SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปี การศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ear worm ไม่ใช่โรคและไม่น่ากลัวอย่างที่คิด
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อนาย ธีรภัทร ศรีล้อม เลขที่1 ชั้น 6ห้อง 15
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1 นายธีรภัทร ศรีล้อม เลขที่1
2
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ear worm ไม่ใช่โรคและไม่น่ากลัวอย่างที่คิด
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
The Right Way Of Burning Body Fat
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทา นายธีรภัทร ศรีล้อม
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 3 เดือน ตั้งแต่เดือนกันยายน 2562 ถึง เดือนธันวาคม
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล
ของการทาโครงงาน)
"Earworm" (เอียร์เวิร์ม) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ Involuntary Musical
Imagery (INMI) คือ อาการที่เรานึกถึงเนื้อเพลงนั้น ๆ วนเวียนอยู่ในหัวไปมา
หรือเรียกง่าย ๆ ว่าอาการเพลงติดหู ซึ่งไม่
จาเป็นว่าเพลงที่ติดหูเรานั้นจะต้องเป็นเพลงที่เราชื่นชอบแล้วร้องบ่อย ๆ เสมอไป
ซึ่งมันไม่ใช่โรคที่ ร้ายแรง และไม่เป็นอันตราย เป็นสิ่งที่ตามก่อกวนเราเฉยๆ
จึงอยากให้ทราบกัน
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็ นข้อ)
1.อยากให้ทราบถึงอาการEarworm
2. อาการEarworm ไม่ได้น่ากลัวอย่างที่คิด
3. วิธีการแก้Earworm
4. ลักษณะของเพลงที่จะทาให้เกิดEarworm
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
1) "Earworm" (เอียร์เวิร์ม) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ Involuntary
Musical Imagery (INMI) คือ อาการที่เรานึกถึงเนื้อเพลงนั้น ๆ
วนเวียนอยู่ในหัวไปมา หรือเรียกง่าย ๆ ว่าอาการเพลงติดหู ซึ่งไม่
จาเป็นว่าเพลงที่ติดหูเรานั้นจะต้องเป็นเพลงที่เราชื่นชอบแล้วร้องบ่อย ๆ
เสมอไป โดยจากการศึกษาที่ถูกตีพิมพ์ในวารสาร Psychology of
Aesthetics, Creativity and the Art ก็ได้อธิบาย ภาวะ Earworm ไว้ว่า
เพลงที่มักจะทาให้เกิดภาวะ Earworm มักจะเป็นแนวเพลงป๊อป
มีจังหวะค่อนข้างเร็ว เมโลดี้จาง่าย และมักจะมีเนื้อเพลงที่ร้องซ้า ๆ
กันค่อนข้างมาก ส่งผลให้สมองในส่วนการจดจาของเราเก็บเอา
เนื้อเพลงและทานองที่ได้ยินซ้า ๆ นั้นมาคิดวนเวียนอยู่ในหัวสมอง
กระทั่งเพลงนั้นติดหูเราในที่สุด
2) Earworm เกิดจากอะไร ? สาเหตุของการเกิดอาการ Earworm
นั้นยังไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจน แต่มีทฤษฏีและ การทดลองที่อธิบาย
3
ปรากฏการณ์ Earworm
นี้ว่าเป็นความพยายามเติมเต็มช่องว่างในสมองของคนเรา
ในส่วนที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับ การฟัง (Auditory cortex) ซึ่งการวิจัยพบว่า 98%
ของคนทั่วไปเคยมีประสบการณ์ Earworm แทบทั้งสิ้น
โดยพบในผู้หญิงและผู้ชายในจานวนเท่าๆกัน และพบมากในคนที่เป็นนักดนตรี
รวมถึงมีแนวโน้มจะเกิดกับคนที่มี ความเครียดสะสม
หรือร่างกายเหน็ดเหนื่อยมากกว่าด้วย
3) งานวิจัยเกี่ยวกับEarworm
นักประสาทวิทยากาลังทาการวิจัยเพื่อหาสาเหตุการเกิดปัญหาการได้ยินเสียงเพล
งในหูตลอดเวลา หรือที่เรียกว่า earworm Goldsmiths วิทยาลัยแห่ง
University of London เปิดการวิจัยทางออนไลน์ที่ชื่อว่า Earwormy
ที่ให้ผู้ที่เคยเผชิญกับปัญหา earworm
ซึ่งเป็นปัญหาการได้ยินเสียงเพลงในหูตลอดเวลา เข้าไปแบ่งปัน ประสบการณ์
เพื่อนาไปใช้เป็นตัวอย่างในการหาสาเหตุของการเกิด earworm
ซึ่งตัวแทนของทีมวิจัย เปิดเผยว่า การเกิด earworm
ยังเป็นปริศนาในแวดวงจิตวิทยา
ซึ่งการวิจัยครั้งนี้จะศึกษาว่าบุคลิคภาพและประสบการณ์ที่
แตกต่างมีผลต่อการเกิด earworm แค่ไหน
และสภาพแวดล้อมเช่นไรที่เสี่ยงต่อการเกิด earworm มากกว่าปกติ
และงานวิจัยยังนาไปสู่การแกะรอยเหล่าหนอนหูเพื่อเข้าไปดูกลไกการทางานขอ
งสมองต่อเสียงเพลง เพื่อนาไปสู่
การถอดรหัสว่าเพลงดังแสนติดหูทั้งหลายมีโครงสร้างที่เหมือนกันอย่างไรด้าน
“โอลิเวอร์ แซ็คส์ฎ นักประสาท วิทยาชั้นนาวิเคราะห์ว่าการแพร่ของ earworm
เกิดจากการใช้ชีวิตในสังคมยุคใหม่ที่แวดล้อมด้วยเสียงที่ไม่พึ่ง
ประสงค์มากมายทั้งในห้างสรรพสินค้าหรือเสียงริงโทนที่เข้ามาอยู่สมองของคนเ
ราโดยไม่รู้ตัววิธีดาเนินงาน
2)แนวทางการดาเนินงาน
1.หารเรื่องที่ตนเองชอบและต้องการศึกษา
2.วางแผนการทางาน
3)รวบรวมข้อมมูล
4)ลงมือปฏิบัติ
5)นาเสนอผลงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
คอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิทยาลัยและคอมส่วนตัว
งบประมาณ
ไม่มี
4
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดช
อบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
17
1 คิดหัวข้อโครงงาน /
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อ
มูล
/ /
3 จัดทาโครงร่างงาน /
4 ปฏิบัติการสร้างโคร
งงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงา
น
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
-หวังว่าจะได้รับรู้เกี่ยวกับโรคEarwormที่ถูกต้อง -เข้าใจถึงอาการของEarworm -
รู้ถึงสาเหตุของEarworm
สถานที่ดาเนินการ
-ห้องคอมโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
-กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
1) https://www.beautyhunter.co.th/earworm/
2) https://health.kapook.com/view187275.html
3) https://minimore.com/b/2RKu8/1
4) https://goodlifeupdate.com/healthy-body/disease/24383.html

