SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน ว่านหางจระเข้กับการรักษาสิว
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว ชนกนาถ วชิรรังสรรค์ เลขที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 9
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
นางสาว ชนกนาถ วชิรรังสรรค์ เลขที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 9
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ว่านหางจระเข้กับการรักษาสิว
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
How Aloe vela effect with acne
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ชนกนาถ วชิรรังสรรค์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
วานหางจระเข้ หรือ Aloe vera มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Aloe barbadensis Mill จัดเป็นพืช
สมุนไพรชนิดหนึ่งเป็นพืชเขตร้อน แพร่หลายไปทั้งยุโรปและเอเชีย ส่วนที่มักนามาใช้เป็นยาคือวุ้นหรือเจลจากใบว่าน
หางจระเข้ จากความรู้ด้านพืชสมุนไพรของไทย ทาให้ทราบว่าเนื้อของว่านหางจระเข้สามารถรักษาแผลน้าร้อนลวก
ผิวหนังไหม้จากแสงแดด ผิวหนังลอก แผลถลอก ลดรอยแผลเป็นให้จางลง รวมไปถึงสามารถนามาทาบนใบหน้าเพื่อ
รักษาสิว ผู้จัดทาจึงเกิดข้อสงสัยว่าสารประกอบใดในว่านหางจระเข้ที่มีฤทธิ์รักษาสภาพผิวหรือต้านอาการอักเสบของ
สิวได้ จึงไปศึกษาค้นคว้ามาจากงานวิจัยว่านหางจระเข้ พบว่าในเนื้อของว่านหางจระเข้มีสารที่ชื่อว่า ไกลโคโปรตีน
(Glycoprotein) ชนิด Aloctin A และ B โดยทั้ง 2 ชนิดมีคุณสมบัติเป็น mitogenic activity สามารถกระตุ้นระบบ
complement ใน serum ของมนุษย์ สามารถยับยั้งเชื้อราและมีฤทธิ์ต้านการอักเสบได้โดยเอนไซม์
cyclooxygenase และ lipoxygenase ในว่านหางจระเข้ รวมไปถึงลดอาการข้างเคียงสาหรับคนที่ทารังสีบาบัดและ
สามารถรักษาแผลในกระเพาะอาหารได้อีกด้วย จากที่ทราบว่าไกลโคโปรตีนชนิด Aloctin A และ B มีคุณสมบัติดังที่
กล่าวมา ทาให้ทราบว่าสารประกอบในว่านหางจระเข้ที่มีฤทธิ์สามารถรักษาสิวเกิดจากการทางานของไกลโคโปรตีน
ดังกล่าวและไกลโคโปรตีนสามารถสกัดได้จากการกสัดหยาบ
3
วัตถุประสงค์
1. ศึกษาสารประกอบทางเคมีของว่านหางจระเข้
2. ศึกษาสารประกอบทางเคมีที่มีผลต่อมนุษย์ด้านกายภาพ
3. ศึกษาผลของการใช้สารประกอบทางเคมีของว่านหางจระเข้กับมนุษย์
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ไกลโคโปรตีนในว่านหางจระเข้ชนิด Aloctin A และ B
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
1. ชีววิทยาและนิเวศวิทยาของว่านหางจระเข้
ว่านหางจระเข้เป็นต้นพืชที่มีเนื้ออิ่มอวบ แหล่งกาเนิดดั้งเดิมอยู่ในชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และบริเวณ
ตอนใต้ของทวีปแอฟริกา พันธุ์ของว่านหางจระเข้มีมากมายกว่า 300 ชนิด ซึ่งมีทั้งพันธุ์ที่มีขนาดใหญ่มากจนไปถึงพันธุ์
ที่มีขนาดเล็กกว่า 10 เซนติเมตร (พเยาว์, 2529) ลักษณะพิเศษของว่านหางจระเข้ก็คือ มีใบแหลมคล้ายกับเข็ม เนื้อ
หนา และเนื้อในมีน้าเมือก เหนียว ว่านหางจระเข้ผลิดอกในช่วงฤดูหนาว ดอกจะมีสีต่างๆกัน เช่น เหลือง ขาว และ
แดง เป็นต้น
การจัดจาแนก (Classification)
Kingdom Plantae
Phylum Magnoliophyta
Class Liliopsida
Order Asparagales
Family Asphodelaceae
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Aloe barbadensis, Miller., Aloe vera (L.)
