SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2558
ชื่อโครงงาน เทคนิคในการเลือกคณะและจัดอันดับเพื่อเข้ามหาวิทยาลัย
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นาย ธีรศานต์ สนใจ เลขที่ 35 ชั้น ม.6 ห้อง 14
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นาย ธีรศานต์ สนใจ เลขที่35
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย)
การเตรียมตัวให้พร้อม มุ่งสู่การเป็นนักศึกษา
ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ)
Getting readytobe the undergraduate students
ประเภทโครงงานโครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายธีรศานต์ สนใจ
ชื่อที่ปรึกษาครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน1เดือน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เนื่องจากนักเรียนไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 ทั่วประเทศจะต้องทาการทดสอบเพื่อเข้ามหาวิทยาลัย
ช่องทางเข้าสู่มหาวิทยาลัยของไทยมีหลายทาง ประการแรกคือโควตาภูมิภาค ภาคเหนือเป็นของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นของมหาวิทยาลัยขอนแก่นภาคใต้เป็นของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประการที่สองคือรับตรง
ซึ่งแต่ละมหาวิทยาลัยจะมีการสอบเป็นของตนเอง ประการที่สามคือระบบแอดมิชชัน เป็นของส่วนกลาง
กระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้ดูแล ซึ่งจะต้องใช้คะแนนสอบจาก GATPAT O-net
และเกรดรวมขณะที่กาลังศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ถ้าไม่สามารถสอบเข้าศึกษาประการที่หนึ่งและสองได้
ก็จาเป็นต้องมาใช้ระบบแอดมิชชัน และนี่ก็เป็นที่มาของโครงงานนี้ การเลือกคณะให้เหมาะสมกับตนเอง
เทคนิคการจัดอันดับคณะเวลาเลือกตอนสมัครระบบแอดมิชชัน สิ่งแรกที่ควรคานึงถึงความถนัดของตนเอง
เพราะความถนัดของตนเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดสิ่งอื่นตามมา ถ้าเราไม่รู้จักตนเอง เลือกสิ่งที่ผิด อนาคตก็จะเกิดปัญหา
บ้างก็ซิ่วเพื่อไปเอาคณะที่ตนอยากได้ บ้างก็ทนเรียนต่อไปเพื่อให้จบแต่ตนเองนั้นไม่มีความสุขขณะกาลังศึกษา
เพราะฉะนั้นโครงงานฉบับนี้จึงเป็นเหมือนแสงนาทางให้แก่นักเรียนที่ยังไม่รู้จักตนเองหรือกาลังสับสน
วัตถุประสงค์
1. ต้องการแนะนาขั้นตอนการเตรียมตัวสอบของนักเรียน
2. เพื่อให้นักเรียนรู้จักตนเอง
3. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง
4. เพื่อลดระยะเวลาการเตรียมตัวของนักเรียน
3
5. เสริมสร้างความมั่นใจให้กับนักเรียน
ขอบเขตโครงงาน
โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6
ซึ่งก็สามารถรวมไปถึงนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายได้ด้วย เช่น ม.4และ ม.5เพราะการเตรียมตัวภายใน 1ปี
อาจจะมีความผิดพลาดเกิดขึ้น
หลักการและทฤษฎี
เคล็ดลับการเตรียมตัวสอบเข้ามหาวิทยาลัย
1. ปิดสื่อรอบตัวเช่น โทรศัพท์ โทรทัศน์ เพื่อการมีสมาธิในการอ่านหนังสือ
2. นั่งสมาธิ 10 นาทีเพื่อสมาธิที่ดีขึ้น
3. อ่านหนึ่งรอบ แล้วสรุปด้วยภาษาของตนเอง
4. ดูความถูกต้องจากในหนังสือ
5. อ่านซ้าอีกหนึ่งรอบ
6. สรุปอีกรอบ เปิดหนังสืออ่าน
7. ถ้าทาเป็นผังมโนทัศน์ จะเข้าใจมากขึ้น
8. นาเอกสารจากทั้งโรงเรียน และติวเตอร์ มาช่วยในการสรุป
9. อ่านส่วนที่ครูเน้นให้มากกว่าส่วนอื่น อย่างน้อย 3 ครั้ง/คาบ
10. ก่อนวันสอบ ห้ามหักโหมอ่านหนังสือจนดึก เพราะจะทาให้สมองเกิดความล้า
Cre. http://1.bp.blogspot.com/-VcyRsurPmWk/UNrJIPS_E5I/AAAAAAAAAAU/DpRS0jPvxlI/s1600/556352_309007715866214_2013205993_n.jpg
วิธีอ่านหนังสือ
1. คนที่อ่านหนังสือคนเดียวมักจะเสียเปรียบคนที่อ่านเป็นกลุ่มมักจะได้เปรียบเนื่องจากอ่านคนเดียวอาจเข้าใจคลาดเคลื่อน
หรืออ่านไม่ตรงจุด หรือ(บางคน)อาจอ่านไม่รู้เรื่อง ถ้าอ่านเป็นกลุ่มโอกาสอ่านผิดจุดจะยากขึ้น และยังพอช่วยกันฉุดได้
2. ควรอ่านเองที่บ้านก่อน 1รอบ และจับกลุ่มติว เสร็จแล้วกลับไปอ่านทบทวนเองที่บ้านอีก 1รอบ
3. ผลัดกันติว ใครเข้าใจเรื่องใดมากที่สุดก็ให้เป็นผู้ติวข้อสาคัญ อย่าคิดแต่จะเป็นผู้รับอย่างเดียว จงคิดว่าเป็นผู้ให้ก่อน
แล้วคนอื่นก็จะให้ตอบเอง
4. ผู้ติวจะได้ทบทวนเนื้อหา และจะรู้ว่าตัวเองขาดอะไร บกพร่องอะไร จากคาถามของเพื่อนที่สงสัย
บางครั้งเพื่อนก็สามารถเสริมเติมเต็มในบางจุดที่ผู้ติวขาดหายได้
5. การติวจะทาให้เกิดการ Shareความคิด และฝึกวิธีทางานร่วมกับผู้อื่น ช่วยพัฒนาทั้งด้าน IQ และ EQ (อ่านเองจะพัฒนาแต่IQ)
4
หลักการเตรียมตัวอ่านหนังสืออย่างจริงจัง
ข้อที่1. ต้องใส่ใจเรื่องรายละเอียดเล็กๆน้อยๆก่อนดูว่าวิชาไหนที่เราต้องสอบเป็นอันดับแรกๆ หยิบวิชานั้นขึ้นมาก่อนเลย
เตรียมไว้ไม่ว่าจะเป็นหนังสือที่เกี่ยวกับวิชาที่จะสอบ เอกสารต่างๆ หรือแนวข้อสอบ
ข้อที่2. แยกหมวดหมู่แต่ละวิชา ก่อน-หลัง แล้วหาที่วางไว้อย่างเป็นระเบียบ
ข้อที่3. เตรียมดินสอ/ปากกา สมุด และปากกาเน้นข้อความ
ข้อที่4. เริ่มอ่านวิชาที่จะต้องสอบก่อนเป็นวิชาแรกเลย ตรงนี้แหละสาคัญมาก ห้ามอ่านแล้วก็อ่านเพื่อให้จบแบบผ่านๆ
เพราะต่อให้อ่าน 10รอบ ก็ทาข้อสอบไม่ได้ อ่านสัก 100รอบก็ไม่ช่วยอะไร อ่านแล้วต้องทาความเข้าใจไปด้วย
ตรงไหนที่คิดว่าสาคัญๆ ก็เน้นตรงจุดนั้นไว้อาจจะใช้วิธีการจดบันทึกไว้ หรือ เน้นข้อความด้วยปากกาสีต่างๆก็ได้
เพื่อว่าจะได้กลับมาอ่านอีกครั้ง
ข้อที่5. การไม่ปล่อยให้ท้องว่างก็เป็นสิ่งสาคัญ ถ้าอ่านหนังสืออย่างเดียวจนลืมทานข้าวแล้วละก็
นอกจากจะอ่านหนังสือไม่รู้เรื่องแล้ว อาจจะทาให้ป่วย และทาให้เป็นโรคกระเพาะได้ด้วย ต้องหาอะไรทานเมื่อท้องว่าง
ข้อที่6. ในการอ่านหนังสือควรเลือกเวลาที่รู้สึกว่าสมองเราพร้อมจะทางานด้วย แล้วเมื่อรู้สึกว่าเริ่มอ่านไม่ไหวแล้ว
อ่านนานมากไปทาให้ปวดตา ปวดหัว ให้พักก่อน อาจจะหาอย่างอื่นทาเช่นพักสายตาโดยการหาเพลงเพราะๆฟังจะดูทีวี เล่นเกม
หรือกิจกรรมอื่นๆที่ทาแล้วผ่อนคลายก็หามาลองทากันดูนะ
ข้อที่7. อย่าตื่นเต้นจนรนตั้งสติตรงนี้สาคัญมากๆเลย ให้หยุดอ่านหนังสือต่อสักพัก แล้วดูซิว่า...พรุ่งนี้สอบวิชาอะไรบ้าง
แล้วหยิบวิชาที่สอบเป็นวิชาแรกมาอ่านทบทวนก่อนเลย แล้วก็ทบทวนวิชาอื่นๆต่อไป
(ตรงถ้าคิดว่ากลัวอ่านไม่ทันรอบทบทวนให้อ่านในส่วนที่เน้น ที่สาคัญๆเอาไว้ก่อนเลย ในการอ่านรอบแรก
ต้องจดบันทึกที่สาคัญๆไว้ที่คิดว่าน่าจะออก หรือส่วนที่มันยาก จาไม่ได้ก็นามาอ่านก่อนเลยตรงส่วนไหนที่จาได้
หรือเข้าใจก็เปิดผ่านๆเลยตอนนี้เราต้องทาเวลาแหละ)
ข้อที่8. บางคนอาจจะอ่านหนังสือเร็วและเข้าใจง่ายทาให้การอ่านหนังสือไม่ค่อยมีปัญหาเลยก็ดีไป
ส่วนคนไหนเป็นคนที่อ่านหนังสือช้าก็ต้องขยันกว่าคนอื่นๆหน่อยแล้ว อาจจะทาให้อ่านหนังสือไม่ทันทาให้ต้องนอนดึกหน่อย
ก็อย่าลืมดูแลตัวเอง ใส่ใจในสุขภาพหน่อยเพราะอาจป่วยได้ ถ้าอ่านหนังสือไม่ทันแล้วจริงๆ แต่ร่างกายเราไม่ไหวแล้ว อย่าฝืน
ได้แค่ไหนก็เอาแค่นั้นรีบเตรียมตัวเข้านอน ตื่นเช้ามาจะได้สดชื่น แถมถ้าเราตื่นเร็ว
ก็จะมีเวลาอีกนิดในการทบทวนก่อนเข้าห้องสอบ
เทคนิคเสริมสร้างวินัยในตนเอง
1.ต้องเลิกเที่ยว เลิกดื่ม เลิกสร้างบรรยากาศที่ไม่ใช่การเตรียมสอบ เลิก chatตอนดึกๆ เลิกคุยโทรศัพท์นานๆ
ตัดทุกอย่างออกไป ต้องทาให้ได้ ถ้าไม่ได้อย่าคิดเลยว่าจะสอบติด ฝันไปเถอะ
2.ตัดสินใจให้เด็ดขาดว่าต่อไปนี้จะทาเพื่ออนาคตตัวเอง บอกเพื่อน บอกพ่อแม่ บอกทุกคนว่า อย่ารบกวน ขอเวลาส่วนตัว
จะเปลี่ยนชีวิตจะกาหนดชีวิตตัวเอง จะกาหนดอนาคตตัวเอง เพราะเราต้องการมีอนาคตที่กาหนดได้ด้วยตัวเอง ใช่หรือไม่
3. ถ้าทา 2ข้อไม่ได้อย่าทาข้อนี้ เพราะข้อนี้คือให้เขียนอนาคตตัวเองไว้เลยว่าจะเรียนต่อคณะอะไรจบแล้วจะเป็นอะไร
เช่นจะเรียนพยาบาลก็เขียนป้ายตัวใหญ่ๆติดไว้ข้างห้อง มองเห็นตลอดเลยว่า"เราจะเป็นพยาบาล"
จะเรียนแพทย์ก็ต้องเขียนไว้เลยว่า"ปีหน้าจะไปเหยียบแผ่นดินแพทย์ศิริราช-จุฬา"อะไรทานองนี้ เพื่อสร้างเป้าหมายให้ชัดเจน
5
4. เตรียมตัว สรรหาหนังสือ หาอาจารย์ติว หาเพื่อนคนเก่งๆบอกกับเค้าว่าช่วยเป็นกาลังใจให้เราหน่อย
ช่วยเหลือเราหน่อยหาหนังสือมาให้ครบทุกเนื้อหาที่จะต้องสอบ เตรียมห้องอ่านหนังสือโต๊ะ เก้าอี้ โคมไฟให้พร้อม
5. เริ่มลงมืออ่านหนังสือเริ่มจากวิชาที่ชอบ เรื่องที่ถนัดก่อน ทาข้อสอบไปด้วย ทาแบบฝึกหัดจากง่ายไปยาก ค่อยๆ ทา
ถ้าท้อก็ให้ลืมตาดูป้าย ดูรูปอนาคตของตัวเอง ต้องลงมืออ่านอย่างจริงจัง อย่างน้อยวันละ10 ชั่วโมง แล้วจะทาได้ไง วิธีการคือ
อ่านทุกเมื่อที่มีโอกาส อ่านทุกครั้งที่มีโอกาส หนังสือต้องติดตัวตลอดเวลา ว่างเมื่อไรหยิบมาอ่านได้ทันที
อย่าปล่อยให้ว่างจนไม่รู้จะทาอะไรที่สาคัญอ่านแล้วต้องมีโน้ตเสมอ ห้ามนอนอ่าน ห้ามกินขนมห้ามฟังเพลงห้ามดูทีวีห้ามดูละคร
ดูหนัง อ่านอย่างเดียวทาอย่างจริงจัง
6. ข้อนี้สาคัญมาก หากท้อให้มองภาพอนาคตของตัวเองไว้เสมอ ย้ากับตัวเองว่า "เราต้องกาหนดอนาคตของตัวเอง
