SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน ข้อเท็จจริงของสารไคติน (Facts of Chitin)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวกุลปรียา วรรณชัยสม เลขที่ 19 ชั้น ม.6 ห้อง 8
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ผู้จัดทาโครงงาน
1.นางสาวกุลปรียา วรรณชัยสม เลขที่ 19
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ข้อเท็จจริงของสารไคติน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Facts of Chitin
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวกุลปรียา วรรณชัยสม
ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในปัจจุบันพบว่า มียาลดความอ้วนมากมายที่ได้โฆษณาออกมาว่าสารไคตินสามารถช่วยลดความอ้วนได้
โดยสารไคตินนั้นจะสามารถพบได้ในเปลือกกุ้ง กระดองปูต่างๆ โดยกุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครฟิชเป็นที่นิยมเลี้ยงมาก
ของคนที่ชอบเลี้ยงสัตว์น้าด้วยความที่มีสีสันสวยงาม มีรูปร่างที่สวยงาม เลี้ยงง่าย กินซากพืชซากสัตว์เป็นอาหาร
มีการเลี้ยงเพื่อจุดประสงค์ต่างๆมากมาย เลี้ยงเพื่อกินหรือเลี้ยงไว้เพื่อขาย ประกอบอาชีพ ซึ่งจะพบว่าเมื่อกุ้งลอก
คราบ ในบางครั้งกุ้งจะกินคราบของตัวเองเข้าไปเพื่อเป็นอาหารให้กับตัวมันเอง และกุ้งตัวที่ได้รับสารอาหารที่มี
ประโยชน์จะทาให้มีการเจริญเติบโตที่ดี สีสวย อัตราการลอกคราบเกิดขึ้นบ่อย เพราะการลอกคราบจะทาให้
ขนาดตัวของกุ้งใหญ่ขึ้น ซึ่งเมื่อนามาวิเคราะห์ ตรงเปลือกของกุ้ง จะมีสารไคตินอยู่ โดยสารไคติน-ไคโตซานเป็น
โพลิเมอร์ธรรมชาติ โดยพบเป็นองค์ประกอบของเปลือกแข็ง ที่หุ้มเซลล์ของรา ยีสต์ และจุลินทรีย์หลายชนิด หรือ
พบเป็นโครงสร้างแข็งของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง จาพวกแมลง กุ้ง ปู ปลาหมึก เป็นต้น ไคตินมีปริมาณมากเป็น
อันดับสอง รองจากเซลลูโลสที่เป็นส่วนประกอบของเนื้อไม้ มีลักษณะพิเศษในการนามาใช้ดูดซับและจับตะกอน
ต่างๆในสารละลายแล้วนาสารกลับมาใช้ใหม่ได้ซึ่งเป็นการหมุนเวียนตามระบบธรรมชาติ โดยไคโตซานมีสมบัติใน
การต่อต้านจุลินทรีย์และเชื้อราบางชนิด และมีประโยชน์มากมายไม่ว่าจะเป็น การนาไปใช้เป็นสารกันบูด การใช้
เป็นส่วนผสมในอาหารสัตว์เพื่อกระตุ้นภูมิคุ้มกัน และลดการติดเชื้อทาให้น้าหนักตัวของสัตว์เพิ่มขึ้น ช่วยลด
คอเลสเตอรอล และไขมันในเส้นเลือดโดยไคโตซานไปจับกับคอเลสเตอรอล ทาให้ร่างกายไม่สามารถดูดซึมไปใช้
หรือดูดซึมได้น้อยลง ในปัจจุบันจึงมีการโฆษณาเป็นผลิตภัณท์ลดน้าหนัก ผู้จัดทาจึงสนใจศึกษาเกี่ยวกับสารไคติน