ชื่อท้องถิ่น: ว่านไฟไหม้ (ภาคเหนือ), ว่านหางจระเข้, หางตะเข้ (ภาคกลาง), ว่านหางเข้ (ใต้)
ถิ่นกาเนิด : แอฟริกา
2. ส่วนประกอบทางเคมีในว่านหางจระเข้
สารเคมีที่พบในการตรวจวิเคราะห์จากว่าหางจระเข้นั้นประกอบด้วยกรดอะมิโนหลายชนิด น้าาตาลโมเลกุล
เดี่ยว เกลือแร่ วิตามิน เอนไซม์ กรดอินทรีย์ (อัญญารัตน์, 2546) และสาร ทุติยภูมิ (Secondary metabolite) หลาย
ชนิดเช่นกลุ่ม glycoside, triterpenoids และ alkaloid (G.R.Waller et.al, 1978) ดังนี้
2.1 กรดอะมิโนได้แก่ อลานีน (alanine) ฟีนิลอลานีน (phenylalanine) ซิสทีน (cystine) ไกลซีน
(glycine) ลิวซีน (leucine) ไลซีน (lysine) ไอโซลิวซีน (isoleucine) เซรีน (serine) เป็นต้น
2.2 โมโน และพอลิแซคคาไรด์ ได้แก่ กลูโคส (glucose) ฟรุกโตส (fructose) กาแลค โตส (galactose) แมน
โนส (mannose) อะราบิโนส (arabinose) ไซโลส (xylose) เซลลูโลส (cellulose) แรมโนส (rhamnose) เป็นต้น
2.3 เกลือแร่ได้แก่ แคลเซียม (calcium) โพแทสเซียส (potassium) โซเดียม (sodium) แมงกานีส
(manganese) แมกนีเซียม (magnesium) สังกะสี (zinc) ทองแดง (copper) เหล็ก (iron) โครเมียม (chromium)
4
2.4 วิตามิน ได้แก่ B1, B2, B6, C ไนอาซินามายด์ (niacinamide) กรดโฟลิก (folic acid)
2.5 เอนไซม์ ได้แก่ ออกซิเดส (oxidase) อะไมเลส (amylase) คะตะเลส (catalase) ไลเปส (lipases)
ทรานอะมิเนส (transaminase)
2.6 กรดอินทรีย์ ได้แก่ กรดซิตริก (citric acid) กรดไอโซซิตริก (isocitric acid) กรด มาโลนิก (malonic
acid) กรดฟูมาริค (fumaric acid) กรดทาร์ทาริก (tartaric acid) กรดซักซินิก (succinic acid) กรดมาลิค(maleic
acid) กรดไพรูวิก (pyruvic acid)
2.7 แอนทราควิโนน (Anthraquinones) (ภาพที่ 2) ที่พบในว่านหางจระเข้มีลักษณะ เป็นยางสีเหลืองพบได้
ในส่วนของเปลือกว่านหางจระเข้ในรูปของ แอนทราควิโนน ไกลโคไซด์ (Anthraquinone glycoside) ฤทธิ์ที่สาคัญ
ของแอนทราควิโนน ไกลโคไซด์ (Anthraquinone glycoside) คือใช้เป็นยาระบายโดยมีสารออกฤทธิ์ที่สาคัญ เป็น
อนุพันธ์ในกลุ่มแอนโทรน (Anthrone) คือ อโลอิน (Aloin A และ B) (ภาพที่ 3) ที่พบในยาดาซึ่งเป็นน้ายางบริเวณใต้
ผิว ของใบว่านหางจระเข้ (นุชนาฏ, 2549) และอโล-อีโมดิน (Aloe-emodin) (ภาพที่ 4) โดยแอนท ราควิโนน
(Anthraquinone) เมื่อถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย จะถูกแบคทีเรียในลาไส้ใหญ่รีดิวซ์ให้ เป็นแอนทรานอล (Anthranol)
ซึ่งระคายเคืองต่อลาไส้มีฤทธิ์เป็นยาระบาย และเป็นอันตรายกับ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเมื่อใช้ในปริมาณมากเท่านั้น โดย
มีค่าความเป็นพิษเฉียบพลัน ทางปาก (Acute oral toxicity) LD50 มากกว่า 5000 มก./กก. (Anthraquinone Fact
Sheet,1998) และมี Aroechin ที่สามารถฆ่าเชื้อโรคและต่อต้านเชื้อราได้ จากการศึกษาการสกัดสารอโลอิน (aloin)
จากว่านหางจระเข้ (Aloe barbadensis) สด และอบแห้งเปรียบเทียบระหว่างใช้น้ า และเมทานอล (methanol)
เป็นตัวท าละลาย พบว่าในการ สกัดอโลอินจากว่านหางจระเข้สดโดยใช้น้ าเป็นตัวท าละลายพบปริมาณอโลอิน
มากกว่าใช้เมทานอลเป็นตัวทาละลายถึง 2 เท่า และการสกัดอโลอินจากว่านหางจระเข้อบแห้งด้วยตัวทาละลาย เม
ทานอลพบปริมาณอโลอินมากกว่าการสกัดโดยใช้น้าเป็นตัวทาละลายถึง 2 เท่าเช่นกัน แต่พบว่าปริมาณอโลอินในว่าน