ไม่มีใครกาหนดให้เราเราต้องทาได้ เพราะไม่มีอะไรที่เป็นไปไม่ได้"ให้กาลังใจกับตัวเองอยู่เสมอบอกกับตัวเองอย่างนี้ทุกวัน
หากท้อ ขอให้นึกว่า อย่างน้อยก็มีผู้เขียนบทความนี้เป็นกาลังใจให้น้องๆเสมอนึกถึงภาพวันที่เรารับปริญญา
วันที่เราและครอบครัวจะมีความสุข วันที่คุณพ่อคุณแม่จะดีใจที่สุดในชีวิต ต่อไปนี้ต้องทาเพื่อท่านบ้าง อย่าเห็นแก่ตัวอย่าขี้เกียจ
อย่าผัดวันประกันพรุ่ง เลิกนิสัยเดิมๆเสียที
Cre. http://infographic.in.th/wp-content/uploads/2014/09/-----6---YzTtEiMg.jpg
เคล็ดลับวิธีทาความเข้าใจและจดจาบทเรียนได้อย่างแม่นยา
เคล็ดลับการทาความเข้าใจและจดจาบทเรียนนี้ เป็นเทคนิคง่ายๆนักเรียนนักศึกษาสามารถนาไปปฏิบัติได้ทุกคน
ขอแต่เพียงเข้าใจเคล็ดลับวิธีการเท่านั้นเองหัวใจสาคัญของการทาความเข้าใจและจดจาบทเรียน คือ
การหมั่นฝึกฝนตามขั้นตอนให้เกิดความเคยชินจนติดกลายเป็นนิสัยการอ่านเพื่อทาความเข้าใจนี้จะแตกต่างจากการอ่านเพียงเพื่อท่อ
งจา
1. เวลาอ่านบทเรียนหรือตารา ให้อ่านอย่างตั้งใจ แต่ทว่าเราจะไม่อ่านไปเรื่อย ๆ คือเราจะ
หยุดอ่านเมื่อจบย่อหน้าหรือหยุดเมื่ออ่านไปได้พอสมควรแล้ว
2. จากนั้นให้ปิดหนังสือ! แล้วลองอธิบายสิ่งที่ตนเองได้อ่านมาให้ตัวเองฟัง คือ
เราสามารถอธิบายให้ตัวเองฟังด้วยภาษาสานวนของเราเอง ฟังแล้วเข้าใจหรือเปล่าหากเราสามารถอธิบายให้ตัวเองฟังรู้เรื่อง
แสดงว่าเราเข้าใจแล้ว ให้อ่านต่อไปได้
3. หากตอนใดเราอ่านแล้วแต่ไม่สามารถอธิบายให้ตัวเองรู้เรื่อง แสดงว่ายังไม่เข้าใจให้กลับไปอ่านทบทวนใหม่อีกครั้ง
4. หากเราพยายามอ่านหลายรอบแล้วยังไม่เข้าใจจริงๆให้จดโน้ตไว้เพื่อนาไปถามอาจารย์จากนั้นให้อ่านต่อไป
5. ข้อมูลบางอย่างในตาราจาเป็นที่จะต้องท่องจา เช่นตัวเลข สถิติ ชื่อสถานที่ บุคคล หรือ สูตร ต่าง ๆ ฯลฯ ก็ควรท่องจาไว้ด้วย
เพื่อทาให้เกิดความเข้าใจที่ชัดเจนยิ่งขึ้น
6
6. การเรียนด้วยวิธีท่องจาโดยปราศจากความเข้าใจ เรียนไปก็ลืมไปสูญเสียเวลาเปล่าประโยชน์ เสียเงินทอง
7. การเรียนที่เน้นแต่ความเข้าใจโดยไม่ยอมท่องจาก็จะทาให้เราเข้าใจเรื่องต่างๆไม่ชัดเจนคลุมเครือ
8. ดังนั้นจึงขอสรุปเทคนิคง่าย ๆ สั้น ๆ ดังต่อไปนี้
ก.ให้อ่านหนังสือสลับกับ การอธิบายให้ตัวเองฟัง
ข.ให้ท่องจาเฉพาะข้อมูลที่จาเป็นต้องจาจริงๆเช่น ตัวเลข ชื่อเฉพาะต่างๆ
Cre. http://www.rbac.ac.th/wp-content/uploads/2013/10/technicforstudy-01.jpg
เคล็ดลับ 13 ประการ เพื่อการเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
1. รับผิดชอบ
-รับผิดชอบตนเอง ไม่ยืมจมูกคนอื่นหายใจเป็นผู้ชนะจากความสามารถของตน
2. เริ่มต้นดี
-ช่วงเดือนแรกในรั้วมหาวิทยาลัย ถือเป็นช่วงวิกฤตของน้องใหม่ หากเริ่มต้นดี ความสาเร็วจะไม่อยู่ไกลเกินเอื้อม
3. กาหนดเป้าหมายในการเรียนอย่างแน่วแน่
-กาหนดเป้าหมายในการเรียนให้ชัดเจนทั้งระยะสั้นและระยะยาวและทุ่มเทความพยายามให้บรรลุเป้าหมายนั้น
4. วางแผน และจัดการ
-มีการวางแผน จัดลาดับความสาคัญของกิจกรรมที่ต้องทา หากทาตารางเวลาเป็นรายสัปดาห์ได้ยิ่งดี
5. มีวินัยต่อตนเอง
-เมื่อกาหนดเป้าหมายวางแผน และจัดการ ตามข้อ 4และ 5แล้วต้องสัญญากับตนเองอย่างแน่วแน่ที่จะมีวินัย และปฏิบัติตาม
6. อย่าล้าสมัย
-วิทยาการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว การค้นคว้าหาความรู้ ต้องอิงกับข้อมูลที่ทันสมัย ทันเหตุการณ์
7. ฝึกฝนตนเองให้เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
-ศึกษาข้อเสนอแนะในคู่มือเล่มนี้ และฝึกทักษะการเรียนรู้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ติดตัวตลอดไป
8. เตรียมพร้อมเพื่อเข้าสู่ชั้นเรียน
-เตรียมตัวเป็นผู้ใฝ่หาความรู้อย่างแข็งขัน หากเป็นไปได้เตรียมอ่านเอกสารที่จะเรียนมาก่อนเข้าห้องเรียน
9. มุ่งมั่น จดจ่อต่อบทเรียน
-มีสมาธิ สนใจตั้งใจ เวลาอาจารย์สอน ไม่เข้าเรียนเพื่อพูดคุยกันซังกะตาม รอเวลาเลิกชั้น
10. เป็นตัวของตัวเอง
7
-รู้จักคิดและทา ด้วยความสามารถของตนเองคิดเสมอว่าเราเป็นผู้หนึ่งที่มีศักยภาพสูง
11. มีความกระตือรือร้น
-ความสาเร็จเป็นของผู้ที่มีความริเริ่ม เป็นฝ่ายรุกที่จะมุ่งหน้าและคว้าความสาเร็จเป็นของตน
12. มีสุขภาพดี
-อย่าลืมใส่ใจต่อสุขภาพร่างกาย กิจกรรมนันทนาการ และกิจกรรมสังคม วางแผนจัดเวลาต่อสิ่งเหล่านี้ให้พอเหมาะ
13. เรียนอย่างมีความสุข
-พยายามเก็บเกี่ยวความน่าสนใจในบทเรียนคิดเสมอว่าทุกวิชาน่าเรียนรู้ น่าสนุกทั้งนั้น แล้วท่านจะพบว่า
เราก็เรียนอย่างมีความสุขได้
4ขั้นตอน การจัดตารางการอ่านหนังสือ
1. เลือกเวลาที่เหมาะสม
เวลาที่เหมาะสมหมายความว่า เวลาที่ต้องการจะอ่าน เวลาที่ว่างจากงานอื่น เวลาที่อยากจะอ่านหนังสือ
หรือเป็นเวลาที่อ่านแล้วได้เนื้อหามากที่สุด เข้าใจมากที่สุดเวลาของแต่ละคนไม่เหมือนกันบางคนชอบอ่านตอนเช้าตรู่
บางคนชอบอ่านตอนกลางคืนก่อนนอน บางคนชอบอ่านเวลากลางวัน แล้วแต่การจัดสรรเวลาของแต่ละคนย่อมไม่เหมือนกัน
ต้องเลือกดูเวลาที่เหมาะสมของตัวเองนะ การจัดเวลาต้องให้ได้อย่างน้อย 2ชั่วโมง
2. วางลาดับวิชาและเนื้อหา
ขั้นตอนต่อมา คือเลือกวิชาที่จะอ่าน มีหลักง่ายๆ คือ เอาวิชาที่ชอบก่อน เพื่อให้เราอ่านได้เยอะๆและอ่านได้เร็ว
ควรเลือกเรื่องที่ชอบอ่านก่อนเป็นอันดับแรก จะได้มีกาลังใจอ่านเนื้อหาอื่นต่อไปไม่แนะนาวิชาที่ยาก และเนื้อหาที่ไม่ชอบนะ
เพราะจะทาให้เสียเวลาเปล่าการอ่านหนังสือควรอ่านให้ได้ตามที่เราวางแผนเอาไว้ วิธีการก็คือ Listรายการหรือเนื้อหา
บทที่จะอ่านให้หมดจากนั้นค่อยเลือกลาดับเนื้อหาว่าจะอ่านเรื่องใดก่อนหลัง แล้วค่อยลงมืออ่าน
3. ลงมือทา
ถ้าไม่มีข้อนี้ก็ไม่มีทางสาเร็จการลงมือทาคือการลงมืออ่านอย่างจริงจัง อย่าผัดวันประกันพรุ่ง
อย่าฝากอนาคตของตัวเองไว้กับความขี้เกียจของวันนี้ บางคนลงมือทา แต่ไม่จริงจังก็ไม่ได้ขอให้นึกถึงชาวนาแล้วกัน
ถ้าลงมือทานาเริ่มตั้งแต่หว่าน ไถแล้วทิ้งค้างไว้แต่ไม่ทาให้สาเร็จ ไม่ดูแลจนกระทั่งเก็บเกี่ยวหรือทิ้งไว้ไม่เก็บเกี่ยว
การทานาก็จะไม่สาเร็จ เราก็จะไม่มีข้าวกิน ดังนั้น"ทาอะไร ทาจริง"
4. ตรวจสอบผลงาน
ผลของการอ่าน ดูได้จากว่า ทาข้อสอบได้หรือไม่ ถ้าอ่านแล้วทาข้อสอบได้ ก็แสดงว่าอ่านรู้เรื่อง อ่านเข้าใจได้เนื้อหาจริงๆ
แต่ถ้าอ่านแล้วทาข้อสอบไม่ได้ ก็ต้องกลับไปทบทวนใหม่ ขอแนะนาว่าอ่านแล้วต้องจดบันทึกไว้ด้วยนะ จะได้รู้ว่า
เราอ่านไปถึงไหนแล้วและอ่านไปได้เนื้อหาอะไรบ้าง การจดบันทึก ก็คือการทาโน้ตย่อนั่นแหละ
ทาสรุปไว้เลยว่าอ่านอะไรไปแล้วบ้าง เก็บไว้ให้มากที่สุด จะได้เป็นผลงานของตัวเองเก็บไว้อ่านเมื่อต้องการ
เก็บไว้อ่านตอนใกล้สอบ
สาเหตุที่ทาให้การอ่านหนังสือขาดประสิทธิภาพ
การอ่านทีละคา
8
การอ่านออกเสียง
ปัญหาเกี่ยวกับศัพท์เฉพาะ
การใช้วิธีเดียวกันตลอดในการอ่านทุกประเภท
การใช้นิ้วชี้ข้อความตามไปด้วยในขณะอ่าน
การอ่านซ้าไปซ้ามา
การขาดสมาธิในการอ่าน
ข้อเสนอแนะที่ช่วยให้นักศึกษาอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ
ไม่อ่านทีละคา
การอ่านทีละคาทาให้อ่านหนังสือได้ช้า เพราะมุ่งหาความหมายของคาทีละคา สามารถแก้ไขได้โดยตั้งใจไว้ว่า
เมื่ออ่านหนังสือทุกครั้ง จะจับใจความสาคัญของประโยคด้วยการใช้สายตาเพียงครั้งเดียว และได้ความหมายทันที
ไม่อ่านออกเสียง
การอ่านหนังสือออกเสียงไปทีละตัว โดยทั่วไปติดมาจากนิสัยการอ่านสมัยชั้นประถม
การอ่านออกเสียงไม่ว่าจะมีเสียงออกมาหรือมีเสียงในคอ
การอ่านแบบนี้อ่านได้ช้าทั้งสิ้นเพราะมุ่งแต่ออกเสียงตามตัวหนังสือที่ปรากฎ
การอ่านได้เร็วสามารถแก้ไขได้โดยพยายามทาให้การมอง เห็นรูปทรง และการประสมคาของตัวหนังสือ
สามารถผ่านขั้นตอนการรับรู้ของเราไปสู่สมองได้เลย โดยไม่ต้องเสียเวลาพินิจพิเคราะห์ว่า
มันมีเสียงอะไรการแก้ไขให้ใช้นิ้วปิดปากในขณะอ่านตลอดเวลาจะทาให้อ่านได้ดีขึ้น และเมื่อปฏิบัติเช่นนี้จนติดเป็นนิสัยแล้ว
จะพบว่าทาให้อ่านได้รวดเร็วยิ่งขึ้น
ไม่มีกังวลเกี่ยวกับศัพท์เฉพาะ
การหยุดและกังวลเกี่ยวกับคาศัพท์ที่ไม่เคยเห็นมาก่อนจะทาให้จังหวะในการอ่านและแนวคิดในการอ่านประโยคนั้นหายไป
ดังนั้นแม้ว่าจะไม่รู้ศัพท์บางคาก็สามารถหาความหมายของศัพท์นั้นได้ โดยดูจากข้อความในประโยค
ถ้าใช้ความคิดคิดตามตลอดเรื่อง
ไม่ใช้วิธีเดียวกันตลอดในการอ่านทุกประเภท
นักศึกษาควรใช้วิธีการอ่านที่แตกต่างกันในแต่ละเรื่องที่อ่าน เช่น อ่านเรื่องเบาสมองก็อ่านเร็วได้
ถ้าอ่านตาราวิชาการต้องใช้ความคิดพิจารณาเนื้อเรื่องก็ใช้เวลาอ่านนานขึ้นนั้นคือผู้อ่านต้องรู้จุดประสงค์ของเรื่องที่จะอ่านด้วย
จึงจะได้ประโยชน์ที่แท้จริง
ไม่ใช้นิ้วชี้ข้อความตามไปด้วยในขณะอ่าน
จะทาให้อ่านได้ช้าลง การใช้สายตากวาดไปตามบรรทัดจะเร็วกว่าการใช้นิ้วชี้เพราะสายตาเคลื่อนที่เร็วกว่านิ้ว
วิธีแก้นิสัยนี้อาจทาได้โดยใช้มือจับหนังสือหรือประสานมือกันไว้ในขณะอ่านหนังสือ
ไม่อ่านซ้าไปซ้ามา
การอ่านเนื้อเรื่องที่ไม่เข้าใจ
เป็นการชี้ให้เห็นว่านักศึกษาไม่มั่นใจที่จะดึงเอาความสาคัญของเนื้อความนั้นออกมาได้ด้วยความสามารถของตนเอง
