SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน สารปนเปื้อนในอาหาร อันตรายใกล้ตัว
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาวพิมพ์มาดา เรือนแก้ว เลขที่ 5 ชั้น ม.6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวพิมพ์มาดา เรือนแก้ว เลขที่ 5
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
สารปนเปื้อนในอาหาร อันตรายใกล้ตัว
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Danger in contamination food
ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทสารวจ
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวพิมพ์มาดา เรือนแก้ว
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในแต่ละวันเราต้องเผชิญกับสารพิษต่างๆ มากมาย ทั้งในอากาศ ควัน ไอเสีย หรือกระทั่งในอาหาร
ใครจะไปรู้ว่าอาหารที่เรากินอยู่ทุกวันนี้อาจมีสารปนเปื้อนอยู่ก็ได้
ทุกครั้งที่รับประทานอาหารนอกจากจะต้องคานึงถึงคุณค่าทางโภชนาการแล้ว สิ่งสาคัญที่ต้องคานึงถึง
ก็คือ เรื่องของความสะอาดและความปลอดภัย เพราะกว่าอาหารจะมาถึงมือผู้บริโภคนั้นต้องผ่านกระบวนการ
หลายขั้นตอน นับตั้งแต่การผลิตตลอดจนวิธีการเก็บดูแลรักษาอาหารก่อนจะมาถึงมือผู้บริโภค ซึ่งกระบวนการ
ทั้งหลายเหล่านี้ล้วนก่อให้เกิดความเสี่ยงของอาหารที่ไม่ปลอดภัยได้ทั้งสิ้น
โดยที่มาของสารปนเปื้อนในอาหารนั้น เกิดขึ้นได้จากทั้งเชื้อจุลินทรีย์ทางธรรมชาติ เช่น
สารอะฟลาทอกซิน ( aflagoxin) ซึ่งเป็นสารที่สร้างจากเชื้อรา Aspergillus spp สารพิษจากเห็ด
บางชนิด เป็นต้น และสารอาหารที่ปนเปื้อนในอาหารที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์ เช่น ยาฆ่าแมลง สารเร่ง
เนื้อแดง บอร์แรกซ์ สารกันรา ฟอร์มาลีน เป็นต้น และจากการตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อน
ยาฆ่าแมลงในผักของสานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติได้มีการสุ่มตรวจตัวอย่างสินค้าผัก
ผลไม้ที่ว่างจาหน่ายตามท้องตลาดทั่ว ๆ ไป 164 ตัวอย่างมาตรวจวิเคราะห์ พบว่า มียาฆ่าแมลงตกค้างเกิน
มาตรฐาน 33ตัวอย่างคิดเป็นร้อยละ 20 ของตัวอย่างที่สุ่มตรวจทั้งหมด โดยชนิดของผักที่ตรวจพบยาฆ่าแมลง
ปนเปื้อน 5 อันดับแรก คือพริกสด คะน้า ต้นหอม ผักชีและขึ้นฉ่าย ซึ่งสารปนเปื้อนเหล่านี้ บางชนิดเป็น
อันตรายต่อร่างกาย บางชนิดหากบริโภคเข้าไปในปริมาณมาก อาจถึงแก่ชีวิตได้
3
ดังนั้น การศึกษา การรับรู้อันตรายจากสิ่งปนเปื้อนในอาหาร จึงมีความสาคัญที่จะทาให้ผู้บริโภคทราบ
ถึงอันตรายของสารปนเปื้อนในอาหารที่อาจส่งผลอันตรายต่อตนเอง เพื่อจะนาไปสู่การ รู้เท่าทัน และป้องกัน
ตนเองจากอันตรายที่เกิดสารปนเปื้อนในอาหารได้
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาชนิดของสารปนเปื้อนในอาหารที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย
2. เพื่อศึกษาความเสี่ยง และอันตรายของสารปนเปื้อนในอาหาร
3. เพื่อศึกษาวิธีหลีกเลี่ยงอันตรายที่เกิดจากสารปนเปื้อนในอาหาร
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ศึกษาข้อมูลเรื่องสารปนเปื้อนในอาหารจากแหล่งข้อมูลต่างๆ คือ เว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ต และ
หนังสือที่เกี่ยวข้อง
หลักการและทฤษฎี
พิษภัยของสารปนเปื้อนแต่ละชนิด
1. สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร
คุณสมบัติของสาร สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกรเป็นสารเคมีกลุ่มเบต้าอะโกนิสต์ ( Beta-agonist) เช่น
ซาลบลูทามอล (Salbutamol), เคลนบิวเทอรอล ( Clenbuterol) ซึ่งปกติใช้เป็นยารักษาโรคหอบหืด
ในคนและสัตว์เท่านั้น แต่มีการลักลอบนามาใช้ผสมอาหารเลี้ยงสุกร เพื่อเพิ่มเนื้อแดงและลดไขมัน
ตามความต้องการของตลาดและผู้บริโภค ทาให้เกิดการตกค้างของสารนี้ในเนื้อสุกร
ความเป็นพิษ ถ้าบริโภคสารนี้เข้าไปจะทาให้เกิดอาการมือสั่น กล้ามเนื้อกระตุก ปวดศรีษะ หัวใจเต้น
เร็ว เป็นตะคริว คลื่นไส้ อาเจียน มีอาการทางประสาท มีผลกระทบต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปริมาณที่ได้รับ
2. สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค
คุณสมบัติของสาร สารกันรา หรือ กรดซาลิซิลิค เป็นกรดที่มีอันตรายต่อร่างกายมาก กระทรวง
สาธารณสุขได้กาหนดห้ามนามาใช้เจือปนในอาหาร แต่มีผู้ผลิตอาหารบางรายนามาใส่เป็นสารกันเสีย
ในอาหารแห้ง พริกแกง หรือน้าดองผัก ผลไม้ เพื่อป้องกันเชื้อราขึ้น และช่วยให้น้าดองผัก ผลไม้ดูใส
เหมือนใหม่อยู่เสมอ
ความเป็นพิษ ถ้าร่างกายได้รับเข้าไปจะไปทาลายเซลในร่างกาย ทาให้ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอและ
หากได้รับเข้าไปมาก ๆ จะทาลายเยื่อบุกระเพาะอาหารและลาไส้ ทาให้เป็นแผลในกระเพาะอาหาร
และลาไส้ได้ ถ้าได้รับกรดซาลิซิคจนมีความเข้มข้นในเลือดถึง 25-35 มิลลิกรัมต่อเลือด 100 มิลลิลิตร
จะมีอาการอาเจียนหูอื้อ มีไข้ ความดันโลหิตต่าจนช็อค และอาจถึงตายได้
3. สารฟอกขาว
คุณสมบัติของสาร สารฟอกขาวเป็นสารเคมีที่มีคุณสมบัติในการยับยั้งการเปลี่ยนสีของอาหารไม่ให้
เป็นสีน้าตาล เมื่ออาหารนั้นถูกความร้อนในกระบวนการผลิต หรือถูกหั่น/ตัด แล้ววางทิ้งไว้ และยับยั้ง
การเจริญเติบโตของยีสต์ รา บักเตรี สารเคมีดังกล่าวที่นิยมใช้เป็นสารกลุ่มซัลไฟต์ ได้แก่ ซัลเฟอร์ได
4
ออกไซด์ โซเดียมหรือโปแตสเซียมซัลไฟด์ โซเดียมหรือโปแตสเซียมไบซัลไฟต์ และโซเดียมหรือโปแตส
เซียมแมตาไบซัลไฟต์ ซึ่งจะได้รับอนุญาตจากสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ให้ใช้ได้ใน
อาหารทุกชนิด คือ สารโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ หรือ โซเดียมไดไทโอไนต์ เป็นสารเคมีที่ใช้ในการฟอก
แหวน ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพมาก แต่มีผู้ลักลอบนามาใช้ฟอกขาวในอาหาร สารนี้มีคุณสมบัติใน
การสลายตัวได้เร็วเมื่อทิ้งไว้จะเปลี่ยนไปอยู่ในรูปของสารกลุ่มซัลไฟต์
ความเป็นพิษ ถ้าร่างกายได้รับสารฟอกขาวแล้วกระบวนการในร่างกายจะเปลี่ยนสารไปอยู่ในรูปของ
ซัลเฟตและขับออกได้ทางปัสสาวะ แต่ถ้าได้รับสารฟอกขาวกลุ่มโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ หรือกลุ่มซัล
ไฟต์เกินกาหนด สารฟอกขาวจะไปทาลายไวตามินบี 1 ในร่างกาย ทาให้เกิดอาการหายใจขัด ความ
ดันโลหิตต่า ปวดท้อง อาเจียน อุจจาระร่วง ในรายที่แพ้อาจเกิดลมพิษ ช็อค หมดสติ และเสียชีวิตได้
โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคหอบหืด
4. สารบอแรกซ์
คุณสมบัติของสาร สารบอแรกซ์หรือที่มีชื่อทางการค้าว่า น้าประสานทอง ผงกรอบ ผงเนื้อนิ่ม สาร
