SlideShare a Scribd company logo
โครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อโครงงาน กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์
คณะผู้จัดทา
1.นาย ไกรววิชญ์ เลิศนิพรกุล ชั้น 5/7 เลขที่21
2.นาย วัฒนพงษ์ มนัสศุภรานันท์ ชั้น 5/7 เลขที่ 35
3.นาย ธิติภัทร ดีเสมอ ชั้น 5/7 เลขที่36
4.นาย ศิวกร จันทร์คา ชั้น 5/7 เลขที่40
5.นาย นพดล พานทอง ชั้น 5/7 เลขที่45
ครูที่ปรึกษาโครงงาน
1. นายศราวุฒิ ญาณะคา
2. นางสาววนัชนันท์ เอกธนากุล
3. นายสมหวัง ชัยตามล
ที่ปรึกษาพิเศษ
นางกิตติภา ดาวัลย์
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา โครงงานคอมพิวเตอร์ 2 ง32252
ภาคเรียนที่ 2 ประจาปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเทพศิรินทร์
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
ก
ชื่อโครงงาน : กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์
ชื่อผู้พัฒนา : นาย ไกรววิชญ์ เลิศนิพรกุล
นาย วัฒนพงษ์ มนัสศุภรานันท์
นาย ธิติภัทร ดีเสมอ
นาย ศิวกร จันทร์คา
นาย นพดล พานทอง
รายวิชา : โครงงานคอมพิวเตอร์ 2
ปีการศึกษา : 2560
ที่ปรึกษา : นายศราวุฒิ ญาณะคา
นางสาววนัชนันท์ เอกธนากุล
นายสมหวัง ชัยตามล
นางกิตติภา ดาวัลย์
บทคัดย่อ
กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์ นั้นเริ่มต้นมาจาก โครงงานบูรณาการเรื่อง สาคูบาร์
ของกลุ่มคณะผู้จัดทา โดยมีจุดมุ่งหมายแต่เดิมเพื่อศึกษาค้นคว้า เรื่อง สาคู และมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสาคู 2. เพื่อศึกษาความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ 3. เพื่อแปรรูปแป้งสาคูให้เป็นผลิตภัณฑ์
ซีเรียลบาร์ และ 4. เพื่อคานวณต้นทุนการผลิต เทียบกับซีเรียลบาร์ที่ขายทั่วไปในร้านสะดวกซื้อ แล้วต่อมาคณะ
ผู้จัดทาได้ต้องการบูรณาการโครงงานนี้เข้ากับโครงงานคอมพิวเตอร์ จึงได้ตัดสินใจทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง
กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์หลักๆคือ 1.เพื่อศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปแกรม Sony Vegas
2.เพื่อสร้างวีดิทัศน์เรื่อง กว่าจะเป็นสาคูบาร์ โดยได้ใช้โปแกรม Sony Vegas ในการตัดต่อ โดยผลที่ได้รับคือ คณะ
ผู้จัดทาสามารถสร้างวีดิทัศน์เรื่อง กว่าจะเป็นสาคูบาร์ได้สาเร็จ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย: 1. โปแกรม Sony Vegas
2. เอกสารข้อมูลการใช้ Sony Vegas เบื้องต้น
คณะผู้จัดทา
ข
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์ สาเร็จลุล่วงไปด้วยความกรุณาอย่างยิ่งของ
นายสมหวัง ชัยตามล ผู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม นายศราวุฒิ ญาณะคา