เหตุนี้จึงทาให้อ่านช้าลงเพราะคอยคิดแต่จะกลับไปอ่านใหม่ แทนที่จะอ่านไปทั้งหน้าเพื่อหาแนวคิดใหม่
จงพยายามอ่านครั้งเดียวอย่างตั้งใจความคิดทั้งหลายจะค่อย ๆ มาเองไม่ต้องกังวลว่าตนเองอ่านไม่รู้เรื่อง
มีสมาธิในการอ่าน
การปล่อยให้ความตั้งใจและความคงที่ของอารมณ์ล่องลอยไปกับความคิดที่สอดแทรกเข้ามาขณะอ่าน
จะทาให้ไม่ได้รับความรู้อะไรจากการอ่านเลย นักศึกษาจะต้องพัฒนาความสามารถ
โดยฝึกจิตให้แน่วแน่มุ่งความสนใจอยู่ที่หนังสือเพียงอย่างเดียว
9
ความสามารถในการอ่านสามารถพัฒนาได้โดยการฝึกฝน ทาตาม ข้อเสนอแนะในการอ่านข้างต้น
ถ้านักศึกษาพยายามฝึกฝนการอ่านให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น อ่านให้ได้เร็วขึ้น
ต่อไปนักศึกษาก็จะเป็นผู้ที่มีประสิทธิภาพในการเรียนและประสบผลสาเร็จในการศึกษา
เคล็ดลับง่ายๆสาหรับการสอบเอ็น
1. การเตรียมความพร้อมก่อนวันสอบ ต้องให้ความสาคัญกับตารางสอบให้มาก ๆ เพราะตารางสอบจะบ่งบอกถึง วัน
เวลา วิชาที่สอบ และสถานที่สอบ ให้กับน้อง ๆ ตลอดจนการสารวจสถานที่สอบก่อนไปสอบจริงด้วย
เพราะหากดูไม่ละเอียดถี่ถ้วนแล้ว นั่นหมายถึงว่าเราได้ตัดโอกาสของตนเองด้วย ส่วนเรื่องอุปกรณ์ที่ใช้ในการสอบ เช่น ดินสอ 2B
หรือมากกว่านั้น เอกสารต่าง ๆ ที่ใช้เป็นหลักฐานในการยืนยันว่าเราเป็นคนสมัครและเป็นคนมาสอบด้วยตนเองให้พร้อม
(ไม่ควรมาหาเอาตอนจะไปสอบจะไม่ทันกาล)
2. ความพร้อมของเราเอง โดยก่อนออกจากบ้านไปยังสถานที่สอบ ให้ความสาคัญกับการแต่งกายหรือยัง
การแต่งกายต้องสุภาพเรียบร้อย (ชุดนักเรียน)ถูกต้องตามระเบียบการแต่งกายของนักเรียนระดับ ม. ปลายหรือยัง
ถ้ายังสารวจตัวเองก่อนที่คณะกรรมการผู้คุมสอบจะไม่อนุญาตให้เข้าห้องสอบ แล้วอย่าลืมอุปกรณ์และเอกสารที่เตรียมไว้นะ
จะได้ไม่เสียเวลาและไม่ทาให้หงุดหงิดได้อย่าลืมว่าต้องไปทักทายเพื่อน ๆ ก่อนเข้าห้องสอบประมาณครึ่งชั่วโมงด้วยนะ
เพื่อลดความวิตกกังวลและรู้สึกผ่อนคลาย จะได้รู้สึกดีและมั่นใจในการสอบ
3. เมื่อเข้าห้องสอบนั่งนิ่งๆ ทาใจให้สบายฟังคาชี้แจงจากคณะกรรมการคุมสอบให้ละเอียด ไม่เข้าใจให้สอบถามทันที
เขียนชื่อ-สกุล รหัสในกระดาษคาตอบให้เรียบร้อยเสียก่อน เพราะถ้าลืม ต่อให้เก่งสักเท่าไรบวก ไสยศาสตร์ก็ช่วยอะไรไม่ได้
4. รวบรวมสติให้มั่น อ่านคาชี้แจงให้ชัดเจน และให้เข้าใจพร้อมทั้งสารวจว่าข้อสอบที่ได้มีจานวนข้อ
และจานวนหน้าตรงตามคาชี้แจงที่ข้อสอบได้ระบุไว้หรือไม่ ถ้ามีปัญหาอะไรให้รีบแจ้งคณะกรรมการคุมสอบโดยเร็ว
5. ต้องวางแผนการใช้เวลาในการสอบทั้งหมด โดยคาดการณ์ว่าจะใช้เวลาในการทาข้อสอบข้อละกี่นาที จึงจะเสร็จ
ควรควบคุมและใช้เวลาในการทาข้อสอบตามแผนที่วางไว้ เพราะเมื่อพบข้อที่ยาก
อาจจะทาให้ทั้งเวลาและความรู้สึกของเราเสียไปได้
6. ให้รีบจดสาระสาคัญ เช่นสูตร หรือข้อความที่ต้องใช้ในวิชานั้น ๆ
ลงในกระดาษคาถามก่อนที่ความตื่นเต้นจะทาให้ลืมไปเสียก่อน (แล้วอย่าเผลอไปจดใส่กระดาษอื่น ๆ ล่ะ เดี๋ยวเจอข้อหาทุจริตได้
จะหาว่าไม่เตือน)
7. ให้เลือกทาข้อสอบในส่วนของข้อที่ง่ายก่อน แล้วค่อยทาข้อสอบในส่วนที่ยากต่อไป เพื่อให้เกิดความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง
ในสถานการณ์ที่พบข้อที่ยากให้ทาเครื่องหมายและข้ามไปทาข้อถัดไปก่อนแล้วจึงย้อนกลับมาทาใหม่
ให้ระวังข้อคาถามหรือต้องเลือกที่มีคาที่เป็นปฏิเสธ
หรือปฏิเสธซ้อนปฏิเสธให้ใช้ความละเอียดรอบคอบในการพิจารณาความหมายที่ถูกต้อง เพราะจะทาให้เสียคะแนนได้
8. ควรใช้ความรู้ในการทาข้อสอบและไม่ต้องสนใจกับรูปแบบของข้อที่ตอบให้มากนัก เช่น ตอบข้อ กแล้ว
ข้อถัดไปไม่ควรจะเป็นข้อก อีก เป็นต้นให้น้องคานึงถึงตัวเนื้อหาที่เป็นคาตอบที่ถูกต้องดีกว่า
เพราะถ้ายึดติดกับตัวรูปแบบของการตอบแล้ว อาจทาให้พลาดจากคะแนนที่ต้องการได้
9. การตอบปกติแล้วคาตอบที่คิดไว้เป็นครั้งแรกมักจะเป็นคาตอบที่ถูก แต่ถ้าหากจะเปลี่ยนคาตอบ
ควรเปลี่ยนเมื่อแน่ใจจริงๆ ว่าที่ตอบมาแล้วตอบผิด แต่หากไม่แน่ใจให้น้องคงคาตอบเดิมไว้ความรู้ไม่เข้าใครออกใคร
ความคิดของเราครั้งแรกจะเป็นจะเป็นตัวช่วยเพิ่มคะแนนให้เราได้
ถ้าเวลาในการทาข้อสอบเหลือพอที่จะทบทวนให้น้องย้อนกลับไปทบทวนเฉพาะข้อที่ยากและไม่เข้าใจ เพื่อให้ได้คาตอบที่ถูกต้อง
10
และถ้าข้อสอบที่มีตัวเลือกเหลือให้ต้องเดาต้องเดาอย่างมีหลักการของความถูกต้อง เพราะไม่งั้นคะแนนอาจติดลบได้
แต่บางคนมีเคล็ดลับการเดาที่ดี คือ การมีพื้นฐาน ความรู้และประสบการณ์ ก็อาจทาแต้มขึ้นมาได้
10. แนวโน้มเนื้อหาในการสอบ Entranceและคะแนนของข้อสอบแต่ละวิชา จะมีน้าหนักที่ต่างกันออกไป
ค่าของคะแนนจะขึ้นอยู่กับความยากง่ายของเนื้อหาที่ออกเป็นส่วนใหญ่ข้อสอบที่นิยมนามาทดสอบ จะมีอยู่ด้วยกัน2แบบ คือ
ข้อสอบแบบ ปรนัย และ ข้อสอบแบบอัตนัย ซึ่งน้อง ๆ บางคนอาจจะสับสนกับ คาว่า "ปรนัย" และ "อัตนัย" อยู่บ้าง "ปรนัย" คือ
ข้อสอบที่มีคาถาม พร้อมตัวเลือกให้เลือกตอบ จานวน 4ตัวเลือก (ระดับมัธยมศึกษา) และ "อัตนัย" คือ ข้อสอบที่มีคาถาม
เพียงอย่างเดียวแล้วให้หาคาตอบจากการแสดงวิธีทา เพื่อให้ได้คาตอบที่ต้องการ ซึ่งโดยทั่ว ๆ ไปเนื้อหาของข้อสอบที่ใช้
จะวัดพฤติกรรมการเรียนรู้ ของผู้เรียนมากกว่า โดยใช้หลักการของนักจิตวิทยาการศึกษา ชื่อว่า Benjamin S. Bloom ซึ่ง Bloom
เองได้กาหนดพฤติกรรมการเรียนรู้ ไว้ดังนี้
10.1 ความรู้ ความจา หมายถึง
การวัดความสามารถในการระลึกได้ถึงประสบการณ์ที่เคยศึกษาความจาอาจเป็นการถามความเกี่ยวกับศัพท์ และนิยามกฎเกณฑ์
วิธีการ เป็นต้นโดยคาถามมักจะใช้คาว่า อะไรที่ไหนอย่างไร
10.2 ความเข้าใจหมายถึง การวัดความสามารถในการแปลความ ตีความ และขยายความ
10.3 การนาไปใช้หมายถึงการนาหลักวิชาไปใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่
10.4 การวิเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะส่วนต่าง ๆของเหตุการณ์หรือเรื่องราวว่า เป็นอย่างไร
การวิเคราะห์ถึงความสาคัญ ความสัมพันธ์หรือหลักการเป็นต้น
10.5 การสังเคราะห์ หมายถึงความสามารถในการรวบรวมสิ่งที่ศึกษาเข้าด้วยกันเป็นสิ่งใหม่ หรือรูปแบบใหม่
อาจเป็นการสังเคราะห์ข้อความ การวางแผนงานล่วงหน้าหรือความสัมพันธ์ เป็นต้น
10.6 การประเมินค่า หมายถึงความสามารถในการพิจารณาตัดสินเกี่ยวกับข้อมูลที่ได้ศึกษามาทั้งหมดว่าตัดสินได้ว่าอย่างไร
โดยข้อสอบที่ นามาทดสอบเราในการสอบ Entranceแต่ละปีนั้น
ก็มักจะนาพฤติกรรมการเรียนรู้ที่กล่าวมาแล้วข้างต้นมาเป็นตัวทดสอบความรู้ของเรา เอง
โดยที่เราต้องรู้ว่าพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ทางผู้ออกข้อสอบนามาใช้นั้น เป็นแนวใดและมีลักษณะเช่นไรแล้วจะทาให้เรา
มีแนวทางใน การเตรียมตัวอ่านหนังสือและเตรียมตัวสอบ Entranceต่อไป
11. อย่าลืมตรวจสอบกระดาษคาตอบว่าได้ตอบทุกข้อคาถามและเลือกตอบเพียง 1ตัวเลือกเท่านั้นก่อนส่งให้กรรมการคุมสอบด้วย
12. หลังสอบเสร็จแล้วให้ กลับไปทบทวนในข้อที่ยากหรือข้อที่ไม่แน่ใจทันที เพื่อเป็นการเรียนรู้จากข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจนอีกครั้ง
สาหรับในการสอบครั้งต่อไป
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. รวบรวมวิธีการเตรียมตัวสอบและการอ่านหนังสือ
2. คัดเลือกวิธีที่เราสามารถทาได้ แล้วนามาประยุกต์ใช้กับตัวเอง
3. เริ่มปฏิบัติตามแผนที่เราเตรียมไว้
4. ปฏิบัติอย่างสม่าเสมอ มีระเบียบวินัยต่อตนเอง
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
หนังสือในวิชาที่ต้องการอ่าน เครื่องเขียนต่างๆที่ใช้ในการเรียน
งบประมาณ
ค่าหนังสือกับค่าเครื่องเขียนขึ้นอยู่กับตัวบุคคล
11
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
1 คิดหัวข้อโครงงาน ♦ ธีรศานต์
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ♦ ♦ ธีรศานต์
3 จัดทาโครงร่างงาน ♦ ♦ ธีรศานต์
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ♦ ♦ ♦ ธีรศานต์
5 ปรับปรุงทดสอบ ♦ ♦ ธีรศานต์
6 การทาเอกสารรายงาน ♦ ธีรศานต์
7 ประเมินผลงาน ♦ ธีรศานต์
8 นาเสนอโครงงาน ♦ ธีรศานต์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
จากการปฏิบัติโครงงานนี้แสดงให้เห็นว่านักเรียนสามารถมีแนวทางในการอ่านหนังสือหรือเตรียมตัวสอบได้
แม้กระทั่งวันสอบก็สามารถนาหลักนี้ไปปฏิบัติได้
ถ้าหากนักเรียนปฏิบัติอย่างเคร่งครัดก็สามารถประสบความสาเร็จทางการเรียนได้ แล้วก็สามารถนาไปบอกเพื่อนหรือคนรู้จักได้ด้วย
ช่วยกันติว ช่วยกันเตือนเวลาไม่ได้ปฏิบัติตามแผนที่วางไว้
สถานที่ดาเนินการ
บ้านเลขที่13ซ.1 หมู่บ้านอุ่นเรือนต.ป่าแดด อ.เมือง จ.เชียงใหม่50100 และโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระวิชาแนะแนว (การเข้าสู่มหาวิทยาลัยของนักเรียน)
แหล่งอ้างอิง
เว็บไซต์เด็กดี. 10เคล็ดลับ จาง่ายการอ่านหนังสือสอบ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
http://www.dek-d.com/board/view/1610287/ . (10มกราคม 2559)