More Related Content

What's hot

What's hot (20)

2562 final-project 1 (2)
2562 final-project 1 (2)2562 final-project 1 (2)
2562 final-project 1 (2)
 
2562 final-project 30
2562 final-project 302562 final-project 30
2562 final-project 30
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
 
2562 final-project 605-11
2562 final-project  605-112562 final-project  605-11
2562 final-project 605-11
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรม
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
Chel
ChelChel
Chel
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
2562 final-project -m
2562 final-project -m2562 final-project -m
2562 final-project -m
 
โปรแกรมทดสอบตาบอดสี
โปรแกรมทดสอบตาบอดสีโปรแกรมทดสอบตาบอดสี
โปรแกรมทดสอบตาบอดสี
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Jj
JjJj
Jj
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
Psychosis
PsychosisPsychosis
Psychosis
 
604 35 project
604 35 project604 35 project
604 35 project
 
กิจกรรมที่ 1 ใบงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 ใบงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 1 ใบงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 ใบงานคอมพิวเตอร์
 
work1pjcom
work1pjcomwork1pjcom
work1pjcom
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to 2562 final-project teerapat01

2562 final-project chonthida
2562 final-project chonthida2562 final-project chonthida
2562 final-project chonthida
ssuserccc094
 

Similar to 2562 final-project teerapat01 (20)

2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pond2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pond
 