หางจระเข้อบแห้งมากกว่าปริมาณอโลอินในว่านหางจระเข้สดถึง 10 เท่าทั้งสองชนิดของตัวทาละลาย (มณีนุชและ
อเนก, 2546)
2.8 ไกลโคโปรตีน (Glycoprotein) วุ้นใสๆในใบว่านหางจระเข้นั้น มีสารสาคัญจาพวก ไกลโคโปรตีน
(Glycoprotein) ชื่ออะลอคตินเอ (Aloctin A) และอะลอคตินบี (Aloctin B) มี สรรพคุณในการลดอาการอักเสบ
ช่วยรักษาแผลที่เกิดจากไฟไหม้ และบรรเทาอาการแสบร้อน ช่วยลดอาการข้างเคียงสาหรับคนที่ทารังสีบาบัด และ
รักษาแผลกระเพาะอาหารได้อีกด้วย
2.9 ซาโปนิน (Saponins) ที่พบในว่านหางจระเข้อยู่ในรูปไกลโคไซด์ (Glycoside) ที่มีส่วน Aglycone
(Sapogenin) เป็นสารจาพวก Steroids หรือ Triterpenoids (ตรีเพชร, 2552) ซึ่งจะจับกับน้าตาล หรืออนุพันธ์ของ
น้าตาลที่ตาแหน่ง C3 ได้เป็น O-glycoside น้าตาลที่พบ มักจะเป็น Oligosaccharide 1 - 5 หน่วย ซาโปนิน
(Saponin) มีคุณสมบัติเป็น detergent เมื่อ อยู่ในน้าซาโปนิน (Saponin) จะเกิดเป็น Colloidal solution ซึ่งเมื่อ
เขย่าจะเกิดฟอง เนื่องจาก ส่วน Aglycone เป็นสารโมเลกุลใหญ่มีจานวน carbon 27 – 30 อะตอม ทาให้ส่วน
Aglycone มี คุณสมบัติ Lipophilic และมีส่วนของน้าตาลซึ่งละลายน้าได้ จึงมีคุณสมบัติ Hydrophilic จาก การที่
Saponin มีคุณสมบัติ Lipophilic / Hydrophilic อยู่ในโมเลกุล จึงมีความสามารถในการ ลดแรงตึงผิว และใช้ในการ
ชะล้างได้ และมีฤทธิ์ทาลายเม็ดเลือดแดงโดยทาให้เกิดการแตก ท าลายของเม็ดเลือดแดง (Hemolysis) (อดุลย์,
2537)
5
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. คิดหัวข้อโครงงาน
2. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3. จัดทาโครงงาน
4. ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5. ปรับปรุงและทดสอบ
6. ทาเอกสารรายงาน
7. ประเมินผลงาน
8. นาเสนอผลงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
เครื่องคอมพิวเตอร์
งบประมาณ
ไม่มี
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ทราบสารประกอบในว่านหางจระเข้ และทราบว่าสารใดที่มีฤทธิ์ต้านการอักเสบของสิวที่อุตสาหกรรม
เครื่องสาอางนามาผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อขายและเป็นความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ส่งต่อกันมา
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
6
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาขาเคมี และ สาขาพฤกษศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
อาจารย์ปัณรสี สู่ศิริรัตน์ และอาจารย์ภัทรา พลับเจริญสุข. “การใช้สารสกัดหยาบจากเปลือกว่านหางจระเข้เพื่อ
ควบคุมโรคแอนแทรคโนส และโรคขั้วผลเน่าในมะม่วงพันธุ์น้าดอกไม้ เขตอาเภอปราณบุรี จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์.” รายงานวิจัย. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์,2555. แหล่งที่มา :
http://libdoc.dpu.ac.th/research/148535.pdf
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เทคนิคการแพทย์หญิง ดร. จารุวรรณ ศิริเทพทวี. “การศึกษาผลของโปรตีนจากต้น Aloe
barbadensis Mill ต่อไฟบริโนเจนและก้อนไฟบรินของมนุษย์.” รายงานวิจัย. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี,
2556. แหล่งที่มา : http://sutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/5716/2/fulltext.pdf