More Related Content

What's hot

เขื่อนทอง
เขื่อนทองเขื่อนทอง
เขื่อนทองChayanis
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้tuphung
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Patchara Pussadee
 
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์Yok Sarinee
 
Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)
Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)
Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)ssuser2812ac
 
เตรียมรับมือประเมินภายนอกรอบ 4
เตรียมรับมือประเมินภายนอกรอบ 4เตรียมรับมือประเมินภายนอกรอบ 4
เตรียมรับมือประเมินภายนอกรอบ 4arunrat bamrungchit
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลSarawut Tikummul
 
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลWuttipong Tubkrathok
 
11 การวิจัยชั้นเรียน100449
11 การวิจัยชั้นเรียน10044911 การวิจัยชั้นเรียน100449
11 การวิจัยชั้นเรียน100449onchalermpong
 

What's hot (11)

เขื่อนทอง
เขื่อนทองเขื่อนทอง
เขื่อนทอง
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
 
Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)
Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)
Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internetข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
 
เตรียมรับมือประเมินภายนอกรอบ 4
เตรียมรับมือประเมินภายนอกรอบ 4เตรียมรับมือประเมินภายนอกรอบ 4
เตรียมรับมือประเมินภายนอกรอบ 4
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
 
11 การวิจัยชั้นเรียน100449
11 การวิจัยชั้นเรียน10044911 การวิจัยชั้นเรียน100449
11 การวิจัยชั้นเรียน100449
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ ธีรศานต์-614-35

โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sasitorn Rodboonrung
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Nichakan Panput
 
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานคอมพิวเตอร์ 2557
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานคอมพิวเตอร์ 2557แบบเสนอโครงร่าง โครงงานคอมพิวเตอร์ 2557
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานคอมพิวเตอร์ 2557Kanjanaporn Thompat
 
