะที่ 5 การเลือกซื้ออาหารและพฤติกรรมการรับประทานอาหาร ชุดฝึกทักษะที่ 6 หลักในการบริโภคอาหาร ชุดฝึกทักษะที่ 7 การดูแลรักษาร่างกาย ชุดฝึกทักษะที่ 8 การแปรงฟันให้สะอาดอย่างถูกวิธี ชุดฝึกทักษะที่ 9 การดูแลรักษาสุขภาพ ชุดฝึกทักษะที่ 10 การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย 3.1.6 นาชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่สร้างขึ้น เสนอผู้เชี่ยวชาญเพื่อ ตรวจสอบความถูกต้องและความเหมาะสม จานวน 5 ท่าน (รายละเอียดในภาคผนวก ก) โดยให้ ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเกี่ยวกับความถูกต้องของภาษา การจัดรูปแบบของชุดฝึกทักษะ ภาพประกอบ กิจกรรมและความสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้เพื่อนามาปรับปรุงแก้ไข โดยใช้แบบประเมินที่ ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ตามวิธีของลิ เคิร์ท (Likert) (วาโร เพ็งสวัสดิ์. 2551) มีเกณฑ์การประเมิน ดังนี้ คะแนน ช่วงคะแนน ความหมาย 5 4.51- 5.00 เหมาะสมมากที่สุด 4 3.51- 4.50 เหมาะสมมาก 3 2.51- 3.50 เหมาะสมปานกลาง 2 1.51- 2.50 เหมาะสมน้อย 1 1.00- 1.50 เหมาะสมน้อยที่สุด จากนั้นนาผลการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญมาหาค่าเฉลี่ย พบว่า ระดับคะแนนเฉลี่ย ของชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ่าเฉลี่ย 4.52 หมายความว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด 3.1.7 แก้ไขปรับปรุงตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ แล้วนาไปทดลองหาประสิทธิภาพ กับนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ 1) ขั้นตอนการหาประสิทธิภาพแบบรายเดี่ยว (1 : 1) ผู้วิจัยนาชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้จักดูแลร่างกายและ การป้องกันโรค กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ไปทดลองใช้ (Try out) กับนักเรียน
  • 5. 58 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 1 สังกัดเทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี จานวน 3 คน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 โดยสุ่มนักเรียนที่มีความสามารถแตกต่างกัน คือ นักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน กลุ่มละ 1 คน เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของชุดฝึกทักษะในด้าน รูปเล่ม เนื้อหา กิจกรรม ความยากง่ายของชุดฝึกทักษะ ซึ่งผลการหาประสิทธิภาพในครั้งนี้ พบว่า ได้ประสิทธิภาพเท่ากับ 65.56/63.33 และมีข้อบกพร่องที่ต้องปรับปรุงแก้ไข คือ ปรับกิจกรรมให้ สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ที่กาหนดในชุดฝึกทักษะ ปรับปรุงขนาดตัวอักษรให้เหมาะสมกับ ระดับชั้นของนักเรียน จากนั้นนาไปเสนอให้ผู้เชี่ยวชาญเพื่อขอคาแนะนาปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติม 2) ขั้นตอนการหาประสิทธิภาพแบบกลุ่มย่อย (1 : 10) ผู้วิจัยนาชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้จักดูแลร่างกายและ การป้องกันโรค กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ที่ปรับปรุงแล้วแก้ไขจากขั้นตอนที่ 1 แล้ว ไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 1 สังกัดเทศบาลนครแหลม ฉบัง จังหวัดชลบุรี จานวน 10 คน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 ที่ไม่ซ้ากับนักเรียนที่ทาการ ทดลองในครั้งที่ 1 โดยสุ่มนักเรียนที่มีความสามารถแตกต่างกัน คือ นักเรียนเก่ง 3 คน ปานกลาง 4 คน และนักเรียนอ่อน 3 คน ผลที่ได้จากการคานวณหาประสิทธิภาพ เท่ากับ 74.15/71.00 โดยมี ข้อบกพร่องที่ต้องปรับปรุงแก้ไข คือ ปรับปรุงแบบทดสอบย่อยในชุดฝึกทักษะที่ 4, 5 และ ชุดที่ 7 ให้มี ความยากง่ายที่เหมาะสม พร้อมทั้งตรวจสอบสีสัน ภาพประกอบให้น่าสนใจมากขึ้น 3) ขั้นตอนการหาประสิทธิภาพภาคสนาม (1 : 100) ผู้วิจัยนาชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้จักดูแลร่างกายและ การป้องกันโรค กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ที่ปรับปรุงแล้ว ไปทดลองใช้กับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 1 สังกัดเทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี จานวน 30 คน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 ซึ่งผลการหาประสิทธิภาพภาคสนาม (1 : 100) มีค่าประสิทธิภาพ เท่ากับ 83.37/81.11 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 1  / 2  = 80/80 ที่กาหนดไว้ สามารถนาไปใช้จริงกับกลุ่มตัวอย่างต่อไปได้ 3.1.8 จัดพิมพ์ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระ การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เป็นฉบับสมบูรณ์แล้วนาไป ทดลองหาประสิทธิภาพกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/1 โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 1 สังกัด เทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย จานวน 37 คน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 ตามแผนการทดลองต่อไป