และนางสาววนัชนันท์ เอกธนากุล คุณครูประจาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/7 และนางกิตติภา ดาวัลย์ ผู้สอนในกลุ่ม
สาระการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ และนายสุริยัน ตุมารัมย์ หัวหน้าระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้อุทิศเวลาในการดูแล
ให้คาแนะนา และให้ข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ ในการจัดทาโครงงานมาโดยตลอด
ขอขอบคุณนางจีราภรณ์ สังข์ผุด นายโชคชัย หมั่นถนอม และนายอนุสรณ์ นิลโพธิ์ วิทยากรจากศูนย์การ
เรียนรู้สาคู และภูมิปัญญาจากสาคู คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ที่
ได้สละเวลาอันมีค่ามาให้ความรู้เกี่ยวกับต้นสาคู สาธิตการเก็บแป้งจากต้นสาคู รวมถึงการนาไปใช้ประโยชน์ใน
ลักษณะต่าง ๆ
ขอขอบคุณเครือข่ายผู้ปกครองชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/7 ที่สนับสนุนทั้งกาลังทรัพย์ แรงกาย และให้กาลังใจ
ในการจัดทาโครงงานเสมอมา
คณะผู้จัดทา ขอกราบขอบพระคุณอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทา
ค
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญภาพ จ
บทที่ 1 บทนา 1
1.1 ความสาคัญและความเป็นมาของโครงงาน 1
1.2 วัตถุประสงค์ 2
1.3 แนวคิด/สมมติฐาน 2
1.4 นิยามศัพท์ 2
1.5 ขอบเขตการศึกษา 3
1.6 วิธีการดาเนินการ 3
1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3
บทที่ 2 เอกสารและหลักการที่เกี่ยวข้อง 4
2.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสาคู 4
2.2 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ กราโนล่า หรือ ซีเรียล 12
2.3 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ 18
2.4 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Sony Vegas 22
บทที่ 3 การดาเนินการศึกษา 36
3.1 ศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสาคู และ ซีเรียล 36
3.2 จัดเตรียมอุปกรณ์และส่วนผสมที่ใช้ในการทา สาคูบาร์ 36
3.3 เริ่มต้นทา สาคูบาร์ 37
3.4 เริ่มต้นทา วีดีทัศน์เรื่อง กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์ 46
3.5 สรุปผลการจัดทาโครงงาน 49
3.6 นาเสนอครูประจาวิชาเพื่อปรับปรุงแก้ไข 49
3.7 ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ 49
3.8 จัดทารายงานโครงงานฉบับสมบูรณ์ 49
3.9 นาเสนอโครงงาน 49
บทที่ 4 ผลการศึกษา 50
4.1 ได้รู้เกี่ยวกับแป้งสาคูว่าผลิตจากต้นปาล์มสาคูและการผลิตสาคู 50
4.2 ได้รู้ว่าเศรษฐศาสตร์ในวิชาสังคมศึกษาที่ว่าด้วยการบริหารทรัพยากร 50
ที่มีอยู่อย่างจากัด นาไปใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