2558 project (4)
2558 project  (4)2558 project  (4)
2558 project (4)pornkanok02
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมJames Kaew
 
2562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat012562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat01TeerapatSrilom
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมJames Kaew
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานNapatcha Jeno
 
อาหารญี่ปุ่น
อาหารญี่ปุ่นอาหารญี่ปุ่น
อาหารญี่ปุ่นDecho Narong
 
อาหารญี่ปุ่น
อาหารญี่ปุ่นอาหารญี่ปุ่น
อาหารญี่ปุ่นDecho Narong
 
ดูแลตัวเองเพื่อตัวเอง
ดูแลตัวเองเพื่อตัวเองดูแลตัวเองเพื่อตัวเอง
ดูแลตัวเองเพื่อตัวเองManatsanan O-aree
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ ธีรศานต์-614-35 (20)

โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานคอมพิวเตอร์ 2557
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานคอมพิวเตอร์ 2557แบบเสนอโครงร่าง โครงงานคอมพิวเตอร์ 2557
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานคอมพิวเตอร์ 2557
 
2562 final-project 06
2562 final-project 062562 final-project 06
2562 final-project 06
 
2558 project (4)
2558 project  (4)2558 project  (4)
2558 project (4)
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
2562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat012562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat01
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556
 
Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
อาหารญี่ปุ่น
อาหารญี่ปุ่นอาหารญี่ปุ่น
อาหารญี่ปุ่น
 
อาหารญี่ปุ่น
อาหารญี่ปุ่นอาหารญี่ปุ่น
อาหารญี่ปุ่น
 
ดูแลตัวเองเพื่อตัวเอง
ดูแลตัวเองเพื่อตัวเองดูแลตัวเองเพื่อตัวเอง
ดูแลตัวเองเพื่อตัวเอง
 
Aniruj r
Aniruj rAniruj r
Aniruj r
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
สารคดี
สารคดีสารคดี
สารคดี
 