  • 6. 59 3.2 แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทัน โรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทัน โรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ผู้วิจัย ดาเนินการสร้างตามลาดับขั้นตอน ดังนี้ 3.2.1 ศึกษาหลักสูตร จุดมุ่งหมายของหลักสูตร ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของกระทรวงศึกษาธิการ 3.2.2 ศึกษาทฤษฎี หลักการ แนวคิด และเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ แบบกลุ่มร่วมมือด้วยเทคนิค STAD รวมทั้งศึกษาคู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 3.2.3 กาหนดเนื้อหาที่จะนามาใช้ในการสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ที่เกิดจาก การวิเคราะห์สภาพปัญหาในการจัดการเรียนรู้ สาหรับการใช้ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในสาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณค่า และมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การป้องกันโรคและการสร้างเสริมสมรรถภาพ เพื่อสุขภาพ 3.2.4 เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ตามข้อ 3.2.3 โดยยึดตามลาดับขั้นตอนการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วมมือ เทคนิค STAD ซึ่งมีเนื้อหาทั้งหมด จานวน 10 แผน (ไม่รวมการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน) แต่ละแผนมีองค์ประกอบ ดังนี้ สาระ/มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระสาคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ชิ้นงาน/หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ 5 ขั้น (ขั้นสอน, ขั้นทากิจกรรมกลุ่ม, ขั้นตรวจสอบผลงานและ ทดสอบ, ขั้นสรุปบทเรียนและประเมินผลการทางานกลุ่ม) สื่อการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผล การเรียนรู้ กิจกรรมเสนอแนะ ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้บริหารและบันทึกผลหลัง การเรียนรู้ ดังรายละเอียด 1) โรคและการป้องกันโรค 2) เรียนรู้เรื่องอาหาร 3) อาหารหลัก 5 หมู่ ให้ประโยชน์อย่างไร 4) หลักในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ 5) การเลือกซื้ออาหารและพฤติกรรมการรับประทานอาหาร 6) หลักในการบริโภคอาหาร
  • 7. 60 7) การดูแลรักษาร่างกาย 8) การแปรงฟันให้สะอาดอย่างถูกวิธี 9) การดูแลรักษาสุขภาพ 10) การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย 3.2.5 นาแผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่สร้างขึ้น เสนอให้ผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 ท่าน (ชุดเดิม) โดยให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจความถูกต้องและ ความเหมาะสมของภาษา เนื้อหา และกิจกรรมการเรียนรู้ ความสอดคล้องของจุดประสงค์การ เรียนรู้ เพื่อนามาปรับปรุงแก้ไขและโดยใช้รูปแบบการประเมินและหาค่าแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ตามวิธีของลิเคิร์ท (Likert) (วาโร เพ็งสวัสดิ์. 2551) มีเกณฑ์การประเมิน ดังนี้ คะแนน ช่วงคะแนน ความหมาย 5 4.51- 5.00 เหมาะสมมากที่สุด 4 3.51- 4.50 เหมาะสมมาก 3 2.51- 3.50 เหมาะสมปานกลาง 2 1.51- 2.50 เหมาะสมน้อย 1 1.00- 1.50 เหมาะสมน้อยที่สุด ปรับปรุงแก้ไขตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญในด้านรายละเอียดการจัดกิจกรรม ผู้สอน ควรแบ่งกลุ่มให้ชัดเจน ปรับการใช้ภาษาให้เหมาะสม ตลอดจนตรวจสอบการเข้าไปใช้สื่อและแหล่ง การเรียนรู้ จากนั้นนาคะแนนที่ได้ มาหาค่าเฉลี่ย พบว่า แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้ ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ พลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.48 หมายถึง มีความเหมาะสมอยู่ในระดับ มาก 3.2.6 นาแผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ไปทดลองใช้ (Try Out) กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 1 สังกัดเทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี เพื่อหาข้อบกพร่องของแผนและปรับปรุงแก้ไข 3.2.7 จัดพิมพ์แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ฉบับจริง แล้วนาไปใช้จริงกับกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/1 โรงเรียนเทศบาล แหลมฉบัง 1 สังกัดเทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จานวน 37 คน