4.3 ได้ผลิตภัณฑ์สาคูบาร์ 51
4.4 การคานวณต้นทุนในสาคูบาร์ 1 ชิ้น 51
4.5ได้วีดีทัศน์ กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์ 52
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ 53
5.1 สรุปผลการศึกษา 53
ง
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
5.2 ประโยชน์ที่ได้รับ 56
5.3 ข้อเสนอแนะ 56
บรรณานุกรม 57
ภาคผนวก ก 58
ภาคผนวก ข 60
ประวัติผู้จัดทา 62
จ
สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้า
2.1 แสดงตัวอย่างต้นสาคู 4
2.2 แสดงตัวอย่างใบสาคู 5
2.3 แสดงตัวอย่างใบสาคู 5
2.4 แสดงตัวอย่างดอกสาคู 6
2.5 แสดงตัวอย่างรูปร่างผลสาคูชนิดต่าง ๆ 7
2.6 แสดงภาพน้าขังกับต้นไม้ที่ขึ้นในป่าพรุสิรินธร 7
2.7 แสดงระบบนิเวศป่าสาคูที่ข้นในป่าพรุสิรินธร 8
2.8 แสดงการขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสาคู 9
2.9 แสดงการงอกของเมล็ดสาคูในพื้นที่ธรรมชาติ 10
2.10 แสดงตัวอย่าง กราโนล่า 12
2.11 แสดงตัวอย่าง กราโนล่า 14
2.12 แสดงตัวอย่าง ส่วนผสมบางส่วนของซีเรียลบาร์ 15
2.13 แสดงตัวอย่าง การทาซีเรียลบาร์ ขั้นตอนที่ 1 15
2.14 แสดงตัวอย่าง การทาซีเรียลบาร์ ขั้นตอนที่ 2 16
2.15 แสดงตัวอย่าง การทาซีเรียลบาร์ ขั้นตอนที่ 3 16
2.16 แสดงตัวอย่าง การทาซีเรียลบาร์ ขั้นตอนที่ 4 17
2.17 แสดงตัวอย่าง การทาซีเรียลบาร์ ขั้นตอนที่ 5 17
2.18 แสดงตัวอย่าง การทาซีเรียลบาร์ ขั้นตอนที่ 6 18
2.19 แสดงผลิตภัณฑ์ที่ใช้ตัดต่อวีดีทัศน์ในตระกูล Vegas 22
2.20 แสดงตัวอย่าง Track 23
2.21 แสดงตัวอย่าง Timeline 23
2.22 แสดงตัวอย่าง Transport Toolbar 23
2.23 แสดงตัวอย่าง Time Display 23
2.24 แสดงตัวอย่าง Status Bar 23
2.25 แสดงตัวอย่าง Explorer 24
2.26 แสดงตัวอย่าง Trimmer 24
2.27 แสดงตัวอย่าง Audio Control 24
2.28 แสดงตัวอย่าง Video Preview 24
2.29 แสดงตัวอย่าง Project Media 25
2.30 แสดงตัวอย่าง การสร้าง Title 25
2.31 แสดงตัวอย่าง ส่วนของ Edit 26
2.32 แสดงตัวอย่าง ส่วนของ Placement 26
2.33 แสดงตัวอย่าง ส่วนของ Properties 26
2.34 แสดงตัวอย่าง ส่วนของ Effect 26
2.35 แสดงตัวอย่าง Text ที่ได้ถูกเพิ่มลงไปใน Time 27
ฉ
สารบัญภาพ (ต่อ)
ภาพที่ หน้า
2.36 แสดงตัวอย่าง Timeline มี Text จานวน 3 Text เรียงกันอยู่บน Video Track 27
2.37 แสดงตัวอย่าง เมื่อลาก Text มาเรียงซ้อนทับกัน 28
2.38 แสดงตัวอย่าง ไอคอน Generated Media 28
2.39 แสดงตัวอย่าง การใช้Transition 29
2.40 แสดงตัวอย่าง การแทรกภาพวิธีที่ 1 29
2.41 แสดงตัวอย่าง การแทรกภาพวิธีที่ 2 30
2.42 แสดงตัวอย่าง การแทรกภาพวิธีที่ 2 30
2.43 แสดงการเปรียบเทียบการแทรกภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหวที่มีเสียง 31