ข้าวตอก ผงกันบูด และเพ่งแซ เป็นสารเคมีที่เป็นเกลือของสารประกอบโบรอน มีชื่อทางเคมีว่า
โซเดียมบอเรต (Sodium borate) โซเดียมเตตราบอเรต (Sodium tetraborate) มีลักษณะไม่มีกลิ่น
เป็นผลึก ละเอียด หรือผงสีขาว ละลายน้าได้ดี ละลายในแอลกอฮอล์ 95% มีการนามาใช้ประโยชน์
ในทางอุตสาหกรรม เป็นสารเคมีที่เป็นอันตรายแก่ร่างกายและห้ามใช้ในอาหารทุกชนิด แต่เนื่องจาก
บอแรกซ์มีคุณสมบัติทาให้เกิดสารประกอบเชิงซ้อน กับสารประกอบอินทรีย์โพลีไฮดรอกซี ( Organic
polyhydroxy compound) เกิดลักษณะหยุ่น กรอบ และเป็นวัตถุกันเสียได้ จึงมีการลักลอบนาสาร
บอแร็กซ์ผสมลงในอาหารหลายชนิด เช่น หมูบด ปลาบด ลูกชิ้น ทอดมัน ไส้กรอก ผงวุ้น แป้งกรุบ
ทับทิมกรอบ มะม่วงดอง ผักกาดดอง เป็นต้น เพื่อให้อาหารเหล่านั้น มีลักษณะหยุ่น กรอบ แข็ง คงตัว
อยู่ได้นาน นอกจากนี้ ยังมีการนาผงบอแร๊กซ์ไปละลายในน้า แล้วทาหรือชุบลงในเนื้อหมู เนื้อวัว
เพื่อให้ดูสดตลอดเวลา อีกทั้งยังมีการใช้ปลอมปนในผงชูรส เนื่องจากบอแร็กซ์มีลักษณะภายนอกเป็น
ผลึกคล้ายคลึงกับผลึกผงชูรส
ความเป็นพิษ ถ้าบริโภคเข้าไปในร่างกายจะทาให้ร่างกายอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้าหนักลด สาไส้และ
กระเพาะอาหารเกิดการระคายเคือง อุจจาระร่วง และเป็นพิษต่อตับ ไต และสมองได้ ขึ้นอยู่กับ
ปริมาณสารที่ได้รับ
5. สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์
คุณสมบัติของสาร ฟอร์มาลิน มักใช้เป็นน้ายาฆ่าเชื้อโรค หรือใช้เป็นน้ายาดองศพ ประกอบด้วย แก๊ส
ฟอร์มาลดีไฮด์ ประมาณร้อยละ 37-40 ลักษณะทั่วไปของฟอร์มาลินเป็นของเหลวใส ไม่มีสี มีกลิ่นฉุน
เฉพาะตัว ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตเคมีภัณฑ์พลาสติกสิ่งทอเพื่อใช้ในการรักษาผ้าไม่ให้ย่นหรือยับ ใช้
ป้องกันการขึ้นราในการเก็บรักษาข้าวสาลี ข้าวโอ๊ตหลังจากเก็บเกี่ยว และใช้เพื่อป้องกันแมลงในพวก
ธัญญาพืชหลังการเก็บเกี่ยว ฟอร์มาลินเป็นอันตรายและห้ามใช้ในอาหารทุกชนิด แต่ปัจจุบันยัง
มีการนามาใช้ในทางที่ผิด โดยเข้าใจว่าช่วยทาให้อาหารคงความสด ไม่เน่าเสียได้ง่าย จึงมีการนามาใช้
กับอาหารที่เน่าเสียได้ง่าย เช่น อาหารทะเลสด เครื่องในสัตว์ เนื้อสัตว์ ผักสดชนิดต่างๆ เป็นต้น
5
ความเป็นพิษ ถ้าร่างกายได้รับสารฟอร์มาลินจากการบริโภคอาหารที่มีสารดังกล่าวตกค้าง อาจทาให้
เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินอาหาร และหากสัมผัสอยู่เป็นประจา จะทาให้เกิดการสะสมจน
ทาให้ร่างกายอ่อนแอได้ และสารฟอร์มาลินยังเป็นสารก่อมะเร็งในสิ่งมีชีวิตได้ด้วย
6. ยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกาจัดศัตรูพืช
คุณสมบัติของสาร ยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกาจัดศัตรูพืช คือ วัตถุมีพิษที่นามาใช้เพื่อป้องกันกาจัด
ศัตรูพืช สัตว์ และมนุษย์ ทั้งในการเกษตร อุตสาหกรรม และสาธารณสุข ซึ่งได้รับอนุญาตให้ใช้ได้บาง
ชนิด แต่ต้องทิ้งระยะให้สารหมดความเป็นพิษก่อนการเก็บเกี่ยว
ความเป็นพิษ เมื่อได้รับสารฆ่าแมลงเข้าสู่ร่างกาย จะเกิดปฏิกิริยาทางเคมีกับเอนไซม์ในร่างกาย มีผล
ให้เกิดการขัดขวางการทาหน้าที่ตามปกติของระบบประสาททั้งในคนและสัตว์ ความเป็นพิษขึ้นกับ
คุณสมบัติของสารเคมีแต่ละชนิด วิธีการได้รับสารเข้าสู่ร่างกาย ปริมาณความถี่ สุขภาพของผู้ได้รับ