  • 8. 61 3.3 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 3 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง รู้จักดูแลร่างกายและ การป้องกันโรค กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ผู้วิจัยได้ ดาเนินการสร้างตามลาดับขั้นตอน ดังนี้ 3.3.1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 3.3.2 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเทคนิคการวัดประเมินผล กลุ่มสาระ การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ตลอดจนวิธีการสร้างแบบทดสอบที่ดี จากหนังสือการวิจัยเบื้องต้น เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างแบบทดสอบและกาหนดข้อคาถาม 3.3.3 วิเคราะห์เนื้อหา สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ และจานวนข้อสอบให้ สอดคล้องกัน 3.3.4 จัดทาตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างข้อคาถามกับจุดประสงค์เชิง พฤติกรรม แล้วจัดทาโครงร่างแบบทดสอบ 3.3.5 สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง รู้จักดูแลร่างกายและ การป้องกันโรค กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยแบบทดสอบเป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบแบบ 3 ตัวเลือก จานวน 1 ฉบับ 50 ข้อ ใช้เป็น แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน 3.3.6 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สร้างขึ้น เสนอผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 ท่าน เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงและความสอดคล้องและหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objective Congruence : IOC) ระหว่างข้อคาถามของแบบทดสอบกับจุดประสงค์เชิง พฤติกรรมของแบบทดสอบ แล้วเลือกข้อสอบที่มีค่าดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป โดย กาหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้ (สมนึก ภัททิยธนี. 2549) +1 เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบนั้นสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 0 เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อสอบนั้นสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ - 1 เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 3.3.7 ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่าน 3.3.8 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จานวน 50 ข้อ ไปทดลองใช้ (Try Out) กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 1 สังกัดเทศบาลนคร แหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี จานวน 30 คน เพื่อหาคุณภาพของแบบทดสอบ
  • 9. 62 3.3.9 นาผลการตรวจคะแนนที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย (p) และหาค่า อานาจจาแนก (B) โดยใช้วิธีของเบรนเนน (Brenan Index หรือ B - Index) (วาโร เพ็งสวัสดิ์. 2551) เกณฑ์ที่เลือกคือความยากง่าย (p) อยู่ระหว่าง 0.20 - 0.80 และค่าอานาจจาแนก (B) อยู่ ที่ระดับ 0.20 ขึ้นไป ได้แบบทดสอบที่ใช้ได้ทั้งหมด จานวน 30 ข้อ จากแบบทดสอบที่สร้างขึ้นทั้งหมด 50 ข้อ ที่มีค่าความยากง่าย (p) อยู่ระหว่าง 0.37 - 0.67 และค่าอานาจจาแนก (B) อยู่ระหว่าง 0.22 - 0.50 3.3.10 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่คัดเลือกไว้ จานวน 30 ข้อ ไปหา ค่าความเชื่อมั่น โดยวิธีของโลเวท (Lovett) (วาโร เพ็งสวัสดิ์. 2551) ได้ค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.76 3.3.11 จัดพิมพ์และนาแบบทดสอบที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพแล้ว จานวน 30 ข้อ ไปใช้จริงกับกลุ่มตัวอย่างต่อไป 3.4 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการเรียนด้วย ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ซึ่งเป็นมาตราส่วนประมาณ ค่า (Rating Scale) ตามวิธีของลิเคอร์ท (Likert) ซึ่งมี 5 ระดับ จานวน 10 ข้อ การสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ผู้วิจัยดาเนินการ ดังนี้ 3.4.1 ศึกษารูปแบบการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ จากเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3.4.2 สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จานวน 10 ข้อ ซึ่งเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) โดยกาหนดระดับความพึงพอใจเป็นมากที่สุด (5) มาก (4) ปานกลาง (3) น้อย (2) และน้อย ที่สุด โดยปรับใช้เกณฑ์ของธานินทร์ ศิลป์จารุ (2551) ดังนี้ 5 หมายถึง มีความพึงพอใจมากที่สุด 4 หมายถึง มีความพึงพอใจมาก 3 หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง 2 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อย 1 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อยที่สุด 3.4.3 นาแบบสอบถามความพึงพอใจที่สร้างขึ้นเสนอให้ผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน (ชุดเดิม) เพื่อพิจารณาความเหมาะสมของแบบสอบถาม ตรวจสอบความถูกต้องด้านเนื้อหาและภาษา
  • 10. 63 ความเที่ยงตรง และความสอดคล้องหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objective Congruence: IOC) ระหว่างข้อคาถามของแบบสอบถามกับจุดประสงค์แล้วเลือกข้อสอบที่มีค่าดัชนี ความสอดคล้องตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไปโดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ +1 เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบถามมีความถูกต้อง/เหมาะสม 0 เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อสอบถามมีความถูกต้อง/เหมาะสม - 1 เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบถามขาดความถูกต้อง/ไม่เหมาะสม 3.4.4 ปรับปรุงแก้ไขตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน โดยปรับปรุงแก้ไขเนื้อหา และภาษาที่ใช้แต่ละข้อให้สอดคล้องกันในแต่ละประเด็น เพิ่มข้อคาถามในบางตอนให้มีความชัดเจน ยิ่งขึ้น 3.4.5 นาแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนด้วยชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จานวน 30 คน ซึ่งเป็นขั้นตอนหลังการทดลอง ภาคสนาม (Field Testing) เพื่อหาค่าความเชื่อมั่น โดยการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (α -coefficient) ของครอนบาค (Cronbach) (บุญชม ศรีสะอาด. 2556) และจากการวิเคราะห์ พบว่า แบบสอบถาม ความพึงพอใจ มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.79 3.4.6 จัดพิมพ์แบบสอบถามความพึงพอใจฉบับจริงแล้วนาไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างต่อไป 4. รูปแบบการทดลอง การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi - Experimental Design) ซึ่งผู้วิจัยใช้กลุ่ม ทดลองกลุ่มเดียว มีการทดสอบก่อนเรียนหลัง (One Group Pre - test Post - test Design) (สมบัติ ท้ายเรือคา. 2553) ดังตารางที่ 5 ตารางที่ 5 แสดงรูปแบบการทดลองแบบ One Group Pre - test Post - test Design Pretest Treatment Posttest 1  X 2  สัญลักษณ์ที่ใช้ในแบบแผนการทดลอง 1  หมายถึง การทดสอบก่อนการทดลอง (Pre - test) X หมายถึง การจัดการเรียนการสอนด้วยชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 2  หมายถึง การทดสอบหลังการทดลอง (Post - test)
  • 11. 64 5. การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โดยมีขั้นตอนในการดาเนินการ ดังนี้ 1. นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการ เรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ไปทดสอบก่อนเรียน (Pre - test) กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/1 โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 1 สังกัดเทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จานวน 37 คน 2. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 10 แผน ให้แก่นักเรียน ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/1 โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 1 สังกัด เทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จานวน 37 คน โดยในระหว่างการจัดกิจกรรมแต่ละครั้ง ผู้วิจัยมีการทดสอบย่อยและเก็บคะแนนใบงานจากชุดฝึก ทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทั้ง 10 ชุด เพื่อวิเคราะห์หาประสิทธิภาพด้านกระบวนการ ( 1  ) ซึ่งผู้วิจัย ดาเนินการทดลองใช้ชุดฝึกทักษะตามแผนการจัดการเรียนรู้ระหว่างวันที่ 10 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ถึงวันที่ 9 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 ใช้เวลาทดลอง 12 ครั้ง ครั้งละ 1 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 12 ชั่วโมง