ว่าในสารไคตินนั้นมีสารอะไรอยู่ จึงสามารถทาให้ลดคอเลสเตอรอล และสามารถนามาทาเป็นยาลดความอ้วนได้
แล้วจะปลอดภัยจริงหรือ และสามารถช่วยลดความอ้วนได้หรือไม่ เพื่อนาไปเป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภค และเป็น
แนวทางต่อเกษตรกรและผู้ที่สนใจในสารไคติน-ไคโตซานเพื่อนาไปเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพต่อไป
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาสารไคติน-ไคโตซาน
2. เพื่อศึกษาหาแนวทางในการประกอบอาชีพ
3. เพื่อศึกษาความปลอดภัยของยาลดความอ้วนที่มีส่วนผสมของสารไคติน-ไคโตซาน
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ศึกษาสารในสารสกัดไคติน-ไคโตซานที่สามารถนามาทาเป็นยาลดความอ้วนได้
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
เป็นวัสดุชีวภาพเกิดในธรรมชาติ จัดอยู่ในกลุ่มคาร์โบไฮเดรตผสม ที่ประกอบด้วยอนุพันธ์ของน้าตาล
กลูโคสที่มีธาตุไนโตรเจนติดอยู่ด้วยทาให้มีคุณสมบัติที่โดดเด่น และหลากหลายมีประสิทธิภาพสูงในกิจกรรม
ชีวภาพ และยังย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ ดังนั้นจึงเป็นสารที่มีความปลอดภัยในการใช้กับมนุษย์ สัตว์ และ
สิ่งแวดล้อม สารไคติน-ไคโตซานนี้ มีลักษณะพิเศษในการนามาใช้ดูดซับและจับตะกอนต่างๆในสารละลายแล้ว
นาสารกลับมาใช้ใหม่ได้ซึ่งเป็นการหมุนเวียนตามระบบธรรมชาติ
ไคติน เป็นโพลิเมอร์ธรรมชาติ โดยพบเป็นองค์ประกอบของเปลือกแข็งที่หุ้มเซลล์ของรา
ยีสต์ และจุลินทรีย์หลายชนิด หรือพบเป็นโครงสร้างแข็งของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง จาพวกแมลง กุ้ง ปู
ปลาหมึก เป็นต้น ไคตินมีปริมาณมากเป็นอันดับสอง รองจากเซลลูโลสที่เป็นส่วนประกอบของเนื้อไม้
ไคติน เป็นโพลิเมอร์สายยาวที่ประกอบ ขึ้นจากน้าตาลหน่วยย่อย คือ N-acetyl-D-glucosamine มา
เรียงต่อกันเป็นสายลักษณะ เป็นของแข็งอันยรูป ละลายได้ในกรดอนินทรีย์ เช่น กรดเกลือ กรดกามะถัน กรด
ฟอสฟอริก และกรดฟอร์มิกที่ปราศจากน้า แต่ไม่ละลายในด่างเจือจาง แอลกอฮอล์ และตัวทาละลายอินทรีย์อื่นๆ
ไคตินที่ได้จากแต่ละแหล่ง มีโครงสร้างและสมบัติแตกต่างกันโดยแบ่งตามลักษณะการ
เรียงตัวของเส้นใยได้ 3 กลุ่ม คือ
- แบบอัลฟา มีการเรียงตัวของสายโซ่โมเลกุลในลักษณะสวนทางกัน มีความแข็งแรงสูง ได้แก่ ไคติน
จากเปลือกกุ้ง และกระดองปู
- แบบเบตา มีการเรียงตัวของสายโซ่โมเลกุลในทิศทางเดียวกัน จึงจับกันได้ไม่ค่อยแข็งแรง มีความไว
ต่อปฏิกิริยาเคมีมากกว่าแบบอัลฟา ได้แก่ ไคตินจากแกนปลาหมึก