2.44 แสดงตัวอย่างการตกแต่งภาพใน Vegas 31
2.45 แสดงตัวอย่างการลบ effect ออกจากภาพ 32
2.46 แสดงตัวอย่างการลบ effect ออกจากภาพ 32
2.47 แสดงตัวอย่างการปรับแต่งเสียง 33
2.48 แสดงตัวอย่างการปรับแต่งเสียงเฉพาะบางช่วง 33
2.49 แสดงตัวอย่างการปรับแต่งเสียงเฉพาะบางช่วง 34
2.50 แสดงตัวอย่างการขั้นตอนการ Render 34
2.51 แสดงตัวอย่างการขั้นตอนการ Render 35
2.52 แสดงหน้าต่างการ Render 35
3.1 แสดงถึงวัตถุที่ใช้และอุปกรณ์ในการชั่งน้าหนัก 36
3.2 แสดงการร่อนแป้ง 37
3.3 แสดงการร่อนแป้ง 37
3.4 แสดงเม็ดแป้งที่ไม่สามารถผ่านตะแกรงได้ 37
3.5 แสดงการนาเม็ดแป้งที่ไม่สามารถผ่านตะแกรงได้ไปใส่ครกแล้วตา 37
3.6 แสดงถึงเม็ดแป้งที่ผ่านการตาแล้ว 38
3.7 แสดงถึงการชั่งแป้งสาคู 150 กรัม (น้าหนักของชาม 170 กรัม) 38
3.8 แสดงถึงการชั่งแป้งสาคูผสมกับน้าร้อน 39
3.9 แสดงภาพแป้งที่คลุกกับน้าร้อนเสร็จเรียบร้อยแล้ว 39
3.10 แสดงภาพการชั่งแป้ง 1 ก้อน น้าหนัก 50 กรัม 40
3.11 แสดงถึงภาพการทอดแป้งสาคู 40
3.12 แสดงภาพการพักแป้งหลังจากทอดเพื่อไม่ให้แป้งอมน้ามัน 41
3.13 แสดงภาพการชั่งน้าผึ้งและเนยถั่วอย่างละ 100 กรัม 41
3.14 แสดงถึงซีเรียลที่เตรียมเรียบร้อยแล้ว 42
3.15 แสดงถึงการผสมน้าผึ้ง เนยถั่ว และ ซีเรียลเข้าด้วยกัน 42
3.16 แสดงที่น้าผึ้ง เนยถั่วและซีเรียลที่เข้ากันดีแล้ว 43
3.17 แสดงถึงวิธีการให้ความร้อนแบบ double boiled 43
3.18 แสดงถึงการผสมน้ามันมะพร้าวลงในช็อคโกแลตที่กาลังให้ความร้อนอยู่ 44
3.19 แสดงถึงการวางซีเรียลลงบนแป้งสาคู 44
ช
สารบัญภาพ (ต่อ)
ภาพที่ หน้า
3.20 แสดงถึงการนาช็อคโกแลตราดลงบนสาคูบาร์และการชุบสาคูบาร์ด้วยช็อคโกแลต 45
3.21 แสดงถึงการนาสาคูบาร์ไปแช่ช่องแช่แข็ง 45
3.22 แสดงหน้าตาโปแกรม Sony Vegas หลังจากเปิดขึ้นมา 46
3.23 แสดงการสร้างTitle ของวีดีทัศน์“กว่าจะเป็นสาคูบาร์” 46
3.24 แสดงการสร้างTitle ของวีดีทัศน์“กว่าจะเป็นสาคูบาร์” 47
3.25 แสดงการแทรกรูปและใส่ข้อมูลขั้นตอนการทาสาคูบาร์ 47
3.26 แสดงการ save ของ Sony Vegas เป็นไฟล์ที่สามารถแก้ไขได้ 48
3.27 แสดงหน้าต่างการ Render ไฟล์ให้ออกมาเป็นวิดีโอ 48
3.28 แสดงตัวอย่างบางส่วนของ วีดีทัศน์เรื่อง กว่าจะเป็นสาคูบาร์ 49
4.1 แสดงถึงหน้าตาของสาคูบาร์ 51
4.2 แสดงตัวอย่างบางส่วนของ วีดีทัศน์เรื่อง กว่าจะเป็นสาคูบาร์ 52
5.1 แสดงตัวอย่างบางส่วนของ วีดีทัศน์เรื่อง กว่าจะเป็นสาคูบาร์ 55
1
บทที่ 1
บทนำ
1.1 ควำมสำคัญและควำมเป็นมำของโครงงำน
ในปัจจุบัน แป้งสาคูที่มาจากแป้งสาคูแท้ ๆ นั้นหายาก ส่วนใหญ่แป้งสาคูนิยมผลิต
จากแป้งมันสาปะหลัง เนื่องจากแป้งมันสาปะหลังที่ได้จากต้นมันสาปะหลังที่ใช้ระยะเวลาใน