ทั้งนี้รวมเวลาที่ทาการทดสอบก่อนเรียนและทดสอบหลังเรียนด้วย 3. หลังจากจัดการเรียนการสอนตามชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจ สุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เสร็จสิ้นลงนาแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนไปทดสอบหลังเรียน (Post - test) กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3/1 โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 1 สังกัดเทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ปีการศึกษา 2560 จานวน 37 คน จากนั้นนาผลการทดสอบไปหาค่าประสิทธิภาพด้านผลลัพธ์ ( 2  ) และเปรียบเทียบ กับผลการทดสอบก่อนเรียน 4. เมื่อทาการทดสอบหลังเรียน (Post - test) แล้วให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบ ถามความพึงพอใจ จานวน 10 ข้อ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นในช่องที่ตรง กับระดับความพึงพอใจของนักเรียน เมื่อดาเนินการเสร็จแล้วผู้วิจัยนาผลการตอบแบบสอบถามมา วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วนาไปเทียบกับเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ระยะเวลาในการดาเนินการจัดการเรียนการสอน โดยใช้ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มี รายละเอียดดังตารางที่ 6
  • 12. 65 ตารางที่ 6 แสดงระยะเวลาในการดาเนินการจัดการเรียนการสอน โดยใช้ชุดฝึกทักษะสร้างเสริม สุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 แผนที่ เรื่อง วัน/เดือน/ปี เวลา (ชั่วโมง) – ปฐมนิเทศและทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนก่อนเรียน เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ 10 พฤศจิกายน 2560 1 1 โรคและการป้องกันโรค 17 พฤศจิกายน 2560 1 2 เรียนรู้เรื่องอาหาร 24 พฤศจิกายน 2560 1 3 อาหารหลัก 5 หมู่ ให้ประโยชน์อย่างไร 1 ธันวาคม 2560 1 4 หลักในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ 8 ธันวาคม 2560 1 5 การเลือกซื้ออาหารและพฤติกรรม การรับประทานอาหาร 15 ธันวาคม 2560 1 6 หลักในการบริโภคอาหาร 22 ธันวาคม 2560 1 7 การดูแลรักษาร่างกาย 29 ธันวาคม 2560 1 8 การแปรงฟันให้สะอาดอย่างถูกวิธี 5 มกราคม 2561 1 9 การดูแลรักษาสุขภาพ 12 มกราคม 2561 1 10 การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย 19 มกราคม 2561 1 – สรุปความรู้และทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหลังเรียน เรื่อง รู้จัก ดูแลร่างกายและป้องกันโรค 26 มกราคม 2561 1 รวม 12 6. การวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วนามาวิเคราะห์ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1. หาค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (X ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของคะแนนที่ได้จากชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ และคะแนน จากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน - หลังเรียน 2. วิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
  • 13. 66 2.1 หาค่าความยากง่าย (p) และหาค่าอานาจจาแนก (B) โดยใช้วิธีของเบรนเนน (Brenan Index หรือ B - Index) (วาโร เพ็งสวัสดิ์. 2551) 2.2 หาค่าความเชื่อมั่น โดยวิธีของโลเวท (Lovett) (วาโร เพ็งสวัสดิ์. 2551) 3. วิเคราะห์หาค่าประสิทธิภาพของชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจ สุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ตามเกณฑ์ 80/80 โดยใช้สูตร E1/E2 4. วิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการใช้ ชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ พลศึกษา ก่อนและหลังเรียนโดยการหาค่าเฉลี่ย (X ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของคะแนน ที่ได้จากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนและทดสอบความแตกต่างโดย ใช้การทดสอบค่า t ( t - test แบบ Dependent Samples) 5. วิเคราะห์ความพึงพอใจ ที่มีต่อชุดฝึกทักษะสร้างเสริมสุขภาพ เรื่อง รู้ทันโรคภัย ใส่ใจ สุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการหาค่าเฉลี่ย (X) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยกาหนดระดับความพึงพอใจเป็น มากที่สุด (5) มาก (4) ปานกลาง (3) น้อย (2) และน้อยที่สุด (1) โดยปรับใช้เกณฑ์ของธานินทร์ ศิลป์จารุ (2551) ดังนี้ 5 หมายถึง มีความพึงพอใจมากที่สุด 4 หมายถึง มีความพึงพอใจมาก 3 หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง 2 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อย 1 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อยที่สุด 7. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ดังนี้ 1. ร้อยละ (Percentage) ใช้สูตรดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2554) 100 N f P   เมื่อ P แทน ร้อยละ f แทน ความถี่ที่ต้องการแปลงให้เป็นร้อยละ N แทน จานวนความถี่ทั้งหมด