โครงงานคอมพิวเตอร์ ธีรศานต์-614-35

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2558 ชื่อโครงงาน เทคนิคในการเลือกคณะและจัดอันดับเพื่อเข้ามหาวิทยาลัย ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ธีรศานต์ สนใจ เลขที่ 35 ชั้น ม.6 ห้อง 14 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นาย ธีรศานต์ สนใจ เลขที่35 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) การเตรียมตัวให้พร้อม มุ่งสู่การเป็นนักศึกษา ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ) Getting readytobe the undergraduate students ประเภทโครงงานโครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นายธีรศานต์ สนใจ ชื่อที่ปรึกษาครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน1เดือน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เนื่องจากนักเรียนไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 ทั่วประเทศจะต้องทาการทดสอบเพื่อเข้ามหาวิทยาลัย ช่องทางเข้าสู่มหาวิทยาลัยของไทยมีหลายทาง ประการแรกคือโควตาภูมิภาค ภาคเหนือเป็นของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นของมหาวิทยาลัยขอนแก่นภาคใต้เป็นของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประการที่สองคือรับตรง ซึ่งแต่ละมหาวิทยาลัยจะมีการสอบเป็นของตนเอง ประการที่สามคือระบบแอดมิชชัน เป็นของส่วนกลาง กระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้ดูแล ซึ่งจะต้องใช้คะแนนสอบจาก GATPAT O-net และเกรดรวมขณะที่กาลังศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ถ้าไม่สามารถสอบเข้าศึกษาประการที่หนึ่งและสองได้ ก็จาเป็นต้องมาใช้ระบบแอดมิชชัน และนี่ก็เป็นที่มาของโครงงานนี้ การเลือกคณะให้เหมาะสมกับตนเอง เทคนิคการจัดอันดับคณะเวลาเลือกตอนสมัครระบบแอดมิชชัน สิ่งแรกที่ควรคานึงถึงความถนัดของตนเอง เพราะความถนัดของตนเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดสิ่งอื่นตามมา ถ้าเราไม่รู้จักตนเอง เลือกสิ่งที่ผิด อนาคตก็จะเกิดปัญหา บ้างก็ซิ่วเพื่อไปเอาคณะที่ตนอยากได้ บ้างก็ทนเรียนต่อไปเพื่อให้จบแต่ตนเองนั้นไม่มีความสุขขณะกาลังศึกษา เพราะฉะนั้นโครงงานฉบับนี้จึงเป็นเหมือนแสงนาทางให้แก่นักเรียนที่ยังไม่รู้จักตนเองหรือกาลังสับสน วัตถุประสงค์ 1. ต้องการแนะนาขั้นตอนการเตรียมตัวสอบของนักเรียน 2. เพื่อให้นักเรียนรู้จักตนเอง 3. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง 4. เพื่อลดระยะเวลาการเตรียมตัวของนักเรียน
  • 3. 3 5. เสริมสร้างความมั่นใจให้กับนักเรียน ขอบเขตโครงงาน โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 ซึ่งก็สามารถรวมไปถึงนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายได้ด้วย เช่น ม.4และ ม.5เพราะการเตรียมตัวภายใน 1ปี อาจจะมีความผิดพลาดเกิดขึ้น หลักการและทฤษฎี เคล็ดลับการเตรียมตัวสอบเข้ามหาวิทยาลัย 1. ปิดสื่อรอบตัวเช่น โทรศัพท์ โทรทัศน์ เพื่อการมีสมาธิในการอ่านหนังสือ 2. นั่งสมาธิ 10 นาทีเพื่อสมาธิที่ดีขึ้น 3. อ่านหนึ่งรอบ แล้วสรุปด้วยภาษาของตนเอง 4. ดูความถูกต้องจากในหนังสือ 5. อ่านซ้าอีกหนึ่งรอบ 6. สรุปอีกรอบ เปิดหนังสืออ่าน 7. ถ้าทาเป็นผังมโนทัศน์ จะเข้าใจมากขึ้น 8. นาเอกสารจากทั้งโรงเรียน และติวเตอร์ มาช่วยในการสรุป 9. อ่านส่วนที่ครูเน้นให้มากกว่าส่วนอื่น อย่างน้อย 3 ครั้ง/คาบ 10. ก่อนวันสอบ ห้ามหักโหมอ่านหนังสือจนดึก เพราะจะทาให้สมองเกิดความล้า Cre. http://1.bp.blogspot.com/-VcyRsurPmWk/UNrJIPS_E5I/AAAAAAAAAAU/DpRS0jPvxlI/s1600/556352_309007715866214_2013205993_n.jpg วิธีอ่านหนังสือ 1. คนที่อ่านหนังสือคนเดียวมักจะเสียเปรียบคนที่อ่านเป็นกลุ่มมักจะได้เปรียบเนื่องจากอ่านคนเดียวอาจเข้าใจคลาดเคลื่อน หรืออ่านไม่ตรงจุด หรือ(บางคน)อาจอ่านไม่รู้เรื่อง ถ้าอ่านเป็นกลุ่มโอกาสอ่านผิดจุดจะยากขึ้น และยังพอช่วยกันฉุดได้ 2. ควรอ่านเองที่บ้านก่อน 1รอบ และจับกลุ่มติว เสร็จแล้วกลับไปอ่านทบทวนเองที่บ้านอีก 1รอบ 3. ผลัดกันติว ใครเข้าใจเรื่องใดมากที่สุดก็ให้เป็นผู้ติวข้อสาคัญ อย่าคิดแต่จะเป็นผู้รับอย่างเดียว จงคิดว่าเป็นผู้ให้ก่อน แล้วคนอื่นก็จะให้ตอบเอง 4. ผู้ติวจะได้ทบทวนเนื้อหา และจะรู้ว่าตัวเองขาดอะไร บกพร่องอะไร จากคาถามของเพื่อนที่สงสัย บางครั้งเพื่อนก็สามารถเสริมเติมเต็มในบางจุดที่ผู้ติวขาดหายได้ 5. การติวจะทาให้เกิดการ Shareความคิด และฝึกวิธีทางานร่วมกับผู้อื่น ช่วยพัฒนาทั้งด้าน IQ และ EQ (อ่านเองจะพัฒนาแต่IQ)
  • 4. 4 หลักการเตรียมตัวอ่านหนังสืออย่างจริงจัง ข้อที่1. ต้องใส่ใจเรื่องรายละเอียดเล็กๆน้อยๆก่อนดูว่าวิชาไหนที่เราต้องสอบเป็นอันดับแรกๆ หยิบวิชานั้นขึ้นมาก่อนเลย เตรียมไว้ไม่ว่าจะเป็นหนังสือที่เกี่ยวกับวิชาที่จะสอบ เอกสารต่างๆ หรือแนวข้อสอบ ข้อที่2. แยกหมวดหมู่แต่ละวิชา ก่อน-หลัง แล้วหาที่วางไว้อย่างเป็นระเบียบ ข้อที่3. เตรียมดินสอ/ปากกา สมุด และปากกาเน้นข้อความ ข้อที่4. เริ่มอ่านวิชาที่จะต้องสอบก่อนเป็นวิชาแรกเลย ตรงนี้แหละสาคัญมาก ห้ามอ่านแล้วก็อ่านเพื่อให้จบแบบผ่านๆ เพราะต่อให้อ่าน 10รอบ ก็ทาข้อสอบไม่ได้ อ่านสัก 100รอบก็ไม่ช่วยอะไร อ่านแล้วต้องทาความเข้าใจไปด้วย ตรงไหนที่คิดว่าสาคัญๆ ก็เน้นตรงจุดนั้นไว้อาจจะใช้วิธีการจดบันทึกไว้ หรือ เน้นข้อความด้วยปากกาสีต่างๆก็ได้ เพื่อว่าจะได้กลับมาอ่านอีกครั้ง ข้อที่5. การไม่ปล่อยให้ท้องว่างก็เป็นสิ่งสาคัญ ถ้าอ่านหนังสืออย่างเดียวจนลืมทานข้าวแล้วละก็ นอกจากจะอ่านหนังสือไม่รู้เรื่องแล้ว อาจจะทาให้ป่วย และทาให้เป็นโรคกระเพาะได้ด้วย ต้องหาอะไรทานเมื่อท้องว่าง ข้อที่6. ในการอ่านหนังสือควรเลือกเวลาที่รู้สึกว่าสมองเราพร้อมจะทางานด้วย แล้วเมื่อรู้สึกว่าเริ่มอ่านไม่ไหวแล้ว อ่านนานมากไปทาให้ปวดตา ปวดหัว ให้พักก่อน อาจจะหาอย่างอื่นทาเช่นพักสายตาโดยการหาเพลงเพราะๆฟังจะดูทีวี เล่นเกม หรือกิจกรรมอื่นๆที่ทาแล้วผ่อนคลายก็หามาลองทากันดูนะ ข้อที่7. อย่าตื่นเต้นจนรนตั้งสติตรงนี้สาคัญมากๆเลย ให้หยุดอ่านหนังสือต่อสักพัก แล้วดูซิว่า...พรุ่งนี้สอบวิชาอะไรบ้าง แล้วหยิบวิชาที่สอบเป็นวิชาแรกมาอ่านทบทวนก่อนเลย แล้วก็ทบทวนวิชาอื่นๆต่อไป (ตรงถ้าคิดว่ากลัวอ่านไม่ทันรอบทบทวนให้อ่านในส่วนที่เน้น ที่สาคัญๆเอาไว้ก่อนเลย ในการอ่านรอบแรก ต้องจดบันทึกที่สาคัญๆไว้ที่คิดว่าน่าจะออก หรือส่วนที่มันยาก จาไม่ได้ก็นามาอ่านก่อนเลยตรงส่วนไหนที่จาได้ หรือเข้าใจก็เปิดผ่านๆเลยตอนนี้เราต้องทาเวลาแหละ) ข้อที่8. บางคนอาจจะอ่านหนังสือเร็วและเข้าใจง่ายทาให้การอ่านหนังสือไม่ค่อยมีปัญหาเลยก็ดีไป ส่วนคนไหนเป็นคนที่อ่านหนังสือช้าก็ต้องขยันกว่าคนอื่นๆหน่อยแล้ว อาจจะทาให้อ่านหนังสือไม่ทันทาให้ต้องนอนดึกหน่อย ก็อย่าลืมดูแลตัวเอง ใส่ใจในสุขภาพหน่อยเพราะอาจป่วยได้ ถ้าอ่านหนังสือไม่ทันแล้วจริงๆ แต่ร่างกายเราไม่ไหวแล้ว อย่าฝืน ได้แค่ไหนก็เอาแค่นั้นรีบเตรียมตัวเข้านอน ตื่นเช้ามาจะได้สดชื่น แถมถ้าเราตื่นเร็ว ก็จะมีเวลาอีกนิดในการทบทวนก่อนเข้าห้องสอบ เทคนิคเสริมสร้างวินัยในตนเอง 1.ต้องเลิกเที่ยว เลิกดื่ม เลิกสร้างบรรยากาศที่ไม่ใช่การเตรียมสอบ เลิก chatตอนดึกๆ เลิกคุยโทรศัพท์นานๆ ตัดทุกอย่างออกไป ต้องทาให้ได้ ถ้าไม่ได้อย่าคิดเลยว่าจะสอบติด ฝันไปเถอะ 2.ตัดสินใจให้เด็ดขาดว่าต่อไปนี้จะทาเพื่ออนาคตตัวเอง บอกเพื่อน บอกพ่อแม่ บอกทุกคนว่า อย่ารบกวน ขอเวลาส่วนตัว จะเปลี่ยนชีวิตจะกาหนดชีวิตตัวเอง จะกาหนดอนาคตตัวเอง เพราะเราต้องการมีอนาคตที่กาหนดได้ด้วยตัวเอง ใช่หรือไม่ 3. ถ้าทา 2ข้อไม่ได้อย่าทาข้อนี้ เพราะข้อนี้คือให้เขียนอนาคตตัวเองไว้เลยว่าจะเรียนต่อคณะอะไรจบแล้วจะเป็นอะไร เช่นจะเรียนพยาบาลก็เขียนป้ายตัวใหญ่ๆติดไว้ข้างห้อง มองเห็นตลอดเลยว่า"เราจะเป็นพยาบาล" จะเรียนแพทย์ก็ต้องเขียนไว้เลยว่า"ปีหน้าจะไปเหยียบแผ่นดินแพทย์ศิริราช-จุฬา"อะไรทานองนี้ เพื่อสร้างเป้าหมายให้ชัดเจน