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4cardphone
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ไอ๊ย๊ะ พี่กิต'
 
หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก
หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดกหน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก
หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดกวุฒิชาติ มาตย์นอก
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์Noo Pui Chi Chi
 
2562 final-project apassara
2562 final-project  apassara2562 final-project  apassara
2562 final-project apassaraapassararungsri
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Lilly Phattharasaya
 
2559คอมงานคู่2
2559คอมงานคู่22559คอมงานคู่2
2559คอมงานคู่2Gankorn Inpia
 
2562 final-project by-surabadee (1)
2562 final-project by-surabadee (1)2562 final-project by-surabadee (1)
2562 final-project by-surabadee (1)NKSJT
 
โครงงานไทรอยด์
โครงงานไทรอยด์โครงงานไทรอยด์
โครงงานไทรอยด์Wirathida Namwong
 
หน่วย1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา
หน่วย1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนาหน่วย1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา
หน่วย1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนาวุฒิชาติ มาตย์นอก
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บprawanya
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Supansa Tomdaeng
 

What's hot (19)

โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก
หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดกหน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก
หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
 
เผ็ดจังหม่าล่า
เผ็ดจังหม่าล่าเผ็ดจังหม่าล่า
เผ็ดจังหม่าล่า
 
2562 final-project apassara
2562 final-project  apassara2562 final-project  apassara
2562 final-project apassara
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
หน่วย3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หน่วย3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหน่วย3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หน่วย3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
2559คอมงานคู่2
2559คอมงานคู่22559คอมงานคู่2
2559คอมงานคู่2
 
2562 final-project by-surabadee (1)
2562 final-project by-surabadee (1)2562 final-project by-surabadee (1)
2562 final-project by-surabadee (1)
 
โครงงานไทรอยด์
โครงงานไทรอยด์โครงงานไทรอยด์
โครงงานไทรอยด์
 
หน่วย1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา
หน่วย1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนาหน่วย1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา
หน่วย1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บ
 
Kanjana14
Kanjana14Kanjana14
Kanjana14
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Bathbomb
BathbombBathbomb
Bathbomb
 
09 35-project
09 35-project09 35-project
09 35-project
 

Similar to 2560 project

โครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละโครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละNuttawat Sawangrat
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์AtichaSW
 
แบบเสนอโครงร่างงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างงานคอมพิวเตอร์ AtichaSW
 
โครงงานคอม608
โครงงานคอม608โครงงานคอม608
โครงงานคอม608Vitchda Samaket
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่ทาม ได้ไหมดาว
 
สัตว์สวยงามใกล้สูนย์พันธุ์
สัตว์สวยงามใกล้สูนย์พันธุ์สัตว์สวยงามใกล้สูนย์พันธุ์
สัตว์สวยงามใกล้สูนย์พันธุ์Fluke Mak
 