- แบบแกมมา มีการเรียงตัวของสายโซ่โมเลกุลในลักษณะที่ไม่แน่นอน (สวนทางกันสลับทิศทางเดียวกัน)
มีความแข็งแรงรองจากแบบอัลฟา ได้แก่ ไคตินจากเห็ด รา และพืชชั้นต่า
ไค ติน ใน ธรรม ช าติอยู่รวม กับ โป รตีน แ ละเกลือแ ร่ ต้องน ามากาจัดเกลือแ ร่ออก
(demineralization) โดยใช้กรดจะได้แผ่นเหนียวหนืดคล้ายพลาสติก แล้วนาไปกาจัดโปรตีนออก
(deproteinization) โดยใช้ด่างจะได้ไคติน หากเป็นไคตินที่ได้จากเปลือกกุ้งหรือปู จะมีสีส้มปนอยู่
นาไปแช่ในเอทานอลเพื่อละลายสีออก
ส่วนไคโตซาน คือ อนุพันธ์ของไคตินที่ตัดเอาหมู่ acetyl ของน้าตาล N-acetyl-D-glucosamine
(เรียกว่า deacetylation คือ เปลี่ยนน้าตาล N-acetyl-D-glucosamine เป็น glucosamine) ออกตั้งแต่ 50
% ขึ้นไป และมีสมบัติละลายได้ในกรดอ่อนปกติแล้ว ไคโตซานที่ได้จะมีส่วนผสมของ น้าตาล N-acetyl-D-
glucosamine และ glucosamine อยู่ในสายโพลิเมอร์เดียวกัน ซึ่งระดับการกาจัดหมู่ acetyl (หรือเปอร์เซนต์
การเกิด deacetylation) นี้ มีผลต่อสมบัติและการทางานของไคโตซาน นอกจากนี้ น้าหนักโมเลกุลของไคโต
ซานบอกถึงความยาวของสายไคโตซาน ซึ่งมีผลต่อความหนืด เช่น ไคโตซานที่มีน้าหนักโมเลกุลสูง จะมีสายยาว
4
และสารละลายมีความหนืดมากกว่าไคโตซานที่มีน้าหนักโมเลกุลต่า เป็นต้น ดังนั้น การนาไคโตซานไปใช้
ประโยชน์จะต้องพิจารณาทั้งเปอร์เซนต์การเกิด deacetylation และน้าหนักโมเลกุล
ไคโตซาน (chitosan) หรือเรียก deacetylated chitin เป็นโคโพลีเมอร์ที่เกิดจาก glucosamine และ
N- acetylglucosamine ประกอบด้วย glucosamine มากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ จัดเป็นสารอนุพันธุ์ของไคตินที่
ผลิตได้จากการทาปฏิกิริยากับด่างเข้มข้นเพื่อกาจัดหมู่อะซิติลออก ทาให้โมเลกุลเล็กลง และมีคุณสมบัติที่อ่อนตัว
สามารถขึ้นรูปเป็นเจล เม็ด เส้นใย หรือคอลลอยด์ รวมถึงการใช้ประโยชน์ในรูปแบบต่างๆได้มากขึ้น นอกจากนั้น
ไคโตซานประกอบด้วยหมู่อะมิโน (-NH2) และหมู่ไฮดรอกซิล (-OH) ที่สามารถทาปฏิกิริยากับสารอื่นเปลี่ยนเป็น
สารอนุพันธ์อื่นๆได้หลากหลาย
ปัจจุบันมีการนาไคตินและไคโตซานมาประยุกต์ในด้านต่างๆ อาทิเช่น
1. ด้านอาหาร ไคโตซานมีสมบัติในการต่อต้านจุลินทรีย์และเชื้อราบางชนิด โดยมีกลไกคือ ไคโตซานมี
ประจุบวก สามารถจับกับเซลล์เมมเบรนของจุลินทรีย์ที่มีประจุลบได้ ทาให้เกิดการรั่วไหลของโปรตีนและสารอื่น
ของเซลล์ ในหลายประเทศได้ขึ้นทะเบียนไคตินและไคโตซานให้เป็นสารที่ใช้เติมในอาหารได้ โดยนาไปใช้เป็นสาร