สารพิษและก่อให้เกิดอาการอ่อนเพลีย ปวด ศีรษะ มึนงง หายใจลาบาก แน่นในอก คลื่นไส้ อาเจียน
ปวดท้อง ท้องเดิน กล้ามเนื้อโดยเฉพาะที่ลิ้นและหนังตากระตุก ชัก หมดสติ
ทั้งนี้ จากการสุ่มตรวจอาหารเพื่อหาสารปนเปื้อนและจุลินทรีย์ก่อโรคในอาหารของสาธารณสุขจังหวัด
ตั้งแต่ปี 2551-2553 พบว่า แนวโน้มของสารปนเปื้อนที่ผสมอยู่ในอาหารมีเพิ่มมากขึ้น ซึ่งหากไม่มี
มาตรการใดๆ มาแก้ไข 'อาหาร' ซึ่งถือเป็นสิ่งจาเป็นต่อการเสริมสร้างร่างกายให้มีสุขภาพดี อาจ
กลายเป็นยาพิษที่ย้อนกลับมาทาลายสุขภาพของเราได้เช่นกัน
วิธีสร้างความปลอดภัย หลีกเลี่ยงสารปนเปื้อนในอาหารง่ายๆ ด้วยตัวเอง
1. เลือกซื้ออาหารจากแหล่งคุณภาพและเชื่อถือได้
2. แช่ผักและผลไม้ในสารละลายน้าส้มสายชู หรือสารละลายด่าง ก่อนนามาบริโภคทุกครั้ง
3. เลือกรับประทานอาหารที่ใช้สีปรุงแต่งจากธรรมชาติ หลีกเลี่ยงอาหารจากสารเคมี
4. เลือกซื้อสินค้าที่ได้รับอนุญาตจากองค์การอาหารและยาเพื่อรับรองคุณภาพความปลอดภัยของ
อาหาร
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. ศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับสารปนเปื้อนในอาหาร และอันตรายที่อาจเกี่ยวกับสารปนเปื้อน
ในอาหาร และอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น เมื่อเราบริโภคเข้าไป
2. สารวจสถิติของสารปนเปื้อนอาหารในแต่ละปี และแนวโน้มในอนาคตในการเพิ่มขึ้นหรือ
ลดลงของปริมาณสารปนเปื้อนในอาหาร
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. โทรศัพท์มือถือ
2. คอมพิวเตอร์
3. อินเทอร์เน็ต
6
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน พิมพ์มาดา
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล พิมพ์มาดา
3 จัดทาโครงร่างงาน พิมพ์มาดา
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน พิมพ์มาดา
5 ปรับปรุงทดสอบ พิมพ์มาดา
6 การทาเอกสารรายงาน พิมพ์มาดา
7 ประเมินผลงาน พิมพ์มาดา
8 นาเสนอโครงงาน พิมพ์มาดา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ได้ทราบชนิดของสารปนเปื้อนในอาหาร และอันตรายของสารปนเปื้อนในอาหารแต่ละชนิด รวมถึง
ทราบวิธีป้องกันตนเองและหลีกเลี่ยงอันตรายจากสารปนเปื้อนในอาหารดังกล่าว
สถานที่ดาเนินการ
ห้องสมุดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย และที่บ้าน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา)
2. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (เคมี)
3. กลุ่มสาระสุขและพลศึกษา
แหล่งอ้างอิง
โรงพยาบาลเปาโล. (2556). 6 สารพิษอันตรายที่ชอบแฝงตัวในอาหารเรากินกันอยู่ทุกวัน.[ออนไลน์].เข้าถึง
ได้จาก :http://www.paolohospital.com/chockchai4/healtharticle/content-cc4-59/ (วันที่
ค้นข้อมูล 29 กันยายน 2562).
ปวีณ์นุช ถือแก้ว.(2554). สารพิษในอาหาร. [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก : https://www.mhesi.go.th/main/th
/165-knowledge/practical-rad/7411-toxins-in-food (วันที่ค้นข้อมูล 29 กันยายน 2562).
สิริกร เค้าภูไทย. (2556). 3 อันดับ สารปนเปื้อนที่มาพร้อมกับอาหาร. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
: https://www.thaihealth.or.th/Content/20130-3.html (วันที่ค้นข้อมูล 29 กันยายน 2562).