ใบงานกิจกรรมที่ 5
ใบงานกิจกรรมที่ 5 ใบงานกิจกรรมที่ 5
ใบงานกิจกรรมที่ 5 Vitchda Samaket
 
งานคอมครูเขื่อน
งานคอมครูเขื่อนงานคอมครูเขื่อน
งานคอมครูเขื่อนJamtewee Methaanankul
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project tup tup
 
สัตว์สงวน
สัตว์สงวนสัตว์สงวน
สัตว์สงวนNareerat Wor
 
สัตว์สงวน
สัตว์สงวนสัตว์สงวน
สัตว์สงวนNareerat Wor
 

Similar to 2560 project (20)

โครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละโครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2559 project -3
2559 project -32559 project -3
2559 project -3
 
โครงงานคอม608
โครงงานคอม608โครงงานคอม608
โครงงานคอม608
 
Project
ProjectProject
Project
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
สัตว์สวยงามใกล้สูนย์พันธุ์
สัตว์สวยงามใกล้สูนย์พันธุ์สัตว์สวยงามใกล้สูนย์พันธุ์
สัตว์สวยงามใกล้สูนย์พันธุ์
 
ใบงานกิจกรรมที่ 5
ใบงานกิจกรรมที่ 5 ใบงานกิจกรรมที่ 5
ใบงานกิจกรรมที่ 5
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
คอมแพท
คอมแพทคอมแพท
คอมแพท
 
งานคอมครูเขื่อน
งานคอมครูเขื่อนงานคอมครูเขื่อน
งานคอมครูเขื่อน
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
สัตว์สงวน
สัตว์สงวนสัตว์สงวน
สัตว์สงวน
 
สัตว์สงวน
สัตว์สงวนสัตว์สงวน
สัตว์สงวน
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
ปลาตีน
ปลาตีนปลาตีน
ปลาตีน
 

More from Chanoknart Wachirarungsun

More from Chanoknart Wachirarungsun (6)

งาน4
งาน4งาน4
งาน4
 
กิจกรรมที่ 2-609
กิจกรรมที่ 2-609กิจกรรมที่ 2-609
กิจกรรมที่ 2-609
 
กิจกรรม 3
กิจกรรม 3กิจกรรม 3
กิจกรรม 3
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
พรบคอม
พรบคอมพรบคอม
พรบคอม
 
ใบงานสำรวจและประวัติตัวเองของน.ส.ชนกนาถ วชิรรังรรค์
ใบงานสำรวจและประวัติตัวเองของน.ส.ชนกนาถ วชิรรังรรค์ใบงานสำรวจและประวัติตัวเองของน.ส.ชนกนาถ วชิรรังรรค์
ใบงานสำรวจและประวัติตัวเองของน.ส.ชนกนาถ วชิรรังรรค์
 

