SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมGUI
ในอดีตคอมพิวเตอร์ใช้ในระบบปฏิบัติการเป็นแบบเท็กซ์โหมด โดยเฉพาะ
คอมพิวเตอร์ประเภทไมโครคอมพิวเตอร์ ในยุคเริ่มต้นจะใช้ระบบปฏิบัติการ Ms
– Dos ซึ่งเป็นของบริษัทไมโครซอฟต์การพัฒนาโปรแกรมจะไม่มีเครื่องมือมา
ช่วยในการพัฒนาเหมือนในปัจจุบัน โปรแกรมที่จะได้เป็นแบบเท็กซ์โหมด
(Text Mode) การนามาใช้งานก็ไม่สะดวกจึงทาให้มีข้อจากัดในการพัฒนา
ค่อนข้างมากเนื่องจากการพัฒนาโปรแกรมบนระบบปฏิบัติการที่เป็นเท็กซ์โหมด
(Text Mode) ผู้พัฒนาจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในการเขียนคาสั่งของภาษาที่ใช้
ในการเขียนโปรแกรมเป็นอย่างดี ทาให้การพัฒนาโปรแกรมเป็นไปด้วยความ
ยากลาบาก และมีคนจานวนน้อยที่มีความสามารถในการพัฒนาเพื่อนาไปใช้ใน
เชิงธุรกิจได้การข้อจากัดของระบบปฏิบัติการ MS-DOS บริษัทไมโครซอฟต์จึง
ได้พัฒนาระบบปฏิบัติการตัวใหม่ออกมาและเป็นที่นิยมในปัจจุบัน คือ
ระบบปฏิบัติการ Window เช่น Windows 98, Windows ME, Windows XP,
เป็นต้น
ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการที่อานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้งานทาให้การใช้งาน
ง่ายขึ้น โดยการเพิ่มความสามารถในส่วนการติดต่อกับผู้ใช้ ซึ่งเรียกว่า “User
Interface” เข้าไปในการพัฒนาโปรแกรมต่างๆ ที่ทางานบนระบบปฏิบัติการ
Windows จะเป็นแบบ Graphic User Interface (GUI) คือ มีการนาเมาส์มา
ใช้ในการเลือกคาสั่ง มีการนาสัญลักษณ์ (Icon) ต่างๆ มาใช้สื่อความหมายใน
การใช้งานโปรแกรม มีการโต้ตอบกับผู้ใช้ในลักษณะต่างๆ ทั้งรูปภาพ เสียง
รวมถึงภาพเคลื่อนไหว ซึ่งแตกต่างจากรูปแบบเดิมที่ใช้งานบน
ระบบปฏิบัติการเท็กซ์โหมด รูปแบบของคาสั่งที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมจะ
เป็นแบบการพิมพ์คำสั่งทีละบรรทัด หรือเรียกว่ำ “Command Line”
ผู้ใช้โปรแกรมจะต้องทำกำรเรียนรู้และจดจำรูปแบบของคำสั่งให้ถูกต้อง
แม่นยำ จึงจะใช้งำนโปรแกรมนั้นได้เป็นอย่ำงดี กำรทำงำนของโปรแกรมก็จะ
ประมวลผลตำมคำสั่งทีละบรรทัดโดยตัวแปลภำษำ เช่น Interpreter
หรือ Complier จะทำหน้ำที่แปลคำสั่งให้เป็นภำษำเครื่อง
จากการเปลี่ยนแปลงของระบบปฏิบัติการจากเท็กซ์โหมดเป็นกราฟิก
โหมดในปัจจุบันส่งผลให้เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนามีความหลากหลายมาก
ขึ้น และมีเครื่องมือที่ทางานให้สามารถออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ให้เป็น
แบบ GUI ทาให้ภาษาคอมพิวเตอร์ที่เป็นแบบเท็กซ์โหมดนามาใช้เป็นพื้นฐาน
สาหรับผู้เริ่มต้นในการเขียนโปรแกรมในการเรียนรู้รูปแบบของคาสั่ง และ
คาสั่งที่เป็นพื้นฐานในการเขียนโปรแกรม เช่น ภาษาปาสคาล ภาษาซี
ภาษาซี ภาษาเบสิก เป็นต้น ส่วนการพัฒนาโปรแกรมในปัจจุบันมีโปรแกรม
สาเร็จรูปมากมายที่มีความสามารถในการสร้างโปรแกรมแบบ GUI เช่น
Visual Basic, Visual FoxPro, Visual C++, Visual Interdev ซึ่งเป็นโปรแกรม