More Related Content

What's hot

โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกพัน พัน
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวJitrapron Tongon
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์panita aom
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จโครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จNoot Ting Tong
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Supansa Tomdaeng
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1aomsin271895
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม0636830815
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลพัน พัน
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์thunnattapat
 

What's hot (19)

โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 
Work 1 kopthuay
Work 1 kopthuayWork 1 kopthuay
Work 1 kopthuay
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิว
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จโครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Bathbomb
BathbombBathbomb
Bathbomb
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
Bathbomb
BathbombBathbomb
Bathbomb
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1
 
โครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponicโครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponic
 
Bathbomb
BathbombBathbomb
Bathbomb
 
14 19
14 1914 19
14 19
 
Aonnart
AonnartAonnart
Aonnart
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิล
 
Bathbomb
BathbombBathbomb
Bathbomb
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to 5 finalprojectcom

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kongpob Charoenwong
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Preawpraow Klinhomm
 
โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน Jaturaphun Boontom
 
เค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอมเค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอมJah Jadeite
 
โครงงาน โรคอ้วน
โครงงาน โรคอ้วนโครงงาน โรคอ้วน
โครงงาน โรคอ้วนpantida44027
 

Similar to 5 finalprojectcom (20)

2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
Kiki
KikiKiki
Kiki
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ผลไม้
ผลไม้ผลไม้
ผลไม้
 
ขนมไทยไร้เทียมทาน
ขนมไทยไร้เทียมทานขนมไทยไร้เทียมทาน
ขนมไทยไร้เทียมทาน
 
Achi
AchiAchi
Achi
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน
 
ขนมไทยไร้เทียมทาน
ขนมไทยไร้เทียมทานขนมไทยไร้เทียมทาน
ขนมไทยไร้เทียมทาน
 
เค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอมเค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอม
 
เค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอมเค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอม
 
Thitiporn1
Thitiporn1Thitiporn1
Thitiporn1
 
Aonnart
AonnartAonnart
Aonnart
 
Olive oil
Olive oilOlive oil
Olive oil
 
Pitchayaporn N.
Pitchayaporn N.Pitchayaporn N.
Pitchayaporn N.
 
Pitchayaporn N.
Pitchayaporn N.Pitchayaporn N.
Pitchayaporn N.
 