2560 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน ว่านหางจระเข้กับการรักษาสิว ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ชนกนาถ วชิรรังสรรค์ เลขที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 9 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ นางสาว ชนกนาถ วชิรรังสรรค์ เลขที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 9 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ว่านหางจระเข้กับการรักษาสิว ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) How Aloe vela effect with acne ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ชนกนาถ วชิรรังสรรค์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) วานหางจระเข้ หรือ Aloe vera มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Aloe barbadensis Mill จัดเป็นพืช สมุนไพรชนิดหนึ่งเป็นพืชเขตร้อน แพร่หลายไปทั้งยุโรปและเอเชีย ส่วนที่มักนามาใช้เป็นยาคือวุ้นหรือเจลจากใบว่าน หางจระเข้ จากความรู้ด้านพืชสมุนไพรของไทย ทาให้ทราบว่าเนื้อของว่านหางจระเข้สามารถรักษาแผลน้าร้อนลวก ผิวหนังไหม้จากแสงแดด ผิวหนังลอก แผลถลอก ลดรอยแผลเป็นให้จางลง รวมไปถึงสามารถนามาทาบนใบหน้าเพื่อ รักษาสิว ผู้จัดทาจึงเกิดข้อสงสัยว่าสารประกอบใดในว่านหางจระเข้ที่มีฤทธิ์รักษาสภาพผิวหรือต้านอาการอักเสบของ สิวได้ จึงไปศึกษาค้นคว้ามาจากงานวิจัยว่านหางจระเข้ พบว่าในเนื้อของว่านหางจระเข้มีสารที่ชื่อว่า ไกลโคโปรตีน (Glycoprotein) ชนิด Aloctin A และ B โดยทั้ง 2 ชนิดมีคุณสมบัติเป็น mitogenic activity สามารถกระตุ้นระบบ complement ใน serum ของมนุษย์ สามารถยับยั้งเชื้อราและมีฤทธิ์ต้านการอักเสบได้โดยเอนไซม์ cyclooxygenase และ lipoxygenase ในว่านหางจระเข้ รวมไปถึงลดอาการข้างเคียงสาหรับคนที่ทารังสีบาบัดและ สามารถรักษาแผลในกระเพาะอาหารได้อีกด้วย จากที่ทราบว่าไกลโคโปรตีนชนิด Aloctin A และ B มีคุณสมบัติดังที่ กล่าวมา ทาให้ทราบว่าสารประกอบในว่านหางจระเข้ที่มีฤทธิ์สามารถรักษาสิวเกิดจากการทางานของไกลโคโปรตีน ดังกล่าวและไกลโคโปรตีนสามารถสกัดได้จากการกสัดหยาบ
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ 1. ศึกษาสารประกอบทางเคมีของว่านหางจระเข้ 2. ศึกษาสารประกอบทางเคมีที่มีผลต่อมนุษย์ด้านกายภาพ 3. ศึกษาผลของการใช้สารประกอบทางเคมีของว่านหางจระเข้กับมนุษย์ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ไกลโคโปรตีนในว่านหางจระเข้ชนิด Aloctin A และ B หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) 1. ชีววิทยาและนิเวศวิทยาของว่านหางจระเข้ ว่านหางจระเข้เป็นต้นพืชที่มีเนื้ออิ่มอวบ แหล่งกาเนิดดั้งเดิมอยู่ในชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และบริเวณ ตอนใต้ของทวีปแอฟริกา พันธุ์ของว่านหางจระเข้มีมากมายกว่า 300 ชนิด ซึ่งมีทั้งพันธุ์ที่มีขนาดใหญ่มากจนไปถึงพันธุ์ ที่มีขนาดเล็กกว่า 10 เซนติเมตร (พเยาว์, 2529) ลักษณะพิเศษของว่านหางจระเข้ก็คือ มีใบแหลมคล้ายกับเข็ม เนื้อ หนา และเนื้อในมีน้าเมือก เหนียว ว่านหางจระเข้ผลิดอกในช่วงฤดูหนาว ดอกจะมีสีต่างๆกัน เช่น เหลือง ขาว และ แดง เป็นต้น การจัดจาแนก (Classification) Kingdom Plantae Phylum Magnoliophyta Class Liliopsida Order Asparagales Family Asphodelaceae ชื่อวิทยาศาสตร์ : Aloe barbadensis, Miller., Aloe vera (L.) ชื่อท้องถิ่น: ว่านไฟไหม้ (ภาคเหนือ), ว่านหางจระเข้, หางตะเข้ (ภาคกลาง), ว่านหางเข้ (ใต้) ถิ่นกาเนิด : แอฟริกา 2. ส่วนประกอบทางเคมีในว่านหางจระเข้ สารเคมีที่พบในการตรวจวิเคราะห์จากว่าหางจระเข้นั้นประกอบด้วยกรดอะมิโนหลายชนิด น้าาตาลโมเลกุล เดี่ยว เกลือแร่ วิตามิน เอนไซม์ กรดอินทรีย์ (อัญญารัตน์, 2546) และสาร ทุติยภูมิ (Secondary metabolite) หลาย ชนิดเช่นกลุ่ม glycoside, triterpenoids และ alkaloid (G.R.Waller et.al, 1978) ดังนี้ 2.1 กรดอะมิโนได้แก่ อลานีน (alanine) ฟีนิลอลานีน (phenylalanine) ซิสทีน (cystine) ไกลซีน (glycine) ลิวซีน (leucine) ไลซีน (lysine) ไอโซลิวซีน (isoleucine) เซรีน (serine) เป็นต้น 2.2 โมโน และพอลิแซคคาไรด์ ได้แก่ กลูโคส (glucose) ฟรุกโตส (fructose) กาแลค โตส (galactose) แมน โนส (mannose) อะราบิโนส (arabinose) ไซโลส (xylose) เซลลูโลส (cellulose) แรมโนส (rhamnose) เป็นต้น 2.3 เกลือแร่ได้แก่ แคลเซียม (calcium) โพแทสเซียส (potassium) โซเดียม (sodium) แมงกานีส (manganese) แมกนีเซียม (magnesium) สังกะสี (zinc) ทองแดง (copper) เหล็ก (iron) โครเมียม (chromium)
  • 4. 4 2.4 วิตามิน ได้แก่ B1, B2, B6, C ไนอาซินามายด์ (niacinamide) กรดโฟลิก (folic acid) 2.5 เอนไซม์ ได้แก่ ออกซิเดส (oxidase) อะไมเลส (amylase) คะตะเลส (catalase) ไลเปส (lipases) ทรานอะมิเนส (transaminase) 2.6 กรดอินทรีย์ ได้แก่ กรดซิตริก (citric acid) กรดไอโซซิตริก (isocitric acid) กรด มาโลนิก (malonic acid) กรดฟูมาริค (fumaric acid) กรดทาร์ทาริก (tartaric acid) กรดซักซินิก (succinic acid) กรดมาลิค(maleic acid) กรดไพรูวิก (pyruvic acid) 2.7 แอนทราควิโนน (Anthraquinones) (ภาพที่ 2) ที่พบในว่านหางจระเข้มีลักษณะ เป็นยางสีเหลืองพบได้ ในส่วนของเปลือกว่านหางจระเข้ในรูปของ แอนทราควิโนน ไกลโคไซด์ (Anthraquinone glycoside) ฤทธิ์ที่สาคัญ ของแอนทราควิโนน ไกลโคไซด์ (Anthraquinone glycoside) คือใช้เป็นยาระบายโดยมีสารออกฤทธิ์ที่สาคัญ เป็น อนุพันธ์ในกลุ่มแอนโทรน (Anthrone) คือ อโลอิน (Aloin A และ B) (ภาพที่ 3) ที่พบในยาดาซึ่งเป็นน้ายางบริเวณใต้ ผิว ของใบว่านหางจระเข้ (นุชนาฏ, 2549) และอโล-อีโมดิน (Aloe-emodin) (ภาพที่ 4) โดยแอนท ราควิโนน (Anthraquinone) เมื่อถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย จะถูกแบคทีเรียในลาไส้ใหญ่รีดิวซ์ให้ เป็นแอนทรานอล (Anthranol) ซึ่งระคายเคืองต่อลาไส้มีฤทธิ์เป็นยาระบาย และเป็นอันตรายกับ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเมื่อใช้ในปริมาณมากเท่านั้น โดย มีค่าความเป็นพิษเฉียบพลัน ทางปาก (Acute oral toxicity) LD50 มากกว่า 5000 มก./กก. (Anthraquinone Fact Sheet,1998) และมี Aroechin ที่สามารถฆ่าเชื้อโรคและต่อต้านเชื้อราได้ จากการศึกษาการสกัดสารอโลอิน (aloin) จากว่านหางจระเข้ (Aloe barbadensis) สด และอบแห้งเปรียบเทียบระหว่างใช้น้ า และเมทานอล (methanol) เป็นตัวท าละลาย พบว่าในการ สกัดอโลอินจากว่านหางจระเข้สดโดยใช้น้ าเป็นตัวท าละลายพบปริมาณอโลอิน มากกว่าใช้เมทานอลเป็นตัวทาละลายถึง 2 เท่า และการสกัดอโลอินจากว่านหางจระเข้อบแห้งด้วยตัวทาละลาย เม ทานอลพบปริมาณอโลอินมากกว่าการสกัดโดยใช้น้าเป็นตัวทาละลายถึง 2 