Microsoft Visual Studio โปรแกรม Visual Basic เป็นโปรแกรมที่เหมาะใน
การฝึกทักษะการเขียนโปรแกรมระบบปฏิบัติการ GUI นอกจากนี้โปรแกรม
Visual Basic ยังเป็นโปรแกรมสาเร็จรูปที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายใน
การพัฒนาโปรแกรมที่เป็นแบบ Stand Alone และ Client/Server
ความเป็นมาของโปรแกรม Visual Basic
ภาษา Basic ถูกสร้างในปี ค. ศ. 1963 โดย Hohn Keneny และ Thomas Kurtz
ที่วิทยาลัย Dartmouth ในเบื้องต้นพวกเขามีจุดมุ่งหมายในการพัฒนาภาษา Basic ขึ้น
เพี่อใช้ในการสอนแนวในการเขียนโปรแกรม โดยเน้นที่มีรูปแบบง่ายๆ เพื่อสะดวก
ในการใช้งาน ใน 1970 Microsoft ได้เริ่มผลิตตัวแปรภาษา Basic ใน Rom ขึ้น
เช่น Chip Radio Sheek TRS-80 ต่อมาได้พัฒนาเป็น GWBasic ซึ่งเป็น Interpreter
ภาษาที่ใช้กับ Ms-Dos และในปี 1982 Microsoft Quick Basic ได้รับการพัฒนาขึ้น
โดยเพิ่มความสามารถในการรันโปรแกรมให้เป็น Executed Program รวมทั้งทาให้
Basic มีความเป็น “Structured Programming” มากขึ้น โดยการตัด Line Number ทิ้ง
ไปเพื่อลบข้อกล่าวหาว่าเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีโครงสร้างในลักษณะ Spaghetti
Code มาใช้รูปแบบของ Subprogram และ User Defined รวมทั้งการใช้ Structured
Data Type และการพัฒนาการใช้งานด้านกราฟิกให้มีการใช้งานในระดับที่สูงขึ้น
รวมทั้งมีการใช้เสียงประกอบได้เหมือนกับภาษาคอมพิวเตอร์อื่นๆ เช่น Turbo C และ
Turbo Pascal เป็นต้น
Visual Basic เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมในการนามา
ใช้งานพัฒนาโปรแกรมบนระบบ Windows เนื่องจากเป็นภาษา
คอมพิวเตอร์ที่ใช้เทคโนโลยีในลักษณะ Visualize นั่นก็คือจะสะดวกใน
การหยิบเครื่องไม้เครื่องมือที่โปรแกรมได้จัดเตรียมไว้ให้สาหรับ
ออกแบบหน้าจอและสิ่งต่างๆ สาหรับในการเขียนโปรแกรมให้เรียบร้อย
ซึ่งแตกต่างจากสมัยก่อนเวลาจะออกแบบหน้าจอก็ยังคงต้องมานั่งเขียน
Source Code ให้ลาบาก
Visual Basic เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาโปรแกรมขึ้นใช้งาน
ที่ใช้ได้ตั้งแต่ระดับต้น เพื่อใช้สร้างโปรแกรมง่ายๆ บน Windows หรือ
โปรแกรมเมอร์ระดับกลางที่เรียกใช้ฟังก์ชันต่างๆ ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ตลอดจนโปรแกรมเมอร์ระดับมืออาชีพที่จะพัฒนา
โปรแกรมในระดับสูงโดยการใช้Object Linking and Embedding
(OLE) และ Application Programming Interface (API) ของระบบ
Windows มาประกอบการเขียนโปรแกรม Visual Basic หรือ VB
เป็นโปรแกรมภาษาแบบ GUI สร้างโดยบริษัทไมโครซอฟต์
โปรแกรมนี้เป็นหนึ่งในโปรแกรมภาษาฮิตสาหรับโปรแกรมที่ใช้ใน
ด้านธุรกิจ
จุดเด่นของโปรแกรม Visual Basic
Visual Basic เป็นเครื่องมือในการพัฒนาโปรแกรมบน Microsoft Window 95,
98, ME, XP เป็นต้น หรือระบบปฏิบัติการตระกูล Windows ที่พัฒนาโดยบริษัท
ไมโครซอฟต์ตัวอื่นๆ ซึ่งถือเป็นคอมไพเลอร์ (Complier) ที่ได้รับความนิยมอย่าง
แพร่หลายในปัจจุบัน
Visual Basic ประกอบได้ด้วยเครื่องมือต่างๆ ที่ช่วยในการพัฒนาโปรแกรม