2562 final-project -teerapatr
2562 final-project -teerapatr2562 final-project -teerapatr
2562 final-project -teerapatr
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
นายจิรวัฒน์ ทาพรหม
นายจิรวัฒน์ ทาพรหมนายจิรวัฒน์ ทาพรหม
นายจิรวัฒน์ ทาพรหม
 
นายจิรวัฒน์ ทาพรหม
นายจิรวัฒน์ ทาพรหมนายจิรวัฒน์ ทาพรหม
นายจิรวัฒน์ ทาพรหม
 
2562 final-project 615 12
2562 final-project 615 122562 final-project 615 12
2562 final-project 615 12
 
2562 final-project 615 12
2562 final-project 615 122562 final-project 615 12
2562 final-project 615 12
 
2562 final-project chonthida
2562 final-project chonthida2562 final-project chonthida
2562 final-project chonthida
 
2562 final-project 30-peerawat.com
2562 final-project  30-peerawat.com2562 final-project  30-peerawat.com
2562 final-project 30-peerawat.com
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
 
2562 final-project (5)jjjj (1)
2562 final-project  (5)jjjj (1)2562 final-project  (5)jjjj (1)
2562 final-project (5)jjjj (1)
 
615-14
615-14615-14
615-14
 
2562 final-project 0710
2562 final-project 07102562 final-project 0710
2562 final-project 0710
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1
 
2562 final-project 02
2562 final-project 022562 final-project 02
2562 final-project 02
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
work 1 fix
work 1 fixwork 1 fix
work 1 fix
 