  • 14. 67 2. ค่าเฉลี่ย (Arithmetic Mean) ใช้สูตรดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2554) N X X   เมื่อ X แทน ค่าเฉลี่ย X แทน ผลรวมคะแนนทั้งหมด N แทน จานวนคะแนนในกลุ่ม 1. 3. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใช้สูตรดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2554) 2 2 N X ( X) S.D. N(N 1)      เมื่อ S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน X แทน ข้อมูลแต่ละจานวน N แทน จานวนข้อมูลทั้งหมด  แทน ผลรวม สถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพของแบบทดสอบ 1. ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) เป็นการหาความเที่ยงตรง (Validity) ของเนื้อหา และความสอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์ ใช้สูตรดังนี้ (สมบัติ ท้ายเรือคา. 2553)  R IOC N เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้อง R แทน ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด N แทน จานวนผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด
  • 15. 68 2. ค่าความยากง่าย (p) ของแบบทดสอบ ใช้สูตร ดังนี้ (วาโร เพ็งสวัสดิ์. 2551) p = N R เมื่อ p แทน ความยากง่ายของข้อสอบ R แทน จานวนผู้ตอบถูก N แทน จานวนผู้เข้าสอบทั้งหมด 3. ค่าอานาจจาแนก (B) ของแบบทดสอบ โดยใช้สูตรดัชนีค่าอานาจจาแนกของ เบรนแนน (Brennan) ดังนี้ (วาโร เพ็งสวัสดิ์. 2551) 2 n L 1 n U B   เมื่อ B แทน ค่าอานาจจาแนก U แทน จานวนผู้รอบรู้หรือสอบผ่านเกณฑ์ที่ตอบถูก L แทน จานวนผู้ไม่รอบรู้หรือสอบไม่ผ่านเกณฑ์ที่ตอบถูก n1 แทน จานวนผู้รอบรู้หรือสอบผ่านเกณฑ์ n2 แทน จานวนผู้ไม่รอบรู้หรือสอบไม่ผ่านเกณฑ์ 4. ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ โดยวิธีของโลเวท (Lovett) โดยใช้สูตร ดังนี้ (วาโร เพ็งสวัสดิ์. 2551) rcc =        2 C) i (X 1) (k 2 X i X k 1 เมื่อ rcc แทน ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ k แทน จานวนข้อสอบ Xi แทน คะแนนของแต่ละคน  i X แทน ผลรวมคะแนนของนักเรียนแต่ละคน  2 X แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละตัวยกกาลังสอง C แทน คะแนนเกณฑ์หรือจุดตัดของแบบทดสอบ
  • 16. 69 5. ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามวัดความพึงพอใจ โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่า ( -Coefficient) วิธีของครอนบัค(Cronbach) (ชูศรี วงศ์รัตนะ. 2549) ดังนี้  =              2 S 2 S 1 1 k t i k เมื่อ  แทน ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ k แทน จานวนข้อสอบ  2 i S แทน ความแปรปรวนของคะแนนแต่ละข้อ 2 t S แทน ความแปรปรวนของคะแนนทั้งฉบับ 6. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ใช้สถิติ ทดสอบค่าที (t - test) แบบกลุ่มตัวอย่างไม่เป็นอิสระต่อกัน (Dependent samples t - test analysis) ใช้สูตรดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2554)       2 2 D t n D ( D) (n 1) เมื่อ t แทน ค่าสถิติที่ใช้เปรียบเทียบกับค่าวิกฤตเพื่อทราบ ความมีนัยสาคัญ D แทน ค่าผลต่างระหว่างคู่คะแนน n แทน จานวนกลุ่มตัวอย่างหรือจานวนคู่คะแนน D  แทน ผลรวมของความแตกต่างจากการเปรียบเทียบกัน เป็นรายบุคคลระหว่างคะแนนที่ได้รับจากการทดสอบ ก่อนเรียนและทดสอบหลังเรียน
  • 17. 70 7. การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของชุดฝึกทักษะ ตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ 80/80 ใช้สูตรดังนี้ (ชัยยงค์ พรหมวงศ์. 2556) สูตร 1 E1 = 100 A N X   เมื่อ E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ X แทน คะแนนรวมของแบบฝึกปฏิบัติกิจกรรมหรืองานที่ทาระหว่าง เรียน A แทน คะแนนเต็มของแบบฝึกปฏิบัติทุกชิ้นรวมกัน N แทน จานวนผู้เรียน สูตร 2 E2 = 100 B N F   เมื่อ E2 แทน ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ F แทน คะแนนรวมของผลลัพธ์ของการประเมินหลังเรียน B แทน คะแนนเต็มของการประเมินสุดท้าย (ผลการสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหลังเรียน) N แทน จานวนผู้เรียน