กัดบูด สารช่วยรักษากลิ่น รส และสารให้ความข้น ใช้เป็นสารเคลือบอาหาร ผัก และผลไม้ เพื่อรักษาความสด
หรือผลิตในรูปฟิล์มที่รับประทานได้ (edible film) สาหรับบรรจุอาหาร
2. ด้านอาหารเสริม มีรายงานว่า ไคโตซานช่วยลดคอเลสเตอรอล และไขมันในเส้นเลือดโดยไคโตซานไป
จับกับคอเลสเตอรอล ทาให้ร่างกายไม่สามารถดูดซึมไปใช้หรือดูดซึมได้น้อยลง จึงมีการโฆษณาเป็นผลิตภัณท์ลด
น้าหนัก ทั้งนี้ต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง เนื่องจากไคโตซานสามารถจับ วิตามินที่ละลายได้ดีในไขมัน (วิตามินเอ
ดี อี เค) อาจทาให้ขาดวิตามินเหล่านี้ได้ นอกจากนี้ ทางการแพทย์ มีรายงานการนา N-acetyl-D-glucosamine
ไปใช้รักษาไขข้อเสื่อม โดยอธิบายว่า ข้อเสื่อมเกิดเนื่องจากการสึกกร่อนของเนื้อเยื่ออ่อนที่เคลือบอยู่ระหว่างข้อ
กระดูก ซึ่ง glucosamine เป็นสารตั้งต้นในการสังเคราะห์ proteoglycan และ matrix ของกระดูกอ่อน จึง
ช่วยทาให้เยื่อหุ้มกระดูกอ่อนหนาขึ้น
3. ด้านการแพทย์ มีการวิจัยนาแผ่นไคโตซานมาใช้ปิดแผล ช่วยทาให้ไม่เป็นแผลเป็น โดยไคโตซานช่วย
ลดการ contraction ของ fibroblast ทาให้แผลเรียบ กระตุ้นให้เกิดการซ่อมแซมบาดแผลให้หายเร็วขึ้น
4. ด้านเภสัชกรรม มีรายงานการใช้ไคโตซานเพื่อควบคุมการปลดปล่อยตัวยาสาคัญ
5. ด้านการเกษตร เนื่องจากไคตินและไคโต-ซานมีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ ไนโตรเจน จะถูก
ปลดปล่อยออกจากโมเลกุลอย่างช้าๆ รวมทั้งช่วยตรึงไนโตรเจนจากอากาศและดิน จึงใช้เป็นปุ๋ยชีวภาพ
นอกจากนี้ยังช่วยกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของพืช และกระตุ้นการนาแร่ธาตุไปใช้ ผลคือสามารถเพิ่มผลผลิตและ
คุณภาพการผลิตได้ ทาให้เกษตรกรมี ต้นทุนต่าลง เนื่องจากลดการใช้ปุ๋ยและยาฆ่าแมลง
6. ด้านการปศุสัตว์ ใช้เป็นส่วนผสมในอาหารสัตว์เพื่อกระตุ้นภูมิคุ้มกัน และลดการติดเชื้อทาให้น้าหนัก
ตัวของสัตว์เพิ่มขึ้น
7. ด้านการบาบัดน้าเสีย โดยทั่วไป น้าเสียจากอุตสาหกรรมอาหาร มีสารแขวนลอยสูงไคโตซานมีประจุ
บวก สามารถจับกับโปรตีนและไขมันได้ดี ซึ่งโปรตีนที่ได้สามารถแยกนาไปใช้เป็นอาหารสัตว์ต่อไป นอกจากนี้ ไค
โตซานยังสามารถดูดซับอิออนของโลหะหนัก และจับสี (dye) ช่วยในการบาบัดน้าเสีย
8. ด้านสิ่งทอ นามาขึ้นรูปเป็นเส้นใย และใช้ในการทอร่วมหรือเคลือบกับเส้นใยอื่นๆ เพื่อให้ได้คุณสมบัติ
การต้านจุลชีพ ลดการเกิดกลิ่นอับชื้น
5
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
6
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"Siwakorn Chancom
 