การเจริญเติบโตไม่นาน โดยใช้เวลาเพียง 1 ปี ถึง 1.4 ปีเท่านั้น ในขณะที่ต้นปาล์มสาคูจะต้อง
ใช้เวลาในการเจริญเติบโตถึง 9 ปีขึ้นไป จึงจะสามารถนาลาต้นมาใช้ผลิตแป้งได้ ผู้ผลิตจึงหัน
ที่จะเลือกไปผลิตแป้งมันสาปะหลังแทน ถึงแม้ต้นปาล์มสาคู 1 ต้น จะให้ผลผลิตได้มากกว่า
ต้นมันสาปะหลัง 1 ต้น แต่ถ้าเทียบถึงระยะเวลาการเจริญเติบโตนั้น ต้นมันสาปะหลังจึงชนะ
ใจผู้ผลิตมากกว่า เป็นสาเหตุที่ทาให้ไม่ค่อยพบเจอแป้งสาคูจากต้นสาคูแท้ในประเทศไทย
ในส่วนของต้นปาล์มสาคูที่นามาผลิตแป้งนั้นจะใช้ส่วนบริเวณตรงกลางลาต้น หรือ
คือไส้ในของต้น วิธีการผลิตนั้นคือเราจะใช้วิธีขุด เจาะตรงกลางลาต้นให้เป็นเศษเล็ก ๆ นาไป
แช่ในน้าสะอาด นาเศษไส้ในขึ้นจากน้า และบีบเอาน้าออก จะสังเกตได้ว่าน้าจะเปลี่ยนสี รอ
ตกตะกอนและในส่วนที่ตกตะกอนก็คือ แป้งสาคู ในกรรมวิธีการผลิตแบบคร่าว ๆ ที่กล่าวไป
นั้น กว่าจะมาเป็นแป้งสาคูได้ ค่อนข้างยากลาบาก เพราะต้องอาศัยปัจจัยหลาย ๆ อย่าง เช่น
กว่าจะรอต้นปาล์มสาคูเจริญเติบโต กว่าจะผลิต ต้องตัดไม้เป็นท่อน ๆ การดูแล การรอแป้ง
ตกตะกอน การผลิตแป้ง และอื่น ๆ อีกมากมาย ทางกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม จึงหาวิธีที่จะเพิ่มมูลค่าให้กับแป้งสาคูแท้ ที่นอกจากจะเอาไปทาสาคูไส้หมู
แล้วนั้น จะสามารถเอาไปทาอะไรได้อีกบ้าง โดยจะต้องเป็นสิ่งที่แปลกใหม่ ไม่เคยมีใครทามา
ก่อนและอีกทั้งยังสามารถเพิ่มรายได้ให้กับผู้ที่ปฏิบัติตาม
เนื้อหาที่เราเรียนนั้นเกี่ยวกับ “เศรษฐศาสตร์” ซึ่งเป็นศาสตร์หนึ่งในวิชาสังคมศึกษา
ที่ว่าด้วย การบริหาร จัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดและใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทาง
กลุ่มจึงคิดว่าจะต้องทาอย่างไรจึงจะสามารถนาแป้งสาคูมาเกี่ยวข้องกับหัวข้อเศรษฐศาสตร์
ได้
จากการระดมสมองจากสมาชิกทุกคนในกลุ่มนั้นเราจึงคิดว่าการเอาแป้งสาคูมาทา
ขนม เป็นวิธีการที่ดีที่สุด แต่จะไม่ทาขนมแบบเดิมๆ ดังนั้น สมาชิกในกลุ่มจึงไปศึกษาค้นหา
เพิ่มเติมว่าขนมชนิดใดในปัจจุบันที่คนในสังคมนิยมรับประทาน ก็พบว่าซีเรียลบาร์คืออาหาร
ทางเลือกใหม่ของคนในสังคม
ซีเรียล คือ อาหารชนิดหนึ่งซึ่งไปประกอบไปด้วยธัญพืชอบแห้งนานาชนิดไม่ว่าจะ
เป็น ข้าวโอ๊ต ข้าวพอง ลูกเกดอบแห้งและอื่น ๆ อีกมากมายซึ่งมีประโยชน์กับร่างกาย มี
คุณค่าทางโภชนาการที่เปี่ยมล้น นิยมรับประทานคู่กับนมในมื้อเช้า แต่ถ้าหากทามาใน
รูปแบบของการอัดแท่ง (หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า บาร์) ก็จะมีความหวานกรอบและใช้เวลา
2
ทานค่อนข้างน้อย ซึ่งจะเหมาะกับคนที่ใช้ชีวิตเร่งรีบในเมือง หรือคนที่มีเวลาไม่เพียงพอใน