โครงงาน โรคอ้วน
โครงงาน โรคอ้วนโครงงาน โรคอ้วน
โครงงาน โรคอ้วน
 

5 finalprojectcom

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน สารปนเปื้อนในอาหาร อันตรายใกล้ตัว ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาวพิมพ์มาดา เรือนแก้ว เลขที่ 5 ชั้น ม.6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวพิมพ์มาดา เรือนแก้ว เลขที่ 5 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) สารปนเปื้อนในอาหาร อันตรายใกล้ตัว ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Danger in contamination food ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทสารวจ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวพิมพ์มาดา เรือนแก้ว ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในแต่ละวันเราต้องเผชิญกับสารพิษต่างๆ มากมาย ทั้งในอากาศ ควัน ไอเสีย หรือกระทั่งในอาหาร ใครจะไปรู้ว่าอาหารที่เรากินอยู่ทุกวันนี้อาจมีสารปนเปื้อนอยู่ก็ได้ ทุกครั้งที่รับประทานอาหารนอกจากจะต้องคานึงถึงคุณค่าทางโภชนาการแล้ว สิ่งสาคัญที่ต้องคานึงถึง ก็คือ เรื่องของความสะอาดและความปลอดภัย เพราะกว่าอาหารจะมาถึงมือผู้บริโภคนั้นต้องผ่านกระบวนการ หลายขั้นตอน นับตั้งแต่การผลิตตลอดจนวิธีการเก็บดูแลรักษาอาหารก่อนจะมาถึงมือผู้บริโภค ซึ่งกระบวนการ ทั้งหลายเหล่านี้ล้วนก่อให้เกิดความเสี่ยงของอาหารที่ไม่ปลอดภัยได้ทั้งสิ้น โดยที่มาของสารปนเปื้อนในอาหารนั้น เกิดขึ้นได้จากทั้งเชื้อจุลินทรีย์ทางธรรมชาติ เช่น สารอะฟลาทอกซิน ( aflagoxin) ซึ่งเป็นสารที่สร้างจากเชื้อรา Aspergillus spp สารพิษจากเห็ด บางชนิด เป็นต้น และสารอาหารที่ปนเปื้อนในอาหารที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์ เช่น ยาฆ่าแมลง สารเร่ง เนื้อแดง บอร์แรกซ์ สารกันรา ฟอร์มาลีน เป็นต้น และจากการตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อน ยาฆ่าแมลงในผักของสานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติได้มีการสุ่มตรวจตัวอย่างสินค้าผัก ผลไม้ที่ว่างจาหน่ายตามท้องตลาดทั่ว ๆ ไป 164 ตัวอย่างมาตรวจวิเคราะห์ พบว่า มียาฆ่าแมลงตกค้างเกิน มาตรฐาน 33ตัวอย่างคิดเป็นร้อยละ 20 ของตัวอย่างที่สุ่มตรวจทั้งหมด โดยชนิดของผักที่ตรวจพบยาฆ่าแมลง ปนเปื้อน 5 อันดับแรก คือพริกสด คะน้า ต้นหอม ผักชีและขึ้นฉ่าย ซึ่งสารปนเปื้อนเหล่านี้ บางชนิดเป็น อันตรายต่อร่างกาย บางชนิดหากบริโภคเข้าไปในปริมาณมาก อาจถึงแก่ชีวิตได้
  • 3. 3 ดังนั้น การศึกษา การรับรู้อันตรายจากสิ่งปนเปื้อนในอาหาร จึงมีความสาคัญที่จะทาให้ผู้บริโภคทราบ ถึงอันตรายของสารปนเปื้อนในอาหารที่อาจส่งผลอันตรายต่อตนเอง เพื่อจะนาไปสู่การ รู้เท่าทัน และป้องกัน ตนเองจากอันตรายที่เกิดสารปนเปื้อนในอาหารได้ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาชนิดของสารปนเปื้อนในอาหารที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย 2. เพื่อศึกษาความเสี่ยง และอันตรายของสารปนเปื้อนในอาหาร 3. เพื่อศึกษาวิธีหลีกเลี่ยงอันตรายที่เกิดจากสารปนเปื้อนในอาหาร ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษาข้อมูลเรื่องสารปนเปื้อนในอาหารจากแหล่งข้อมูลต่างๆ คือ เว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ต และ หนังสือที่เกี่ยวข้อง หลักการและทฤษฎี พิษภัยของสารปนเปื้อนแต่ละชนิด 1. สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร คุณสมบัติของสาร สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกรเป็นสารเคมีกลุ่มเบต้าอะโกนิสต์ ( Beta-agonist) เช่น ซาลบลูทามอล (Salbutamol), เคลนบิวเทอรอล ( Clenbuterol) ซึ่งปกติใช้เป็นยารักษาโรคหอบหืด ในคนและสัตว์เท่านั้น แต่มีการลักลอบนามาใช้ผสมอาหารเลี้ยงสุกร เพื่อเพิ่มเนื้อแดงและลดไขมัน ตามความต้องการของตลาดและผู้บริโภค ทาให้เกิดการตกค้างของสารนี้ในเนื้อสุกร ความเป็นพิษ ถ้าบริโภคสารนี้เข้าไปจะทาให้เกิดอาการมือสั่น กล้ามเนื้อกระตุก ปวดศรีษะ หัวใจเต้น เร็ว เป็นตะคริว คลื่นไส้ อาเจียน มีอาการทางประสาท มีผลกระทบต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปริมาณที่ได้รับ 2. สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค คุณสมบัติของสาร สารกันรา หรือ กรดซาลิซิลิค เป็นกรดที่มีอันตรายต่อร่างกายมาก กระทรวง สาธารณสุขได้กาหนดห้ามนามาใช้เจือปนในอาหาร