2560 project (1) (1)
2560 project  (1) (1)2560 project  (1) (1)
2560 project (1) (1)charintip0204
 
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานแบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานDduang07
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6jihan1996
 
Training
TrainingTraining
Trainingphon29
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ธัญญลักษณ์ นาคคำ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์ธัญญลักษณ์ นาคคำ
 
2562 final-project 19
2562 final-project 192562 final-project 19
2562 final-project 19fangfung
 
Co-operative Eduction in SUT
Co-operative Eduction in SUTCo-operative Eduction in SUT
Co-operative Eduction in SUTb4870579
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์panita aom
 

What's hot (13)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Work 1 kopthuay
Work 1 kopthuayWork 1 kopthuay
Work 1 kopthuay
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
 
2560 project (1) (1)
2560 project  (1) (1)2560 project  (1) (1)
2560 project (1) (1)
 
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานแบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
Training
TrainingTraining
Training
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Putticha
PuttichaPutticha
Putticha
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์
 
2562 final-project 19
2562 final-project 192562 final-project 19
2562 final-project 19
 
Co-operative Eduction in SUT
Co-operative Eduction in SUTCo-operative Eduction in SUT
Co-operative Eduction in SUT
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to โครงงานคอม

ประโยชน์ของผลไม้
ประโยชน์ของผลไม้ประโยชน์ของผลไม้
ประโยชน์ของผลไม้Narrongdej3110
 
2562 final-project no.30-610
2562 final-project no.30-6102562 final-project no.30-610
2562 final-project no.30-610Preaw Ppy
 
Claustrophobia
ClaustrophobiaClaustrophobia
ClaustrophobiaPreaw Ppy
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่ทาม ได้ไหมดาว
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง0910797083
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง0910797083
 

Similar to โครงงานคอม (20)

2561 project-chichayu
2561 project-chichayu2561 project-chichayu
2561 project-chichayu
 
ปลาตีน
ปลาตีนปลาตีน
ปลาตีน
 
at1
at1at1
at1
 
at1
at1at1
at1
 
ประโยชน์ของผลไม้
ประโยชน์ของผลไม้ประโยชน์ของผลไม้
ประโยชน์ของผลไม้
 
604 41 project 2558
604 41 project 2558604 41 project 2558
604 41 project 2558
 
2562 final-project no.30-610
2562 final-project no.30-6102562 final-project no.30-610
2562 final-project no.30-610
 
Claustrophobia
ClaustrophobiaClaustrophobia
Claustrophobia
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
Eliminate pollution
Eliminate pollutionEliminate pollution
Eliminate pollution
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
Natnicha 2561-project
Natnicha 2561-projectNatnicha 2561-project
Natnicha 2561-project
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
โครงร่างคอมคู่1
โครงร่างคอมคู่1โครงร่างคอมคู่1
โครงร่างคอมคู่1
 