การรับประทานอาหาร ทางกลุ่มจึงตัดสินนาแป้งสาคูไปแปรรูปที่ทาให้ทานได้ง่าย อร่อย และ
เข้ากันกับซีเรียล ทางกลุ่มเลือกแป้งสาคูเป็นคาร์โบไฮเดรต เป็นฐานสาหรับรองรับซีเรียลและ
ช็อกโกแลตเคลือบ
เมื่อทาการแปรรูปเสร็จสิ้น ทางกลุ่มจะทาการคิดงบประมาณต้นทุนที่ใช้ผลิตต่อ 1
ชิ้นและนาไปเปรียบเทียบกับซีเรียลบาร์ยี่ห้ออื่น ๆ ที่วางขายตามร้านสะดวกซื้อ เพื่อเป็น
การเพิ่มตัวเลือกให้กับผู้บริโภคในการที่จะบริโภคซีเรียลบาร์ และเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับผู้ที่
ต้องการรายได้เสริม ต้นทุนของสาคูบาร์นั้นจะขึ้นอยู่กับผู้ผลิตว่าจะต้องการใส่ธัญพืชอะไรลง
ไปได้บ้าง เป็นอาหารที่สามารถกาหนดความอร่อยที่เราต้องการได้อีกด้วย
ต่อมาคณะผู้จัดทาได้ต้องการบูรณาการโครงงานนี้เข้ากับโครงงานคอมพิวเตอร์ จึง
ได้ตัดสินใจทาวีดีทัศน์เรื่อง กว่าจะเป็นสาคูบาร์ โดยได้ใช้โปแกรม Sony Vegas ในการตัดต่อ
1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1 เพื่อศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสาคู
1.2.2 เพื่อศึกษาความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
1.2.3 เพื่อแปรรูปแป้งสาคูให้เป็นผลิตภัณฑ์ ซีเรียลบาร์
1.2.4 เพื่อคานวณต้นทุนการผลิต เทียบกับซีเรียลบาร์ที่ขายทั่วไปในร้านสะดวกซื้อ
1.2.5 เพื่อศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปแกรม Sony Vegas
1.2.6 เพื่อสร้างวีดีทัศน์เรื่อง กว่าจะเป็นสาคูบาร์
1.3 แนวคิด/สมมติฐำน
1.3.1 การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับสาคู จะทาให้สามารถแปรรูปสาคูที่มี
คุณภาพได้มากยิ่งขึ้น
1.3.2 การมีความรู้ทางเศรษฐศาสตร์สามารถช่วยให้คานวณต้นทุน กาไรได้ถูกต้อง
อย่างแม่นยา
1.3.3 เมื่อแปรรูปแป้งสาคูได้สาเร็จแล้ว จะสามารถทาให้มูลค่าของแป้งสาคูในด้าน
การทาอาหารเพิ่มขึ้น
1.3.4 ยิ่งต้นทุนถูกเท่าใด ก็จะยิ่งทาให้ผู้ผลิตสนใจมากเท่านั้น
1.4 นิยำมศัพท์
เศรษฐศาสตร์ คือ ศาสตร์ในวิชาสังคมศึกษาที่ว่าด้วยการบริหารทรัพยากรที่มีอยู่
อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงที่สุด
ซีเรียลบาร์ หมายถึง อาหารเช้าจาพวกธัญพืช กราโนลานั้นจะประกอบไปด้วย
3
ข้าวโอ๊ต ถั่ว น้าผึ้ง ผสมเข้าด้วยกัน อัดเป็นแท่งและอบจนกรอบ
แป้งสาคู หมายถึง แป้งสาคูที่ผลิตจากต้นปาล์มสาคู
สาคูบาร์ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ซีเรียลบาร์ที่แปรรูปจากสาคูสาเร็จแล้ว
ต้นทุนการผลิต หมายถึง จานวนต้นทุนที่ใช้ในการผลิตสาคูบาร์
1.5 ขอบเขตกำรศึกษำ
1.5.1 แป้งสาคูที่ใช้ในการแปรรูปผลิตภัณฑ์นั้นจะเป็นแป้งสาคูที่ทามาจากต้นปาล์ม
สาคูเท่านั้น
1.5.2 โปแกรมที่ใช้ในการตัดต่อวีดีทัศน์เรื่อง กว่าจะเป็นสาคูบาร์ คือ โปแกรม