  • 5. 5 4. เตรียมตัว สรรหาหนังสือ หาอาจารย์ติว หาเพื่อนคนเก่งๆบอกกับเค้าว่าช่วยเป็นกาลังใจให้เราหน่อย ช่วยเหลือเราหน่อยหาหนังสือมาให้ครบทุกเนื้อหาที่จะต้องสอบ เตรียมห้องอ่านหนังสือโต๊ะ เก้าอี้ โคมไฟให้พร้อม 5. เริ่มลงมืออ่านหนังสือเริ่มจากวิชาที่ชอบ เรื่องที่ถนัดก่อน ทาข้อสอบไปด้วย ทาแบบฝึกหัดจากง่ายไปยาก ค่อยๆ ทา ถ้าท้อก็ให้ลืมตาดูป้าย ดูรูปอนาคตของตัวเอง ต้องลงมืออ่านอย่างจริงจัง อย่างน้อยวันละ10 ชั่วโมง แล้วจะทาได้ไง วิธีการคือ อ่านทุกเมื่อที่มีโอกาส อ่านทุกครั้งที่มีโอกาส หนังสือต้องติดตัวตลอดเวลา ว่างเมื่อไรหยิบมาอ่านได้ทันที อย่าปล่อยให้ว่างจนไม่รู้จะทาอะไรที่สาคัญอ่านแล้วต้องมีโน้ตเสมอ ห้ามนอนอ่าน ห้ามกินขนมห้ามฟังเพลงห้ามดูทีวีห้ามดูละคร ดูหนัง อ่านอย่างเดียวทาอย่างจริงจัง 6. ข้อนี้สาคัญมาก หากท้อให้มองภาพอนาคตของตัวเองไว้เสมอ ย้ากับตัวเองว่า "เราต้องกาหนดอนาคตของตัวเอง ไม่มีใครกาหนดให้เราเราต้องทาได้ เพราะไม่มีอะไรที่เป็นไปไม่ได้"ให้กาลังใจกับตัวเองอยู่เสมอบอกกับตัวเองอย่างนี้ทุกวัน หากท้อ ขอให้นึกว่า อย่างน้อยก็มีผู้เขียนบทความนี้เป็นกาลังใจให้น้องๆเสมอนึกถึงภาพวันที่เรารับปริญญา วันที่เราและครอบครัวจะมีความสุข วันที่คุณพ่อคุณแม่จะดีใจที่สุดในชีวิต ต่อไปนี้ต้องทาเพื่อท่านบ้าง อย่าเห็นแก่ตัวอย่าขี้เกียจ อย่าผัดวันประกันพรุ่ง เลิกนิสัยเดิมๆเสียที Cre. http://infographic.in.th/wp-content/uploads/2014/09/-----6---YzTtEiMg.jpg เคล็ดลับวิธีทาความเข้าใจและจดจาบทเรียนได้อย่างแม่นยา เคล็ดลับการทาความเข้าใจและจดจาบทเรียนนี้ เป็นเทคนิคง่ายๆนักเรียนนักศึกษาสามารถนาไปปฏิบัติได้ทุกคน ขอแต่เพียงเข้าใจเคล็ดลับวิธีการเท่านั้นเองหัวใจสาคัญของการทาความเข้าใจและจดจาบทเรียน คือ การหมั่นฝึกฝนตามขั้นตอนให้เกิดความเคยชินจนติดกลายเป็นนิสัยการอ่านเพื่อทาความเข้าใจนี้จะแตกต่างจากการอ่านเพียงเพื่อท่อ งจา 1. เวลาอ่านบทเรียนหรือตารา ให้อ่านอย่างตั้งใจ แต่ทว่าเราจะไม่อ่านไปเรื่อย ๆ คือเราจะ หยุดอ่านเมื่อจบย่อหน้าหรือหยุดเมื่ออ่านไปได้พอสมควรแล้ว 2. จากนั้นให้ปิดหนังสือ! แล้วลองอธิบายสิ่งที่ตนเองได้อ่านมาให้ตัวเองฟัง คือ เราสามารถอธิบายให้ตัวเองฟังด้วยภาษาสานวนของเราเอง ฟังแล้วเข้าใจหรือเปล่าหากเราสามารถอธิบายให้ตัวเองฟังรู้เรื่อง แสดงว่าเราเข้าใจแล้ว ให้อ่านต่อไปได้ 3. หากตอนใดเราอ่านแล้วแต่ไม่สามารถอธิบายให้ตัวเองรู้เรื่อง แสดงว่ายังไม่เข้าใจให้กลับไปอ่านทบทวนใหม่อีกครั้ง 4. หากเราพยายามอ่านหลายรอบแล้วยังไม่เข้าใจจริงๆให้จดโน้ตไว้เพื่อนาไปถามอาจารย์จากนั้นให้อ่านต่อไป 5. ข้อมูลบางอย่างในตาราจาเป็นที่จะต้องท่องจา เช่นตัวเลข สถิติ ชื่อสถานที่ บุคคล หรือ สูตร ต่าง ๆ ฯลฯ ก็ควรท่องจาไว้ด้วย เพื่อทาให้เกิดความเข้าใจที่ชัดเจนยิ่งขึ้น
  • 6. 6 6. การเรียนด้วยวิธีท่องจาโดยปราศจากความเข้าใจ เรียนไปก็ลืมไปสูญเสียเวลาเปล่าประโยชน์ เสียเงินทอง 7. การเรียนที่เน้นแต่ความเข้าใจโดยไม่ยอมท่องจาก็จะทาให้เราเข้าใจเรื่องต่างๆไม่ชัดเจนคลุมเครือ 8. ดังนั้นจึงขอสรุปเทคนิคง่าย ๆ สั้น ๆ ดังต่อไปนี้ ก.ให้อ่านหนังสือสลับกับ การอธิบายให้ตัวเองฟัง ข.ให้ท่องจาเฉพาะข้อมูลที่จาเป็นต้องจาจริงๆเช่น ตัวเลข ชื่อเฉพาะต่างๆ Cre. http://www.rbac.ac.th/wp-content/uploads/2013/10/technicforstudy-01.jpg เคล็ดลับ 13 ประการ เพื่อการเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ 1. รับผิดชอบ -รับผิดชอบตนเอง ไม่ยืมจมูกคนอื่นหายใจเป็นผู้ชนะจากความสามารถของตน 2. เริ่มต้นดี -ช่วงเดือนแรกในรั้วมหาวิทยาลัย ถือเป็นช่วงวิกฤตของน้องใหม่ หากเริ่มต้นดี ความสาเร็วจะไม่อยู่ไกลเกินเอื้อม 3. กาหนดเป้าหมายในการเรียนอย่างแน่วแน่ -กาหนดเป้าหมายในการเรียนให้ชัดเจนทั้งระยะสั้นและระยะยาวและทุ่มเทความพยายามให้บรรลุเป้าหมายนั้น 4. วางแผน และจัดการ -มีการวางแผน จัดลาดับความสาคัญของกิจกรรมที่ต้องทา หากทาตารางเวลาเป็นรายสัปดาห์ได้ยิ่งดี 5. มีวินัยต่อตนเอง -เมื่อกาหนดเป้าหมายวางแผน และจัดการ ตามข้อ 4และ 5แล้วต้องสัญญากับตนเองอย่างแน่วแน่ที่จะมีวินัย และปฏิบัติตาม 6. อย่าล้าสมัย -วิทยาการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว การค้นคว้าหาความรู้ ต้องอิงกับข้อมูลที่ทันสมัย ทันเหตุการณ์ 7. ฝึกฝนตนเองให้เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ -ศึกษาข้อเสนอแนะในคู่มือเล่มนี้ และฝึกทักษะการเรียนรู้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ติดตัวตลอดไป 8. เตรียมพร้อมเพื่อเข้าสู่ชั้นเรียน -เตรียมตัวเป็นผู้ใฝ่หาความรู้อย่างแข็งขัน หากเป็นไปได้เตรียมอ่านเอกสารที่จะเรียนมาก่อนเข้าห้องเรียน 9. มุ่งมั่น จดจ่อต่อบทเรียน -มีสมาธิ สนใจตั้งใจ เวลาอาจารย์สอน ไม่เข้าเรียนเพื่อพูดคุยกันซังกะตาม รอเวลาเลิกชั้น 10. เป็นตัวของตัวเอง
  • 7. 7 -รู้จักคิดและทา ด้วยความสามารถของตนเองคิดเสมอว่าเราเป็นผู้หนึ่งที่มีศักยภาพสูง 11. มีความกระตือรือร้น -ความสาเร็จเป็นของผู้ที่มีความริเริ่ม เป็นฝ่ายรุกที่จะมุ่งหน้าและคว้าความสาเร็จเป็นของตน 12. มีสุขภาพดี -อย่าลืมใส่ใจต่อสุขภาพร่างกาย กิจกรรมนันทนาการ และกิจกรรมสังคม วางแผนจัดเวลาต่อสิ่งเหล่านี้ให้พอเหมาะ 13. เรียนอย่างมีความสุข -พยายามเก็บเกี่ยวความน่าสนใจในบทเรียนคิดเสมอว่าทุกวิชาน่าเรียนรู้ น่าสนุกทั้งนั้น แล้วท่านจะพบว่า เราก็เรียนอย่างมีความสุขได้ 4ขั้นตอน การจัดตารางการอ่านหนังสือ 1. เลือกเวลาที่เหมาะสม เวลาที่เหมาะสมหมายความว่า เวลาที่ต้องการจะอ่าน เวลาที่ว่างจากงานอื่น เวลาที่อยากจะอ่านหนังสือ หรือเป็นเวลาที่อ่านแล้วได้เนื้อหามากที่สุด เข้าใจมากที่สุดเวลาของแต่ละคนไม่เหมือนกันบางคนชอบอ่านตอนเช้าตรู่ บางคนชอบอ่านตอนกลางคืนก่อนนอน บางคนชอบอ่านเวลากลางวัน แล้วแต่การจัดสรรเวลาของแต่ละคนย่อมไม่เหมือนกัน ต้องเลือกดูเวลาที่เหมาะสมของตัวเองนะ การจัดเวลาต้องให้ได้อย่างน้อย 2ชั่วโมง 2. วางลาดับวิชาและเนื้อหา ขั้นตอนต่อมา คือเลือกวิชาที่จะอ่าน มีหลักง่ายๆ คือ เอาวิชาที่ชอบก่อน เพื่อให้เราอ่านได้เยอะๆและอ่านได้เร็ว ควรเลือกเรื่องที่ชอบอ่านก่อนเป็นอันดับแรก จะได้มีกาลังใจอ่านเนื้อหาอื่นต่อไปไม่แนะนาวิชาที่ยาก และเนื้อหาที่ไม่ชอบนะ เพราะจะทาให้เสียเวลาเปล่าการอ่านหนังสือควรอ่านให้ได้ตามที่เราวางแผนเอาไว้ วิธีการก็คือ Listรายการหรือเนื้อหา บทที่จะอ่านให้หมดจากนั้นค่อยเลือกลาดับเนื้อหาว่าจะอ่านเรื่องใดก่อนหลัง แล้วค่อยลงมืออ่าน 3. ลงมือทา ถ้าไม่มีข้อนี้ก็ไม่มีทางสาเร็จการลงมือทาคือการลงมืออ่านอย่างจริงจัง อย่าผัดวันประกันพรุ่ง อย่าฝากอนาคตของตัวเองไว้กับความขี้เกียจของวันนี้ บางคนลงมือทา แต่ไม่จริงจังก็ไม่ได้ขอให้นึกถึงชาวนาแล้วกัน ถ้าลงมือทานาเริ่มตั้งแต่หว่าน ไถแล้วทิ้งค้างไว้แต่ไม่ทาให้สาเร็จ ไม่ดูแลจนกระทั่งเก็บเกี่ยวหรือทิ้งไว้ไม่เก็บเกี่ยว การทานาก็จะไม่สาเร็จ เราก็จะไม่มีข้าวกิน ดังนั้น"ทาอะไร ทาจริง" 4. ตรวจสอบผลงาน ผลของการอ่าน ดูได้จากว่า ทาข้อสอบได้หรือไม่ ถ้าอ่านแล้วทาข้อสอบได้ ก็แสดงว่าอ่านรู้เรื่อง อ่านเข้าใจได้เนื้อหาจริงๆ แต่ถ้าอ่านแล้วทาข้อสอบไม่ได้ ก็ต้องกลับไปทบทวนใหม่ ขอแนะนาว่าอ่านแล้วต้องจดบันทึกไว้ด้วยนะ จะได้รู้ว่า เราอ่านไปถึงไหนแล้วและอ่านไปได้เนื้อหาอะไรบ้าง การจดบันทึก ก็คือการทาโน้ตย่อนั่นแหละ ทาสรุปไว้เลยว่าอ่านอะไรไปแล้วบ้าง เก็บไว้ให้มากที่สุด จะได้เป็นผลงานของตัวเองเก็บไว้อ่านเมื่อต้องการ เก็บไว้อ่านตอนใกล้สอบ สาเหตุที่ทาให้การอ่านหนังสือขาดประสิทธิภาพ การอ่านทีละคา
  • 8. 8 การอ่านออกเสียง ปัญหาเกี่ยวกับศัพท์เฉพาะ การใช้วิธีเดียวกันตลอดในการอ่านทุกประเภท การใช้นิ้วชี้ข้อความตามไปด้วยในขณะอ่าน การอ่านซ้าไปซ้ามา การขาดสมาธิในการอ่าน ข้อเสนอแนะที่ช่วยให้นักศึกษาอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่อ่านทีละคา การอ่านทีละคาทาให้อ่านหนังสือได้ช้า เพราะมุ่งหาความหมายของคาทีละคา สามารถแก้ไขได้โดยตั้งใจไว้ว่า เมื่ออ่านหนังสือทุกครั้ง จะจับใจความสาคัญของประโยคด้วยการใช้สายตาเพียงครั้งเดียว และได้ความหมายทันที ไม่อ่านออกเสียง การอ่านหนังสือออกเสียงไปทีละตัว โดยทั่วไปติดมาจากนิสัยการอ่านสมัยชั้นประถม การอ่านออกเสียงไม่ว่าจะมีเสียงออกมาหรือมีเสียงในคอ การอ่านแบบนี้อ่านได้ช้าทั้งสิ้นเพราะมุ่งแต่ออกเสียงตามตัวหนังสือที่ปรากฎ การอ่านได้เร็วสามารถแก้ไขได้โดยพยายามทาให้การมอง เห็นรูปทรง และการประสมคาของตัวหนังสือ สามารถผ่านขั้นตอนการรับรู้ของเราไปสู่สมองได้เลย โดยไม่ต้องเสียเวลาพินิจพิเคราะห์ว่า มันมีเสียงอะไรการแก้ไขให้ใช้นิ้วปิดปากในขณะอ่านตลอดเวลาจะทาให้อ่านได้ดีขึ้น และเมื่อปฏิบัติเช่นนี้จนติดเป็นนิสัยแล้ว จะพบว่าทาให้อ่านได้รวดเร็วยิ่งขึ้น ไม่มีกังวลเกี่ยวกับศัพท์เฉพาะ การหยุดและกังวลเกี่ยวกับคาศัพท์ที่ไม่เคยเห็นมาก่อนจะทาให้จังหวะในการอ่านและแนวคิดในการอ่านประโยคนั้นหายไป ดังนั้นแม้ว่าจะไม่รู้ศัพท์บางคาก็สามารถหาความหมายของศัพท์นั้นได้ โดยดูจากข้อความในประโยค ถ้าใช้ความคิดคิดตามตลอดเรื่อง ไม่ใช้วิธีเดียวกันตลอดในการอ่านทุกประเภท นักศึกษาควรใช้วิธีการอ่านที่แตกต่างกันในแต่ละเรื่องที่อ่าน เช่น อ่านเรื่องเบาสมองก็อ่านเร็วได้ ถ้าอ่านตาราวิชาการต้องใช้ความคิดพิจารณาเนื้อเรื่องก็ใช้เวลาอ่านนานขึ้นนั้นคือผู้อ่านต้องรู้จุดประสงค์ของเรื่องที่จะอ่านด้วย จึงจะได้ประโยชน์ที่แท้จริง ไม่ใช้นิ้วชี้ข้อความตามไปด้วยในขณะอ่าน จะทาให้อ่านได้ช้าลง การใช้สายตากวาดไปตามบรรทัดจะเร็วกว่าการใช้นิ้วชี้เพราะสายตาเคลื่อนที่เร็วกว่านิ้ว วิธีแก้นิสัยนี้อาจทาได้โดยใช้มือจับหนังสือหรือประสานมือกันไว้ในขณะอ่านหนังสือ ไม่อ่านซ้าไปซ้ามา การอ่านเนื้อเรื่องที่ไม่เข้าใจ เป็นการชี้ให้เห็นว่านักศึกษาไม่มั่นใจที่จะดึงเอาความสาคัญของเนื้อความนั้นออกมาได้ด้วยความสามารถของตนเอง เหตุนี้จึงทาให้อ่านช้าลงเพราะคอยคิดแต่จะกลับไปอ่านใหม่ แทนที่จะอ่านไปทั้งหน้าเพื่อหาแนวคิดใหม่ จงพยายามอ่านครั้งเดียวอย่างตั้งใจความคิดทั้งหลายจะค่อย ๆ มาเองไม่ต้องกังวลว่าตนเองอ่านไม่รู้เรื่อง มีสมาธิในการอ่าน การปล่อยให้ความตั้งใจและความคงที่ของอารมณ์ล่องลอยไปกับความคิดที่สอดแทรกเข้ามาขณะอ่าน จะทาให้ไม่ได้รับความรู้อะไรจากการอ่านเลย นักศึกษาจะต้องพัฒนาความสามารถ โดยฝึกจิตให้แน่วแน่มุ่งความสนใจอยู่ที่หนังสือเพียงอย่างเดียว