โครงงานคอม

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน ข้อเท็จจริงของสารไคติน (Facts of Chitin) ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวกุลปรียา วรรณชัยสม เลขที่ 19 ชั้น ม.6 ห้อง 8 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ผู้จัดทาโครงงาน 1.นางสาวกุลปรียา วรรณชัยสม เลขที่ 19 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ข้อเท็จจริงของสารไคติน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Facts of Chitin ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวกุลปรียา วรรณชัยสม ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในปัจจุบันพบว่า มียาลดความอ้วนมากมายที่ได้โฆษณาออกมาว่าสารไคตินสามารถช่วยลดความอ้วนได้ โดยสารไคตินนั้นจะสามารถพบได้ในเปลือกกุ้ง กระดองปูต่างๆ โดยกุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครฟิชเป็นที่นิยมเลี้ยงมาก ของคนที่ชอบเลี้ยงสัตว์น้าด้วยความที่มีสีสันสวยงาม มีรูปร่างที่สวยงาม เลี้ยงง่าย กินซากพืชซากสัตว์เป็นอาหาร มีการเลี้ยงเพื่อจุดประสงค์ต่างๆมากมาย เลี้ยงเพื่อกินหรือเลี้ยงไว้เพื่อขาย ประกอบอาชีพ ซึ่งจะพบว่าเมื่อกุ้งลอก คราบ ในบางครั้งกุ้งจะกินคราบของตัวเองเข้าไปเพื่อเป็นอาหารให้กับตัวมันเอง และกุ้งตัวที่ได้รับสารอาหารที่มี ประโยชน์จะทาให้มีการเจริญเติบโตที่ดี สีสวย อัตราการลอกคราบเกิดขึ้นบ่อย เพราะการลอกคราบจะทาให้ ขนาดตัวของกุ้งใหญ่ขึ้น ซึ่งเมื่อนามาวิเคราะห์ ตรงเปลือกของกุ้ง จะมีสารไคตินอยู่ โดยสารไคติน-ไคโตซานเป็น โพลิเมอร์ธรรมชาติ โดยพบเป็นองค์ประกอบของเปลือกแข็ง ที่หุ้มเซลล์ของรา ยีสต์ และจุลินทรีย์หลายชนิด หรือ พบเป็นโครงสร้างแข็งของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง จาพวกแมลง กุ้ง ปู ปลาหมึก เป็นต้น ไคตินมีปริมาณมากเป็น อันดับสอง รองจากเซลลูโลสที่เป็นส่วนประกอบของเนื้อไม้ มีลักษณะพิเศษในการนามาใช้ดูดซับและจับตะกอน ต่างๆในสารละลายแล้วนาสารกลับมาใช้ใหม่ได้ซึ่งเป็นการหมุนเวียนตามระบบธรรมชาติ โดยไคโตซานมีสมบัติใน การต่อต้านจุลินทรีย์และเชื้อราบางชนิด และมีประโยชน์มากมายไม่ว่าจะเป็น การนาไปใช้เป็นสารกันบูด การใช้ เป็นส่วนผสมในอาหารสัตว์เพื่อกระตุ้นภูมิคุ้มกัน และลดการติดเชื้อทาให้น้าหนักตัวของสัตว์เพิ่มขึ้น ช่วยลด คอเลสเตอรอล และไขมันในเส้นเลือดโดยไคโตซานไปจับกับคอเลสเตอรอล ทาให้ร่างกายไม่สามารถดูดซึมไปใช้ หรือดูดซึมได้น้อยลง ในปัจจุบันจึงมีการโฆษณาเป็นผลิตภัณท์ลดน้าหนัก ผู้จัดทาจึงสนใจศึกษาเกี่ยวกับสารไคติน ว่าในสารไคตินนั้นมีสารอะไรอยู่ จึงสามารถทาให้ลดคอเลสเตอรอล และสามารถนามาทาเป็นยาลดความอ้วนได้ แล้วจะปลอดภัยจริงหรือ และสามารถช่วยลดความอ้วนได้หรือไม่ เพื่อนาไปเป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภค และเป็น แนวทางต่อเกษตรกรและผู้ที่สนใจในสารไคติน-ไคโตซานเพื่อนาไปเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพต่อไป