Sony Vegas เท่านั้น
1.6 วิธีกำรดำเนินกำร
การทาโครงงานครั้งนี้เป็นการทาโครงงานประเภทการแปรรูปให้เป็นผลิตภัณฑ์โดยมี
การดาเนินงาน ดังนี้
1.6.1 ศึกษาข้อมูลเบื้องต้น โดยการศึกษาจากเอกสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ ต้นปาล์ม
สาคูในประเทศไทย แป้งสาคู ซีเรียลบาร์ และโปแกรม Sony Vegas
1.6.2 คิดค้นวิธีการแปรรูปผลิตภัณฑ์ให้กลายเป็นซีเรียลบาร์
1.6.3 เปรียบเทียบต้นทุนระหว่างซีเรียลบาร์ในร้านสะดวกซื้อกับซีเรียลบาร์ที่ทาจาก
แป้งสาคู
1.6.4 นาผลที่ได้จากการแปรรูปและการเปรียบเทียบกันมาวิเคราะห์ และสรุปผล
1.6.5 จัดทาวีดีทัศน์เรื่อง กว่าจะเป็นสาคูบาร์
1.6.6 ทาผลงานเสนอครูที่ปรึกษาประจาวิชา และ ครูที่ปรึกษาเพื่อขอข้อชี้แนะและ
ปรับปรุงแก้ไข
1.6.7 จัดทารายงาน เพื่อนาเสนอผลงานเป็นรูปเล่ม นาผลิตภัณฑ์มาจัดแสดงและ
ให้ทดลองชิม พร้อมฉายวีดีทัศน์เรื่อง กว่าจะเป็นสาคูบาร์
1.7 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
1.7.1 มีความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับแป้งสาคู และต้นปาล์มสาคู
1.7.2 มีความรู้พื้นฐานและความเข้าใจเพิ่มขึ้นที่เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
1.7.3 ได้ผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจากแป้งสาคู
1.7.4 สามารถเพิ่มรายได้ให้กับผู้ที่ผลิตผลิตภัณฑ์นี้
1.7.5 มีความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับโปแกรม Sony Vegas
1.7.6 ได้วีดีทัศน์เรื่อง กว่าจะเป็นสาคูบาร์
4
บทที่ 2
เอกสำรและหลักกำรที่เกี่ยวข้อง
การจัดทาโครงงานบูรณาการเรื่อง “สาคูบาร์” ของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม และ โครงคอมพิวเตอร์เรื่อง “กว่าจะเป็นสาคูบาร์” คณะผู้จัดทาได้
ทาการศึกษาเอกสารและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
2.1 ควำมรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสำคู
สาคู เป็นพืชที่เราสามารถพบเห็นได้โดยทั่วไป เป็นไม้ยืนต้น มีลาต้นคล้ายมะพร้าว
จัดเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวอยู่ในตระกูลปาล์ม เรียกชื่อแตกต่างกันไปตามภาษาที่ใช้และตาม
ท้องถิ่นที่พบ สาคู ตามความหมาย พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542
ให้ความหมายว่า เป็นคานาม หมายถึง ชื่อปาล์ม 2 ชนิด ในสกุล Metroxylon วงศ์ปาล์มคือ
ชนิด M. Sagus Rottb.กาบใบไม่มีหนาม และชนิด M. rumphii Mart. กาบใบมีหนามและ
ทั้ง 2 ชนิด ใช้ใบมุงหลังคา ไส้ในลาต้นแก่ใช้ทาแป้ง เรียกว่า แป้งสาคู
คาว่า “สาคู” หรือ “Sago” เป็นคาเดิมในภาษาชวา มีความหมายว่า ต้นปาล์มที่มี
แป้งสะสมอยู่ภายในส่วนของลาต้น