สามารถทาได้ด้วยความรวดเร็ว หรือเรียกกันว่า Rapid Application Development
(RAD) อีกทั้งยังช่วยให้สามารถเขียนโปรแกรมได้อย่างง่ายดาย เนื่องจากการเขียน
โปรแกรมมีพื้นฐานมาจากภาษา BASIC ซึ่งทาให้ผู้ที่ไม่เคยเขียนโปรแกรมมาก่อน
สามารถเรียนรู้ได้ง่ายขึ้น การเขียนโปรแกรมจะอาศัยหลักการของ Object Oriented ทา
ให้ประหยัดเวลาในการเขียนโปรแกรมลงได้มาก โปรแกรม Visual Basic สามา
นาไปใช้ในการพัฒนาโปรแกรมด้านต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย เช่น การเขียน
โปรแกรมการบริหารฐานข้อมูล การเขียนโปรแกรมด้วยอินเทอร์เน็ต การเขียน
โปรแกรมเชิงวัตถุ เป็นต้น
ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม Visual Basic
ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม Visual Basic 6.0 มีดังนี้
ใส่แผ่นซีดีรอมแผ่นติดตั้ง Visual Studio ในไดรว์ซีดีรอม รอสักครู่
โปรแกรมติดตั้งจะเริ่มทางานอัตโนมัติ(AutoRun)
ขั้นตอนในการใช้โปรแกรม
ลงทะเบียน พร้อมทั้งกรอกข้อมูลต่างๆ ให้เรียบร้อย
เลือกการติดตั้งแบบ Custom ซึ่งจะให้ความสะดวกในการติดตั้งมากขึ้น
เลือกตาแหน่งของโฟลเดอร์ที่จะติดตั้ง Common Files ซึ่งเป็นที่เก็บไฟล์
ที่เครื่องมือต่างๆ ของ Visual Studio จะใช้งานร่วมกัน เช่น รูปภาพ
ตัวอย่างแอพพลิเคชั่น และเอกสารชนิดต่างๆ เป็นต้น
คลิก Continue เพื่อเข้าสู่ขั้นตอนการติดตั้ง
การติดตั้งโปรแกรมถ้าเลือกแบบ Custom จะสามารถเลือกเฉพาะ
โปรแกรมที่ต้องการจะใช้งานได้ ในที่นี้จะติดตั้งเฉพาะ Visual Basic
และ Components ที่ต้องการได้
เมื่อติดตั้งตัวเลือกต่างๆ แล้วชุดติดตั้งจะก๊อปปี๊ไฟล์ต่างๆ ที่จาเป็น ซึ่งใช้
เวลาพอสมควรให้รอจนกว่าโปรแกรมจะติดตั้งครบ 100%
เมื่อติดตั้งครบ 100% ชุดติดตั้งจะให้ทาการ Restart เครื่องใหม่
เมื่อบู๊ตขึ้นมำอีกครั้ง ชุดติดตั้งโปรแกรมจะเรียกหำชุดติดตั้ง MSDN
ซึ่งจะเป็นแผ่นที่เก็บเอกสำร และตัวอย่ำงของโปรแกรม ถ้ำหำเรำไม่มี
แผ่นนี้ก็ให้คลิก Exit เพื่อยกเลิกกำรติดตั้ง แต่เรำจะไม่สำมำรถใช้
เมนู Help ของ Visual Basic ได้
การติดตั้งชุดแก้ไขความผิดพลาด (Service Pack)
ปกติซอฟต์แวร์ที่ผลิตออกมาขายจะผ่านการทดสอบเป็นอย่างดี แต่ความ
ผิดพลาดหรือที่เราเรียกว่าบั๊ก (Bug) ก็มักจะหลุดออกมาเสมอ ดังนั้น
บริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์จึงมักจะออกชุดแก้ไขออกมาติดตามซึ่งมีชื่อเรียกต่างๆ
กัน เช่น Service Pack, Patch, BugFix เป็นต้น ซึ่งจะช่วยขจัดความผิดพลาด
ต่างๆ ที่ผู้ใช้งานจากทั่วโลกหรือทีมงานที่พัฒนาค้นพบได้โดยปกติจะเป็นการ
แจกฟรี
สาหรับ Visual Basic และเครื่องมือทั้งชุดของ Visual Studio จะมีชุด
แก้ไขให้ดาวน์โหลดฟรีที่เว็บไซต์ของไมโครซอฟต์ที่
http://msdn.microsofh.com/vstudio/downloads/updates/sp/ ซึ่งมีให้เลือกดาวน์
โหลดได้ทั้งชุดแก้ไขของ Visual Basic โดยเฉพาะ Visual Studio ทั้งหมด เช่น
MDAC 2.7 Visual Basic 6.0 Service Pack 6 เป็นต้น