เท่าเช่นกัน แต่พบว่าปริมาณอโลอินในว่าน หางจระเข้อบแห้งมากกว่าปริมาณอโลอินในว่านหางจระเข้สดถึง 10 เท่าทั้งสองชนิดของตัวทาละลาย (มณีนุชและ อเนก, 2546) 2.8 ไกลโคโปรตีน (Glycoprotein) วุ้นใสๆในใบว่านหางจระเข้นั้น มีสารสาคัญจาพวก ไกลโคโปรตีน (Glycoprotein) ชื่ออะลอคตินเอ (Aloctin A) และอะลอคตินบี (Aloctin B) มี สรรพคุณในการลดอาการอักเสบ ช่วยรักษาแผลที่เกิดจากไฟไหม้ และบรรเทาอาการแสบร้อน ช่วยลดอาการข้างเคียงสาหรับคนที่ทารังสีบาบัด และ รักษาแผลกระเพาะอาหารได้อีกด้วย 2.9 ซาโปนิน (Saponins) ที่พบในว่านหางจระเข้อยู่ในรูปไกลโคไซด์ (Glycoside) ที่มีส่วน Aglycone (Sapogenin) เป็นสารจาพวก Steroids หรือ Triterpenoids (ตรีเพชร, 2552) ซึ่งจะจับกับน้าตาล หรืออนุพันธ์ของ น้าตาลที่ตาแหน่ง C3 ได้เป็น O-glycoside น้าตาลที่พบ มักจะเป็น Oligosaccharide 1 - 5 หน่วย ซาโปนิน (Saponin) มีคุณสมบัติเป็น detergent เมื่อ อยู่ในน้าซาโปนิน (Saponin) จะเกิดเป็น Colloidal solution ซึ่งเมื่อ เขย่าจะเกิดฟอง เนื่องจาก ส่วน Aglycone เป็นสารโมเลกุลใหญ่มีจานวน carbon 27 – 30 อะตอม ทาให้ส่วน Aglycone มี คุณสมบัติ Lipophilic และมีส่วนของน้าตาลซึ่งละลายน้าได้ จึงมีคุณสมบัติ Hydrophilic จาก การที่ Saponin มีคุณสมบัติ Lipophilic / Hydrophilic อยู่ในโมเลกุล จึงมีความสามารถในการ ลดแรงตึงผิว และใช้ในการ ชะล้างได้ และมีฤทธิ์ทาลายเม็ดเลือดแดงโดยทาให้เกิดการแตก ท าลายของเม็ดเลือดแดง (Hemolysis) (อดุลย์, 2537)
  • 5. 5 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. คิดหัวข้อโครงงาน 2. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3. จัดทาโครงงาน 4. ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5. ปรับปรุงและทดสอบ 6. ทาเอกสารรายงาน 7. ประเมินผลงาน 8. นาเสนอผลงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์ งบประมาณ ไม่มี ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ทราบสารประกอบในว่านหางจระเข้ และทราบว่าสารใดที่มีฤทธิ์ต้านการอักเสบของสิวที่อุตสาหกรรม เครื่องสาอางนามาผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อขายและเป็นความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ส่งต่อกันมา สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
  • 6. 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาขาเคมี และ สาขาพฤกษศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) อาจารย์ปัณรสี สู่ศิริรัตน์ และอาจารย์ภัทรา พลับเจริญสุข. “การใช้สารสกัดหยาบจากเปลือกว่านหางจระเข้เพื่อ ควบคุมโรคแอนแทรคโนส และโรคขั้วผลเน่าในมะม่วงพันธุ์น้าดอกไม้ เขตอาเภอปราณบุรี จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์.” รายงานวิจัย. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์,2555. แหล่งที่มา : http://libdoc.dpu.ac.th/research/148535.pdf ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เทคนิคการแพทย์หญิง ดร. จารุวรรณ ศิริเทพทวี. “การศึกษาผลของโปรตีนจากต้น Aloe barbadensis Mill ต่อไฟบริโนเจนและก้อนไฟบรินของมนุษย์.” รายงานวิจัย. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, 2556. แหล่งที่มา : http://sutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/5716/2/fulltext.pdf