2562 final-project teerapat01

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปี การศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ear worm ไม่ใช่โรคและไม่น่ากลัวอย่างที่คิด ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อนาย ธีรภัทร ศรีล้อม เลขที่1 ชั้น 6ห้อง 15 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 นายธีรภัทร ศรีล้อม เลขที่1
  • 2. 2 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ear worm ไม่ใช่โรคและไม่น่ากลัวอย่างที่คิด ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) The Right Way Of Burning Body Fat ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทา นายธีรภัทร ศรีล้อม ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 3 เดือน ตั้งแต่เดือนกันยายน 2562 ถึง เดือนธันวาคม ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) "Earworm" (เอียร์เวิร์ม) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ Involuntary Musical Imagery (INMI) คือ อาการที่เรานึกถึงเนื้อเพลงนั้น ๆ วนเวียนอยู่ในหัวไปมา หรือเรียกง่าย ๆ ว่าอาการเพลงติดหู ซึ่งไม่ จาเป็นว่าเพลงที่ติดหูเรานั้นจะต้องเป็นเพลงที่เราชื่นชอบแล้วร้องบ่อย ๆ เสมอไป ซึ่งมันไม่ใช่โรคที่ ร้ายแรง และไม่เป็นอันตราย เป็นสิ่งที่ตามก่อกวนเราเฉยๆ จึงอยากให้ทราบกัน วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็ นข้อ) 1.อยากให้ทราบถึงอาการEarworm 2. อาการEarworm ไม่ได้น่ากลัวอย่างที่คิด 3. วิธีการแก้Earworm 4. ลักษณะของเพลงที่จะทาให้เกิดEarworm หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) 1) "Earworm" (เอียร์เวิร์ม) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ Involuntary Musical Imagery (INMI) คือ อาการที่เรานึกถึงเนื้อเพลงนั้น ๆ วนเวียนอยู่ในหัวไปมา หรือเรียกง่าย ๆ ว่าอาการเพลงติดหู ซึ่งไม่ จาเป็นว่าเพลงที่ติดหูเรานั้นจะต้องเป็นเพลงที่เราชื่นชอบแล้วร้องบ่อย ๆ เสมอไป โดยจากการศึกษาที่ถูกตีพิมพ์ในวารสาร Psychology of Aesthetics, Creativity and the Art ก็ได้อธิบาย ภาวะ Earworm ไว้ว่า เพลงที่มักจะทาให้เกิดภาวะ Earworm มักจะเป็นแนวเพลงป๊อป มีจังหวะค่อนข้างเร็ว เมโลดี้จาง่าย และมักจะมีเนื้อเพลงที่ร้องซ้า ๆ กันค่อนข้างมาก ส่งผลให้สมองในส่วนการจดจาของเราเก็บเอา เนื้อเพลงและทานองที่ได้ยินซ้า ๆ นั้นมาคิดวนเวียนอยู่ในหัวสมอง กระทั่งเพลงนั้นติดหูเราในที่สุด 2) Earworm เกิดจากอะไร ? สาเหตุของการเกิดอาการ Earworm นั้นยังไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจน แต่มีทฤษฏีและ การทดลองที่อธิบาย
  • 3. 3 ปรากฏการณ์ Earworm นี้ว่าเป็นความพยายามเติมเต็มช่องว่างในสมองของคนเรา ในส่วนที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับ การฟัง (Auditory cortex) ซึ่งการวิจัยพบว่า 98% ของคนทั่วไปเคยมีประสบการณ์ Earworm แทบทั้งสิ้น โดยพบในผู้หญิงและผู้ชายในจานวนเท่าๆกัน และพบมากในคนที่เป็นนักดนตรี รวมถึงมีแนวโน้มจะเกิดกับคนที่มี ความเครียดสะสม หรือร่างกายเหน็ดเหนื่อยมากกว่าด้วย 3) งานวิจัยเกี่ยวกับEarworm นักประสาทวิทยากาลังทาการวิจัยเพื่อหาสาเหตุการเกิดปัญหาการได้ยินเสียงเพล งในหูตลอดเวลา หรือที่เรียกว่า earworm Goldsmiths วิทยาลัยแห่ง University of London เปิดการวิจัยทางออนไลน์ที่ชื่อว่า Earwormy ที่ให้ผู้ที่เคยเผชิญกับปัญหา earworm ซึ่งเป็นปัญหาการได้ยินเสียงเพลงในหูตลอดเวลา เข้าไปแบ่งปัน ประสบการณ์ เพื่อนาไปใช้เป็นตัวอย่างในการหาสาเหตุของการเกิด earworm ซึ่งตัวแทนของทีมวิจัย เปิดเผยว่า การเกิด earworm ยังเป็นปริศนาในแวดวงจิตวิทยา ซึ่งการวิจัยครั้งนี้จะศึกษาว่าบุคลิคภาพและประสบการณ์ที่ แตกต่างมีผลต่อการเกิด earworm แค่ไหน และสภาพแวดล้อมเช่นไรที่เสี่ยงต่อการเกิด earworm มากกว่าปกติ และงานวิจัยยังนาไปสู่การแกะรอยเหล่าหนอนหูเพื่อเข้าไปดูกลไกการทางานขอ งสมองต่อเสียงเพลง เพื่อนาไปสู่ การถอดรหัสว่าเพลงดังแสนติดหูทั้งหลายมีโครงสร้างที่เหมือนกันอย่างไรด้าน “โอลิเวอร์ แซ็คส์ฎ นักประสาท วิทยาชั้นนาวิเคราะห์ว่าการแพร่ของ earworm เกิดจากการใช้ชีวิตในสังคมยุคใหม่ที่แวดล้อมด้วยเสียงที่ไม่พึ่ง ประสงค์มากมายทั้งในห้างสรรพสินค้าหรือเสียงริงโทนที่เข้ามาอยู่สมองของคนเ ราโดยไม่รู้ตัววิธีดาเนินงาน 2)แนวทางการดาเนินงาน 1.หารเรื่องที่ตนเองชอบและต้องการศึกษา 2.วางแผนการทางาน 3)รวบรวมข้อมมูล 4)ลงมือปฏิบัติ 5)นาเสนอผลงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ คอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิทยาลัยและคอมส่วนตัว งบประมาณ ไม่มี
  • 4. 4 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดช อบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน / 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อ มูล / / 3 จัดทาโครงร่างงาน / 4 ปฏิบัติการสร้างโคร งงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงา น 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) -หวังว่าจะได้รับรู้เกี่ยวกับโรคEarwormที่ถูกต้อง -เข้าใจถึงอาการของEarworm - รู้ถึงสาเหตุของEarworm สถานที่ดาเนินการ -ห้องคอมโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง -กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) 1) https://www.beautyhunter.co.th/earworm/ 2) https://health.kapook.com/view187275.html 3) https://minimore.com/b/2RKu8/1 4) https://goodlifeupdate.com/healthy-body/disease/24383.html