More Related Content

What's hot

การใช้โปรแกรม Visual basic
การใช้โปรแกรม Visual basicการใช้โปรแกรม Visual basic
การใช้โปรแกรม Visual basicPongpan Pairojana
 
Unit 2 Java Programming
Unit 2 Java ProgrammingUnit 2 Java Programming
Unit 2 Java ProgrammingIrinApat
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นชาย นนท์
 
การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงานThaNit YiamRam
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetBeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetBeansการเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetBeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetBeansNomjeab Nook
 
Powerpoint บทที่ 3
Powerpoint บทที่ 3Powerpoint บทที่ 3
Powerpoint บทที่ 3patchareepoim
 
ความเป็นมาของภาษาC
ความเป็นมาของภาษาCความเป็นมาของภาษาC
ความเป็นมาของภาษาCWittaya Kaewchat
 
Lesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptLesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptskiats
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นNattapon
 
โปรแกรม Microsoft visual basic
โปรแกรม Microsoft visual basicโปรแกรม Microsoft visual basic
โปรแกรม Microsoft visual basicWisawachitComputerWork
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans และการสร้าง App Android
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans และการสร้าง App Androidการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans และการสร้าง App Android
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans และการสร้าง App AndroidAod Parinthorn
 
Netbeans and Android Appliation
Netbeans and Android AppliationNetbeans and Android Appliation
Netbeans and Android AppliationSedthawoot Pitapo
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลขใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลขNattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นNattapon
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeansการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetbeansWasin Kunnaphan
 

What's hot (20)

การใช้โปรแกรม Visual basic
การใช้โปรแกรม Visual basicการใช้โปรแกรม Visual basic
การใช้โปรแกรม Visual basic
 
Unit 2 Java Programming
Unit 2 Java ProgrammingUnit 2 Java Programming
Unit 2 Java Programming
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
 
การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงาน
 
Dev cusing (1)
Dev cusing (1)Dev cusing (1)
Dev cusing (1)
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetBeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetBeansการเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetBeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetBeans
 
Know1 2
Know1 2Know1 2
Know1 2
 
Powerpoint บทที่ 3
Powerpoint บทที่ 3Powerpoint บทที่ 3
Powerpoint บทที่ 3
 
ความเป็นมาของภาษาC
ความเป็นมาของภาษาCความเป็นมาของภาษาC
ความเป็นมาของภาษาC
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbean
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeanการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbean
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbean
 
Lesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptLesson1 programing concept
Lesson1 programing concept
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
 
โปรแกรม Microsoft visual basic
โปรแกรม Microsoft visual basicโปรแกรม Microsoft visual basic
โปรแกรม Microsoft visual basic
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans และการสร้าง App Android
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans และการสร้าง App Androidการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans และการสร้าง App Android
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans และการสร้าง App Android
 
Lazy Dev Helper 2004
Lazy Dev Helper 2004Lazy Dev Helper 2004
Lazy Dev Helper 2004
 
Netbeans and Android Appliation
Netbeans and Android AppliationNetbeans and Android Appliation
Netbeans and Android Appliation
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลขใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
 
Gnewvb01 090401013958-phpapp01
Gnewvb01 090401013958-phpapp01Gnewvb01 090401013958-phpapp01
Gnewvb01 090401013958-phpapp01
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeansการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeans
 

Similar to Powerpoint บทที่ 1

ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์N'Name Phuthiphong
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5wipawanmmiiww
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSiriporn Kusolpiamsuk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ธนาคารความดี ไฟล์ 2
โครงงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ธนาคารความดี ไฟล์ 2โครงงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ธนาคารความดี ไฟล์ 2
โครงงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ธนาคารความดี ไฟล์ 2Pattamaporn Kheawfu
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ธนาคารความดี
โครงงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ธนาคารความดีโครงงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ธนาคารความดี
โครงงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ธนาคารความดีLaughter' Meepoom
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2Kamonrut Deeporum
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSiriporn Kusolpiamsuk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ุุ---
โครงงานคอมพิวเตอร์ุุ---โครงงานคอมพิวเตอร์ุุ---
โครงงานคอมพิวเตอร์ุุ---1234 Payoon
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือMintra Pudprom
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือSoldic Kalayanee
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือKaRn Tik Tok
 
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docxeruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docxssuser07f67b
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาVisiene Lssbh
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 

Similar to Powerpoint บทที่ 1 (20)

ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ธนาคารความดี ไฟล์ 2
โครงงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ธนาคารความดี ไฟล์ 2โครงงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ธนาคารความดี ไฟล์ 2
โครงงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ธนาคารความดี ไฟล์ 2
 
689 2
689 2689 2
689 2
 
689 2
689 2689 2
689 2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ธนาคารความดี
โครงงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ธนาคารความดีโครงงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ธนาคารความดี
โครงงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ธนาคารความดี
 
689 2
689 2689 2
689 2
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ุุ---
โครงงานคอมพิวเตอร์ุุ---โครงงานคอมพิวเตอร์ุุ---
โครงงานคอมพิวเตอร์ุุ---
 
689 2
689 2689 2
689 2
 
00124
0012400124
00124
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docxeruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 

Powerpoint บทที่ 1