  • 9. 9 ความสามารถในการอ่านสามารถพัฒนาได้โดยการฝึกฝน ทาตาม ข้อเสนอแนะในการอ่านข้างต้น ถ้านักศึกษาพยายามฝึกฝนการอ่านให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น อ่านให้ได้เร็วขึ้น ต่อไปนักศึกษาก็จะเป็นผู้ที่มีประสิทธิภาพในการเรียนและประสบผลสาเร็จในการศึกษา เคล็ดลับง่ายๆสาหรับการสอบเอ็น 1. การเตรียมความพร้อมก่อนวันสอบ ต้องให้ความสาคัญกับตารางสอบให้มาก ๆ เพราะตารางสอบจะบ่งบอกถึง วัน เวลา วิชาที่สอบ และสถานที่สอบ ให้กับน้อง ๆ ตลอดจนการสารวจสถานที่สอบก่อนไปสอบจริงด้วย เพราะหากดูไม่ละเอียดถี่ถ้วนแล้ว นั่นหมายถึงว่าเราได้ตัดโอกาสของตนเองด้วย ส่วนเรื่องอุปกรณ์ที่ใช้ในการสอบ เช่น ดินสอ 2B หรือมากกว่านั้น เอกสารต่าง ๆ ที่ใช้เป็นหลักฐานในการยืนยันว่าเราเป็นคนสมัครและเป็นคนมาสอบด้วยตนเองให้พร้อม (ไม่ควรมาหาเอาตอนจะไปสอบจะไม่ทันกาล) 2. ความพร้อมของเราเอง โดยก่อนออกจากบ้านไปยังสถานที่สอบ ให้ความสาคัญกับการแต่งกายหรือยัง การแต่งกายต้องสุภาพเรียบร้อย (ชุดนักเรียน)ถูกต้องตามระเบียบการแต่งกายของนักเรียนระดับ ม. ปลายหรือยัง ถ้ายังสารวจตัวเองก่อนที่คณะกรรมการผู้คุมสอบจะไม่อนุญาตให้เข้าห้องสอบ แล้วอย่าลืมอุปกรณ์และเอกสารที่เตรียมไว้นะ จะได้ไม่เสียเวลาและไม่ทาให้หงุดหงิดได้อย่าลืมว่าต้องไปทักทายเพื่อน ๆ ก่อนเข้าห้องสอบประมาณครึ่งชั่วโมงด้วยนะ เพื่อลดความวิตกกังวลและรู้สึกผ่อนคลาย จะได้รู้สึกดีและมั่นใจในการสอบ 3. เมื่อเข้าห้องสอบนั่งนิ่งๆ ทาใจให้สบายฟังคาชี้แจงจากคณะกรรมการคุมสอบให้ละเอียด ไม่เข้าใจให้สอบถามทันที เขียนชื่อ-สกุล รหัสในกระดาษคาตอบให้เรียบร้อยเสียก่อน เพราะถ้าลืม ต่อให้เก่งสักเท่าไรบวก ไสยศาสตร์ก็ช่วยอะไรไม่ได้ 4. รวบรวมสติให้มั่น อ่านคาชี้แจงให้ชัดเจน และให้เข้าใจพร้อมทั้งสารวจว่าข้อสอบที่ได้มีจานวนข้อ และจานวนหน้าตรงตามคาชี้แจงที่ข้อสอบได้ระบุไว้หรือไม่ ถ้ามีปัญหาอะไรให้รีบแจ้งคณะกรรมการคุมสอบโดยเร็ว 5. ต้องวางแผนการใช้เวลาในการสอบทั้งหมด โดยคาดการณ์ว่าจะใช้เวลาในการทาข้อสอบข้อละกี่นาที จึงจะเสร็จ ควรควบคุมและใช้เวลาในการทาข้อสอบตามแผนที่วางไว้ เพราะเมื่อพบข้อที่ยาก อาจจะทาให้ทั้งเวลาและความรู้สึกของเราเสียไปได้ 6. ให้รีบจดสาระสาคัญ เช่นสูตร หรือข้อความที่ต้องใช้ในวิชานั้น ๆ ลงในกระดาษคาถามก่อนที่ความตื่นเต้นจะทาให้ลืมไปเสียก่อน (แล้วอย่าเผลอไปจดใส่กระดาษอื่น ๆ ล่ะ เดี๋ยวเจอข้อหาทุจริตได้ จะหาว่าไม่เตือน) 7. ให้เลือกทาข้อสอบในส่วนของข้อที่ง่ายก่อน แล้วค่อยทาข้อสอบในส่วนที่ยากต่อไป เพื่อให้เกิดความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง ในสถานการณ์ที่พบข้อที่ยากให้ทาเครื่องหมายและข้ามไปทาข้อถัดไปก่อนแล้วจึงย้อนกลับมาทาใหม่ ให้ระวังข้อคาถามหรือต้องเลือกที่มีคาที่เป็นปฏิเสธ หรือปฏิเสธซ้อนปฏิเสธให้ใช้ความละเอียดรอบคอบในการพิจารณาความหมายที่ถูกต้อง เพราะจะทาให้เสียคะแนนได้ 8. ควรใช้ความรู้ในการทาข้อสอบและไม่ต้องสนใจกับรูปแบบของข้อที่ตอบให้มากนัก เช่น ตอบข้อ กแล้ว ข้อถัดไปไม่ควรจะเป็นข้อก อีก เป็นต้นให้น้องคานึงถึงตัวเนื้อหาที่เป็นคาตอบที่ถูกต้องดีกว่า เพราะถ้ายึดติดกับตัวรูปแบบของการตอบแล้ว อาจทาให้พลาดจากคะแนนที่ต้องการได้ 9. การตอบปกติแล้วคาตอบที่คิดไว้เป็นครั้งแรกมักจะเป็นคาตอบที่ถูก แต่ถ้าหากจะเปลี่ยนคาตอบ ควรเปลี่ยนเมื่อแน่ใจจริงๆ ว่าที่ตอบมาแล้วตอบผิด แต่หากไม่แน่ใจให้น้องคงคาตอบเดิมไว้ความรู้ไม่เข้าใครออกใคร ความคิดของเราครั้งแรกจะเป็นจะเป็นตัวช่วยเพิ่มคะแนนให้เราได้ ถ้าเวลาในการทาข้อสอบเหลือพอที่จะทบทวนให้น้องย้อนกลับไปทบทวนเฉพาะข้อที่ยากและไม่เข้าใจ เพื่อให้ได้คาตอบที่ถูกต้อง
  • 10. 10 และถ้าข้อสอบที่มีตัวเลือกเหลือให้ต้องเดาต้องเดาอย่างมีหลักการของความถูกต้อง เพราะไม่งั้นคะแนนอาจติดลบได้ แต่บางคนมีเคล็ดลับการเดาที่ดี คือ การมีพื้นฐาน ความรู้และประสบการณ์ ก็อาจทาแต้มขึ้นมาได้ 10. แนวโน้มเนื้อหาในการสอบ Entranceและคะแนนของข้อสอบแต่ละวิชา จะมีน้าหนักที่ต่างกันออกไป ค่าของคะแนนจะขึ้นอยู่กับความยากง่ายของเนื้อหาที่ออกเป็นส่วนใหญ่ข้อสอบที่นิยมนามาทดสอบ จะมีอยู่ด้วยกัน2แบบ คือ ข้อสอบแบบ ปรนัย และ ข้อสอบแบบอัตนัย ซึ่งน้อง ๆ บางคนอาจจะสับสนกับ คาว่า "ปรนัย" และ "อัตนัย" อยู่บ้าง "ปรนัย" คือ ข้อสอบที่มีคาถาม พร้อมตัวเลือกให้เลือกตอบ จานวน 4ตัวเลือก (ระดับมัธยมศึกษา) และ "อัตนัย" คือ ข้อสอบที่มีคาถาม เพียงอย่างเดียวแล้วให้หาคาตอบจากการแสดงวิธีทา เพื่อให้ได้คาตอบที่ต้องการ ซึ่งโดยทั่ว ๆ ไปเนื้อหาของข้อสอบที่ใช้ จะวัดพฤติกรรมการเรียนรู้ ของผู้เรียนมากกว่า โดยใช้หลักการของนักจิตวิทยาการศึกษา ชื่อว่า Benjamin S. Bloom ซึ่ง Bloom เองได้กาหนดพฤติกรรมการเรียนรู้ ไว้ดังนี้ 10.1 ความรู้ ความจา หมายถึง การวัดความสามารถในการระลึกได้ถึงประสบการณ์ที่เคยศึกษาความจาอาจเป็นการถามความเกี่ยวกับศัพท์ และนิยามกฎเกณฑ์ วิธีการ เป็นต้นโดยคาถามมักจะใช้คาว่า อะไรที่ไหนอย่างไร 10.2 ความเข้าใจหมายถึง การวัดความสามารถในการแปลความ ตีความ และขยายความ 10.3 การนาไปใช้หมายถึงการนาหลักวิชาไปใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่ 10.4 การวิเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะส่วนต่าง ๆของเหตุการณ์หรือเรื่องราวว่า เป็นอย่างไร การวิเคราะห์ถึงความสาคัญ ความสัมพันธ์หรือหลักการเป็นต้น 10.5 การสังเคราะห์ หมายถึงความสามารถในการรวบรวมสิ่งที่ศึกษาเข้าด้วยกันเป็นสิ่งใหม่ หรือรูปแบบใหม่ อาจเป็นการสังเคราะห์ข้อความ การวางแผนงานล่วงหน้าหรือความสัมพันธ์ เป็นต้น 10.6 การประเมินค่า หมายถึงความสามารถในการพิจารณาตัดสินเกี่ยวกับข้อมูลที่ได้ศึกษามาทั้งหมดว่าตัดสินได้ว่าอย่างไร โดยข้อสอบที่ นามาทดสอบเราในการสอบ Entranceแต่ละปีนั้น ก็มักจะนาพฤติกรรมการเรียนรู้ที่กล่าวมาแล้วข้างต้นมาเป็นตัวทดสอบความรู้ของเรา เอง โดยที่เราต้องรู้ว่าพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ทางผู้ออกข้อสอบนามาใช้นั้น เป็นแนวใดและมีลักษณะเช่นไรแล้วจะทาให้เรา มีแนวทางใน การเตรียมตัวอ่านหนังสือและเตรียมตัวสอบ Entranceต่อไป 11. อย่าลืมตรวจสอบกระดาษคาตอบว่าได้ตอบทุกข้อคาถามและเลือกตอบเพียง 1ตัวเลือกเท่านั้นก่อนส่งให้กรรมการคุมสอบด้วย 12. หลังสอบเสร็จแล้วให้ กลับไปทบทวนในข้อที่ยากหรือข้อที่ไม่แน่ใจทันที เพื่อเป็นการเรียนรู้จากข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจนอีกครั้ง สาหรับในการสอบครั้งต่อไป วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. รวบรวมวิธีการเตรียมตัวสอบและการอ่านหนังสือ 2. คัดเลือกวิธีที่เราสามารถทาได้ แล้วนามาประยุกต์ใช้กับตัวเอง 3. เริ่มปฏิบัติตามแผนที่เราเตรียมไว้ 4. ปฏิบัติอย่างสม่าเสมอ มีระเบียบวินัยต่อตนเอง เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ หนังสือในวิชาที่ต้องการอ่าน เครื่องเขียนต่างๆที่ใช้ในการเรียน งบประมาณ ค่าหนังสือกับค่าเครื่องเขียนขึ้นอยู่กับตัวบุคคล
  • 11. 11 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 1 คิดหัวข้อโครงงาน ♦ ธีรศานต์ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ♦ ♦ ธีรศานต์ 3 จัดทาโครงร่างงาน ♦ ♦ ธีรศานต์ 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ♦ ♦ ♦ ธีรศานต์ 5 ปรับปรุงทดสอบ ♦ ♦ ธีรศานต์ 6 การทาเอกสารรายงาน ♦ ธีรศานต์ 7 ประเมินผลงาน ♦ ธีรศานต์ 8 นาเสนอโครงงาน ♦ ธีรศานต์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการปฏิบัติโครงงานนี้แสดงให้เห็นว่านักเรียนสามารถมีแนวทางในการอ่านหนังสือหรือเตรียมตัวสอบได้ แม้กระทั่งวันสอบก็สามารถนาหลักนี้ไปปฏิบัติได้ ถ้าหากนักเรียนปฏิบัติอย่างเคร่งครัดก็สามารถประสบความสาเร็จทางการเรียนได้ แล้วก็สามารถนาไปบอกเพื่อนหรือคนรู้จักได้ด้วย ช่วยกันติว ช่วยกันเตือนเวลาไม่ได้ปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ สถานที่ดาเนินการ บ้านเลขที่13ซ.1 หมู่บ้านอุ่นเรือนต.ป่าแดด อ.เมือง จ.เชียงใหม่50100 และโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระวิชาแนะแนว (การเข้าสู่มหาวิทยาลัยของนักเรียน) แหล่งอ้างอิง เว็บไซต์เด็กดี. 10เคล็ดลับ จาง่ายการอ่านหนังสือสอบ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dek-d.com/board/view/1610287/ . (10มกราคม 2559)