แต่มีผู้ผลิตอาหารบางรายนามาใส่เป็นสารกันเสีย ในอาหารแห้ง พริกแกง หรือน้าดองผัก ผลไม้ เพื่อป้องกันเชื้อราขึ้น และช่วยให้น้าดองผัก ผลไม้ดูใส เหมือนใหม่อยู่เสมอ ความเป็นพิษ ถ้าร่างกายได้รับเข้าไปจะไปทาลายเซลในร่างกาย ทาให้ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอและ หากได้รับเข้าไปมาก ๆ จะทาลายเยื่อบุกระเพาะอาหารและลาไส้ ทาให้เป็นแผลในกระเพาะอาหาร และลาไส้ได้ ถ้าได้รับกรดซาลิซิคจนมีความเข้มข้นในเลือดถึง 25-35 มิลลิกรัมต่อเลือด 100 มิลลิลิตร จะมีอาการอาเจียนหูอื้อ มีไข้ ความดันโลหิตต่าจนช็อค และอาจถึงตายได้ 3. สารฟอกขาว คุณสมบัติของสาร สารฟอกขาวเป็นสารเคมีที่มีคุณสมบัติในการยับยั้งการเปลี่ยนสีของอาหารไม่ให้ เป็นสีน้าตาล เมื่ออาหารนั้นถูกความร้อนในกระบวนการผลิต หรือถูกหั่น/ตัด แล้ววางทิ้งไว้ และยับยั้ง การเจริญเติบโตของยีสต์ รา บักเตรี สารเคมีดังกล่าวที่นิยมใช้เป็นสารกลุ่มซัลไฟต์ ได้แก่ ซัลเฟอร์ได
  • 4. 4 ออกไซด์ โซเดียมหรือโปแตสเซียมซัลไฟด์ โซเดียมหรือโปแตสเซียมไบซัลไฟต์ และโซเดียมหรือโปแตส เซียมแมตาไบซัลไฟต์ ซึ่งจะได้รับอนุญาตจากสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ให้ใช้ได้ใน อาหารทุกชนิด คือ สารโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ หรือ โซเดียมไดไทโอไนต์ เป็นสารเคมีที่ใช้ในการฟอก แหวน ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพมาก แต่มีผู้ลักลอบนามาใช้ฟอกขาวในอาหาร สารนี้มีคุณสมบัติใน การสลายตัวได้เร็วเมื่อทิ้งไว้จะเปลี่ยนไปอยู่ในรูปของสารกลุ่มซัลไฟต์ ความเป็นพิษ ถ้าร่างกายได้รับสารฟอกขาวแล้วกระบวนการในร่างกายจะเปลี่ยนสารไปอยู่ในรูปของ ซัลเฟตและขับออกได้ทางปัสสาวะ แต่ถ้าได้รับสารฟอกขาวกลุ่มโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ หรือกลุ่มซัล ไฟต์เกินกาหนด สารฟอกขาวจะไปทาลายไวตามินบี 1 ในร่างกาย ทาให้เกิดอาการหายใจขัด ความ ดันโลหิตต่า ปวดท้อง อาเจียน อุจจาระร่วง ในรายที่แพ้อาจเกิดลมพิษ ช็อค หมดสติ และเสียชีวิตได้ โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคหอบหืด 4. สารบอแรกซ์ คุณสมบัติของสาร สารบอแรกซ์หรือที่มีชื่อทางการค้าว่า น้าประสานทอง ผงกรอบ ผงเนื้อนิ่ม สาร ข้าวตอก ผงกันบูด และเพ่งแซ เป็นสารเคมีที่เป็นเกลือของสารประกอบโบรอน มีชื่อทางเคมีว่า โซเดียมบอเรต (Sodium borate) โซเดียมเตตราบอเรต (Sodium tetraborate) มีลักษณะไม่มีกลิ่น เป็นผลึก ละเอียด หรือผงสีขาว ละลายน้าได้ดี ละลายในแอลกอฮอล์ 95% มีการนามาใช้ประโยชน์ ในทางอุตสาหกรรม เป็นสารเคมีที่เป็นอันตรายแก่ร่างกายและห้ามใช้ในอาหารทุกชนิด แต่เนื่องจาก บอแรกซ์มีคุณสมบัติทาให้เกิดสารประกอบเชิงซ้อน กับสารประกอบอินทรีย์โพลีไฮดรอกซี ( Organic polyhydroxy compound) เกิดลักษณะหยุ่น กรอบ และเป็นวัตถุกันเสียได้ จึงมีการลักลอบนาสาร บอแร็กซ์ผสมลงในอาหารหลายชนิด เช่น หมูบด ปลาบด ลูกชิ้น ทอดมัน ไส้กรอก ผงวุ้น แป้งกรุบ ทับทิมกรอบ มะม่วงดอง ผักกาดดอง เป็นต้น เพื่อให้อาหารเหล่านั้น มีลักษณะหยุ่น กรอบ แข็ง คงตัว อยู่ได้นาน นอกจากนี้ ยังมีการนาผงบอแร๊กซ์ไปละลายในน้า แล้วทาหรือชุบลงในเนื้อหมู เนื้อวัว เพื่อให้ดูสดตลอดเวลา อีกทั้งยังมีการใช้ปลอมปนในผงชูรส เนื่องจากบอแร็กซ์มีลักษณะภายนอกเป็น ผลึกคล้ายคลึงกับผลึกผงชูรส ความเป็นพิษ ถ้าบริโภคเข้าไปในร่างกายจะทาให้ร่างกายอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้าหนักลด สาไส้และ กระเพาะอาหารเกิดการระคายเคือง อุจจาระร่วง และเป็นพิษต่อตับ ไต และสมองได้ ขึ้นอยู่กับ ปริมาณสารที่ได้รับ 5. สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ คุณสมบัติของสาร ฟอร์มาลิน มักใช้เป็นน้ายาฆ่าเชื้อโรค หรือใช้เป็นน้ายาดองศพ ประกอบด้วย แก๊ส ฟอร์มาลดีไฮด์ ประมาณร้อยละ 37-40 ลักษณะทั่วไปของฟอร์มาลินเป็นของเหลวใส ไม่มีสี มีกลิ่นฉุน เฉพาะตัว ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตเคมีภัณฑ์พลาสติกสิ่งทอเพื่อใช้ในการรักษาผ้าไม่ให้ย่นหรือยับ ใช้ ป้องกันการขึ้นราในการเก็บรักษาข้าวสาลี ข้าวโอ๊ตหลังจากเก็บเกี่ยว และใช้เพื่อป้องกันแมลงในพวก ธัญญาพืชหลังการเก็บเกี่ยว ฟอร์มาลินเป็นอันตรายและห้ามใช้ในอาหารทุกชนิด แต่ปัจจุบันยัง มีการนามาใช้ในทางที่ผิด โดยเข้าใจว่าช่วยทาให้อาหารคงความสด ไม่เน่าเสียได้ง่าย จึงมีการนามาใช้ กับอาหารที่เน่าเสียได้ง่าย เช่น อาหารทะเลสด เครื่องในสัตว์ เนื้อสัตว์ ผักสดชนิดต่างๆ เป็นต้น