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาสารไคติน-ไคโตซาน 2. เพื่อศึกษาหาแนวทางในการประกอบอาชีพ 3. เพื่อศึกษาความปลอดภัยของยาลดความอ้วนที่มีส่วนผสมของสารไคติน-ไคโตซาน ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษาสารในสารสกัดไคติน-ไคโตซานที่สามารถนามาทาเป็นยาลดความอ้วนได้ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) เป็นวัสดุชีวภาพเกิดในธรรมชาติ จัดอยู่ในกลุ่มคาร์โบไฮเดรตผสม ที่ประกอบด้วยอนุพันธ์ของน้าตาล กลูโคสที่มีธาตุไนโตรเจนติดอยู่ด้วยทาให้มีคุณสมบัติที่โดดเด่น และหลากหลายมีประสิทธิภาพสูงในกิจกรรม ชีวภาพ และยังย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ ดังนั้นจึงเป็นสารที่มีความปลอดภัยในการใช้กับมนุษย์ สัตว์ และ สิ่งแวดล้อม สารไคติน-ไคโตซานนี้ มีลักษณะพิเศษในการนามาใช้ดูดซับและจับตะกอนต่างๆในสารละลายแล้ว นาสารกลับมาใช้ใหม่ได้ซึ่งเป็นการหมุนเวียนตามระบบธรรมชาติ ไคติน เป็นโพลิเมอร์ธรรมชาติ โดยพบเป็นองค์ประกอบของเปลือกแข็งที่หุ้มเซลล์ของรา ยีสต์ และจุลินทรีย์หลายชนิด หรือพบเป็นโครงสร้างแข็งของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง จาพวกแมลง กุ้ง ปู ปลาหมึก เป็นต้น ไคตินมีปริมาณมากเป็นอันดับสอง รองจากเซลลูโลสที่เป็นส่วนประกอบของเนื้อไม้ ไคติน เป็นโพลิเมอร์สายยาวที่ประกอบ ขึ้นจากน้าตาลหน่วยย่อย คือ N-acetyl-D-glucosamine มา เรียงต่อกันเป็นสายลักษณะ เป็นของแข็งอันยรูป ละลายได้ในกรดอนินทรีย์ เช่น กรดเกลือ กรดกามะถัน กรด ฟอสฟอริก และกรดฟอร์มิกที่ปราศจากน้า แต่ไม่ละลายในด่างเจือจาง แอลกอฮอล์ และตัวทาละลายอินทรีย์อื่นๆ ไคตินที่ได้จากแต่ละแหล่ง มีโครงสร้างและสมบัติแตกต่างกันโดยแบ่งตามลักษณะการ เรียงตัวของเส้นใยได้ 3 กลุ่ม คือ - แบบอัลฟา มีการเรียงตัวของสายโซ่โมเลกุลในลักษณะสวนทางกัน มีความแข็งแรงสูง ได้แก่ ไคติน จากเปลือกกุ้ง และกระดองปู - แบบเบตา มีการเรียงตัวของสายโซ่โมเลกุลในทิศทางเดียวกัน จึงจับกันได้ไม่ค่อยแข็งแรง มีความไว ต่อปฏิกิริยาเคมีมากกว่าแบบอัลฟา ได้แก่ ไคตินจากแกนปลาหมึก - แบบแกมมา มีการเรียงตัวของสายโซ่โมเลกุลในลักษณะที่ไม่แน่นอน (สวนทางกันสลับทิศทางเดียวกัน) มีความแข็งแรงรองจากแบบอัลฟา ได้แก่ ไคตินจากเห็ด รา และพืชชั้นต่า ไค ติน ใน ธรรม ช าติอยู่รวม กับ โป รตีน แ ละเกลือแ ร่ ต้องน ามากาจัดเกลือแ ร่ออก (demineralization) โดยใช้กรดจะได้แผ่นเหนียวหนืดคล้ายพลาสติก แล้วนาไปกาจัดโปรตีนออก (deproteinization) โดยใช้ด่างจะได้ไคติน หากเป็นไคตินที่ได้จากเปลือกกุ้งหรือปู จะมีสีส้มปนอยู่ นาไปแช่ในเอทานอลเพื่อละลายสีออก ส่วนไคโตซาน คือ อนุพันธ์ของไคตินที่ตัดเอาหมู่ acetyl ของน้าตาล N-acetyl-D-glucosamine (เรียกว่า deacetylation คือ เปลี่ยนน้าตาล N-acetyl-D-glucosamine เป็น glucosamine) ออกตั้งแต่ 50 % ขึ้นไป และมีสมบัติละลายได้ในกรดอ่อนปกติแล้ว ไคโตซานที่ได้จะมีส่วนผสมของ น้าตาล N-acetyl-D- glucosamine และ glucosamine อยู่ในสายโพลิเมอร์เดียวกัน ซึ่งระดับการกาจัดหมู่ acetyl (หรือเปอร์เซนต์ การเกิด deacetylation) นี้ มีผลต่อสมบัติและการทางานของไคโตซาน นอกจากนี้ น้าหนักโมเลกุลของไคโต ซานบอกถึงความยาวของสายไคโตซาน ซึ่งมีผลต่อความหนืด เช่น ไคโตซานที่มีน้าหนักโมเลกุลสูง จะมีสายยาว