  • 5. 5 ความเป็นพิษ ถ้าร่างกายได้รับสารฟอร์มาลินจากการบริโภคอาหารที่มีสารดังกล่าวตกค้าง อาจทาให้ เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินอาหาร และหากสัมผัสอยู่เป็นประจา จะทาให้เกิดการสะสมจน ทาให้ร่างกายอ่อนแอได้ และสารฟอร์มาลินยังเป็นสารก่อมะเร็งในสิ่งมีชีวิตได้ด้วย 6. ยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกาจัดศัตรูพืช คุณสมบัติของสาร ยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกาจัดศัตรูพืช คือ วัตถุมีพิษที่นามาใช้เพื่อป้องกันกาจัด ศัตรูพืช สัตว์ และมนุษย์ ทั้งในการเกษตร อุตสาหกรรม และสาธารณสุข ซึ่งได้รับอนุญาตให้ใช้ได้บาง ชนิด แต่ต้องทิ้งระยะให้สารหมดความเป็นพิษก่อนการเก็บเกี่ยว ความเป็นพิษ เมื่อได้รับสารฆ่าแมลงเข้าสู่ร่างกาย จะเกิดปฏิกิริยาทางเคมีกับเอนไซม์ในร่างกาย มีผล ให้เกิดการขัดขวางการทาหน้าที่ตามปกติของระบบประสาททั้งในคนและสัตว์ ความเป็นพิษขึ้นกับ คุณสมบัติของสารเคมีแต่ละชนิด วิธีการได้รับสารเข้าสู่ร่างกาย ปริมาณความถี่ สุขภาพของผู้ได้รับ สารพิษและก่อให้เกิดอาการอ่อนเพลีย ปวด ศีรษะ มึนงง หายใจลาบาก แน่นในอก คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องเดิน กล้ามเนื้อโดยเฉพาะที่ลิ้นและหนังตากระตุก ชัก หมดสติ ทั้งนี้ จากการสุ่มตรวจอาหารเพื่อหาสารปนเปื้อนและจุลินทรีย์ก่อโรคในอาหารของสาธารณสุขจังหวัด ตั้งแต่ปี 2551-2553 พบว่า แนวโน้มของสารปนเปื้อนที่ผสมอยู่ในอาหารมีเพิ่มมากขึ้น ซึ่งหากไม่มี มาตรการใดๆ มาแก้ไข 'อาหาร' ซึ่งถือเป็นสิ่งจาเป็นต่อการเสริมสร้างร่างกายให้มีสุขภาพดี อาจ กลายเป็นยาพิษที่ย้อนกลับมาทาลายสุขภาพของเราได้เช่นกัน วิธีสร้างความปลอดภัย หลีกเลี่ยงสารปนเปื้อนในอาหารง่ายๆ ด้วยตัวเอง 1. เลือกซื้ออาหารจากแหล่งคุณภาพและเชื่อถือได้ 2. แช่ผักและผลไม้ในสารละลายน้าส้มสายชู หรือสารละลายด่าง ก่อนนามาบริโภคทุกครั้ง 3. เลือกรับประทานอาหารที่ใช้สีปรุงแต่งจากธรรมชาติ หลีกเลี่ยงอาหารจากสารเคมี 4. เลือกซื้อสินค้าที่ได้รับอนุญาตจากองค์การอาหารและยาเพื่อรับรองคุณภาพความปลอดภัยของ อาหาร วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. ศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับสารปนเปื้อนในอาหาร และอันตรายที่อาจเกี่ยวกับสารปนเปื้อน ในอาหาร และอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น เมื่อเราบริโภคเข้าไป 2. สารวจสถิติของสารปนเปื้อนอาหารในแต่ละปี และแนวโน้มในอนาคตในการเพิ่มขึ้นหรือ ลดลงของปริมาณสารปนเปื้อนในอาหาร เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. โทรศัพท์มือถือ 2. คอมพิวเตอร์ 3. อินเทอร์เน็ต
  • 6. 6 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน พิมพ์มาดา 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล พิมพ์มาดา 3 จัดทาโครงร่างงาน พิมพ์มาดา 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน พิมพ์มาดา 5 ปรับปรุงทดสอบ พิมพ์มาดา 6 การทาเอกสารรายงาน พิมพ์มาดา 7 ประเมินผลงาน พิมพ์มาดา 8 นาเสนอโครงงาน พิมพ์มาดา ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้ทราบชนิดของสารปนเปื้อนในอาหาร และอันตรายของสารปนเปื้อนในอาหารแต่ละชนิด รวมถึง ทราบวิธีป้องกันตนเองและหลีกเลี่ยงอันตรายจากสารปนเปื้อนในอาหารดังกล่าว สถานที่ดาเนินการ ห้องสมุดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย และที่บ้าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) 2. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (เคมี) 3. กลุ่มสาระสุขและพลศึกษา แหล่งอ้างอิง โรงพยาบาลเปาโล. (2556). 6 สารพิษอันตรายที่ชอบแฝงตัวในอาหารเรากินกันอยู่ทุกวัน.[ออนไลน์].เข้าถึง ได้จาก :http://www.paolohospital.com/chockchai4/healtharticle/content-cc4-59/ (วันที่ ค้นข้อมูล 29 กันยายน 2562). ปวีณ์นุช ถือแก้ว.(2554). สารพิษในอาหาร. [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก : https://www.mhesi.go.th/main/th /165-knowledge/practical-rad/7411-toxins-in-food (วันที่ค้นข้อมูล 29 กันยายน 2562). สิริกร เค้าภูไทย. (2556). 3 อันดับ สารปนเปื้อนที่มาพร้อมกับอาหาร. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.thaihealth.or.th/Content/20130-3.html (วันที่ค้นข้อมูล 29 กันยายน 2562).