  • 4. 4 และสารละลายมีความหนืดมากกว่าไคโตซานที่มีน้าหนักโมเลกุลต่า เป็นต้น ดังนั้น การนาไคโตซานไปใช้ ประโยชน์จะต้องพิจารณาทั้งเปอร์เซนต์การเกิด deacetylation และน้าหนักโมเลกุล ไคโตซาน (chitosan) หรือเรียก deacetylated chitin เป็นโคโพลีเมอร์ที่เกิดจาก glucosamine และ N- acetylglucosamine ประกอบด้วย glucosamine มากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ จัดเป็นสารอนุพันธุ์ของไคตินที่ ผลิตได้จากการทาปฏิกิริยากับด่างเข้มข้นเพื่อกาจัดหมู่อะซิติลออก ทาให้โมเลกุลเล็กลง และมีคุณสมบัติที่อ่อนตัว สามารถขึ้นรูปเป็นเจล เม็ด เส้นใย หรือคอลลอยด์ รวมถึงการใช้ประโยชน์ในรูปแบบต่างๆได้มากขึ้น นอกจากนั้น ไคโตซานประกอบด้วยหมู่อะมิโน (-NH2) และหมู่ไฮดรอกซิล (-OH) ที่สามารถทาปฏิกิริยากับสารอื่นเปลี่ยนเป็น สารอนุพันธ์อื่นๆได้หลากหลาย ปัจจุบันมีการนาไคตินและไคโตซานมาประยุกต์ในด้านต่างๆ อาทิเช่น 1. ด้านอาหาร ไคโตซานมีสมบัติในการต่อต้านจุลินทรีย์และเชื้อราบางชนิด โดยมีกลไกคือ ไคโตซานมี ประจุบวก สามารถจับกับเซลล์เมมเบรนของจุลินทรีย์ที่มีประจุลบได้ ทาให้เกิดการรั่วไหลของโปรตีนและสารอื่น ของเซลล์ ในหลายประเทศได้ขึ้นทะเบียนไคตินและไคโตซานให้เป็นสารที่ใช้เติมในอาหารได้ โดยนาไปใช้เป็นสาร กัดบูด สารช่วยรักษากลิ่น รส และสารให้ความข้น ใช้เป็นสารเคลือบอาหาร ผัก และผลไม้ เพื่อรักษาความสด หรือผลิตในรูปฟิล์มที่รับประทานได้ (edible film) สาหรับบรรจุอาหาร 2. ด้านอาหารเสริม มีรายงานว่า ไคโตซานช่วยลดคอเลสเตอรอล และไขมันในเส้นเลือดโดยไคโตซานไป จับกับคอเลสเตอรอล ทาให้ร่างกายไม่สามารถดูดซึมไปใช้หรือดูดซึมได้น้อยลง จึงมีการโฆษณาเป็นผลิตภัณท์ลด น้าหนัก ทั้งนี้ต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง เนื่องจากไคโตซานสามารถจับ วิตามินที่ละลายได้ดีในไขมัน (วิตามินเอ ดี อี เค) อาจทาให้ขาดวิตามินเหล่านี้ได้ นอกจากนี้ ทางการแพทย์ มีรายงานการนา N-acetyl-D-glucosamine ไปใช้รักษาไขข้อเสื่อม โดยอธิบายว่า ข้อเสื่อมเกิดเนื่องจากการสึกกร่อนของเนื้อเยื่ออ่อนที่เคลือบอยู่ระหว่างข้อ กระดูก ซึ่ง glucosamine เป็นสารตั้งต้นในการสังเคราะห์ proteoglycan และ matrix ของกระดูกอ่อน จึง ช่วยทาให้เยื่อหุ้มกระดูกอ่อนหนาขึ้น 3. ด้านการแพทย์ มีการวิจัยนาแผ่นไคโตซานมาใช้ปิดแผล ช่วยทาให้ไม่เป็นแผลเป็น โดยไคโตซานช่วย ลดการ contraction ของ fibroblast ทาให้แผลเรียบ กระตุ้นให้เกิดการซ่อมแซมบาดแผลให้หายเร็วขึ้น 4. ด้านเภสัชกรรม มีรายงานการใช้ไคโตซานเพื่อควบคุมการปลดปล่อยตัวยาสาคัญ 5. ด้านการเกษตร เนื่องจากไคตินและไคโต-ซานมีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ ไนโตรเจน จะถูก ปลดปล่อยออกจากโมเลกุลอย่างช้าๆ รวมทั้งช่วยตรึงไนโตรเจนจากอากาศและดิน จึงใช้เป็นปุ๋ยชีวภาพ นอกจากนี้ยังช่วยกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของพืช และกระตุ้นการนาแร่ธาตุไปใช้ ผลคือสามารถเพิ่มผลผลิตและ คุณภาพการผลิตได้ ทาให้เกษตรกรมี ต้นทุนต่าลง เนื่องจากลดการใช้ปุ๋ยและยาฆ่าแมลง 6. ด้านการปศุสัตว์ ใช้เป็นส่วนผสมในอาหารสัตว์เพื่อกระตุ้นภูมิคุ้มกัน และลดการติดเชื้อทาให้น้าหนัก ตัวของสัตว์เพิ่มขึ้น 7. ด้านการบาบัดน้าเสีย โดยทั่วไป น้าเสียจากอุตสาหกรรมอาหาร มีสารแขวนลอยสูงไคโตซานมีประจุ บวก สามารถจับกับโปรตีนและไขมันได้ดี ซึ่งโปรตีนที่ได้สามารถแยกนาไปใช้เป็นอาหารสัตว์ต่อไป นอกจากนี้ ไค โตซานยังสามารถดูดซับอิออนของโลหะหนัก และจับสี (dye) ช่วยในการบาบัดน้าเสีย 8. ด้านสิ่งทอ นามาขึ้นรูปเป็นเส้นใย และใช้ในการทอร่วมหรือเคลือบกับเส้นใยอื่นๆ เพื่อให้ได้คุณสมบัติ การต้านจุลชีพ ลดการเกิดกลิ่นอับชื้น
  • 5. 5 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________
  • 6. 6 _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________