ในภาษาไทยคาว่า “สาคู” นอกจากใช้เรียกชื่อพืชในตระกูลปาล์มชนิดนี้แล้วยังใช้
เรียกชื่อพืชล้มลุก ชนิดใบเลี้ยงเดี่ยว ที่มีขนาดใกล้เคียงกับขมิ้น อีกชนิดหนึ่งในตระกูล
Marantaceae ซึ่งมีชื่อทางพฤกษศาสตร์ว่า Maranta arundinacea L. โดยส่วนของเหง้า
สามารถให้แป้งได้เช่นเดียวกับปาล์มสาคูแต่เป็นพืช คนละชนิดที่มีความแตกต่างกันอย่าง
ชัดเจน
ภาพที่ 2.1 แสดงตัวอย่างต้นสาคู
5
สาคู ขณะต้นเล็ก ลาต้นจะทอดขนานกับพื้นดิน ต่อมาลาต้นจะตั้งตรง เมื่อโตเต็มที่
สูงประมาณ 15-20 เมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 45 – 60 เซนติเมตร ลาต้นคล้ายมะพร้าวอัตรา
การเจริญเติบโต ในสภาพปกติปีละ 1.67 เมตร ลาต้นจะมีร่องรอย ของใบเป็นรูปวงแหวนมี
เปลือกห่อหุ้ม แต่ไม่มีกิ่งสาขา โดยสาคูต้นใหม่ จะแตกแขนงออกจากรากเหง้าของ ต้นเดิม
ซึ่งรากเหง้านี้จะค่อย ๆ โต และทอดยาวอยู่เหนือผิวดินทางด้านหลังของต้นเดิมแขนงรุ่นหลัง
ๆ จึงค่อยอยู่ห่างจากแขนงรุ่นแรก ๆ ในด้านที่อยู่คนละทางกับต้นเดิมทั้ง 3 ด้านเรียก
รากเหง้าที่ค่อย ๆ ลอยตัว และโตขึ้น ตามภาษาถิ่นว่า “หัวหมก”
ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนกคู่ ขนาดใหญ่ ยาวประมาณ 2 - 5 เมตร ต้นสาคูที่
สมบูรณ์อาจมีก้านใบ(ทางสาคู) มากถึง 24 ก้าน ก้านใบสาคู 1 ก้าน มีใบย่อยแยกออกจาก
ก้าน เรียงชิดกันเป็นระเบียบทั้งสองข้าง ประมาณ 100 -190 ใบย่อย โดย ใบย่อยแต่ละใบ
เป็นรูป เรียว มีความยาวประมาณ 0.5 -1.6 เมตร กว้างประมาณ 10 เซนติเมตร ปลายใบ
เรียวแหลมคล้ายใบมะพร้าว แต่มีขนาดใหญ่กว่า และหนากว่ามีหนามเล็ก ๆ ตรงขอบใบ
ภาพที่ 2.2 แสดงตัวอย่างใบสาคู ภาพที่ 2.3 แสดงตัวอย่างใบสาคู
6
ดอก เมื่อต้นสาคูแก่เต็มที่ จะออกดอกเป็นช่อแยกแขนง คือ มีจั่นดอก แตกออกตรง
ปลายยอด และมีขนาดใหญ่ แผ่กว้าง ชาวบ้าน เรียกว่า “แตกเขากวาง” เพราะแต่ละจั่น มี
แง่ง คล้ายเขากวาง ช่อดอกมีสีน้าตาลแกมแดง ยาวประมาณ 5-7 เมตร แต่ละดอกมีก้าน
เกสร เพศเมีย 3 ก้าน เกสรเพศผู้ 3 ก้าน จัดเป็นดอก สมบูรณ์เพศ เพราะมีดอกเพศผู้ และ
ดอก เพศเมียอยู่ในดอกเดียวกัน แต่แตกและ บานไม่พร้อมกัน จึงเป็นพืชที่มี การผสม ข้าม
ดอก โดยช่อดอกแผ่กระจายคล้าย รูปสามเหลี่ยม ออกดอกครั้งเดียวแล้ว ยืนต้นตาย
ภาพที่ 2.4 แสดงตัวอย่างดอกสาคู
ผลสาคู มีลักษณะเป็นทะลาย รูปผล กลมแป้น (ที่พบในไทย) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง
3.5 - 5 เซนติเมตร ผิวของผลเป็นเกล็ดเรียงเกยซ้อนกัน เมื่อผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อผลแก่หรือ
ผลสุก มีสีน้าตาลแกมเหลือง บางต้นอาจมีผลปริมาณมากถึง 7,500 - 8,000 ผล ผลสดหนึ่ง
ผลมีน้าหนักประมาณ 42 กรัม สามารถทยอยเลือกเก็บผลได้ตลอดทั้งปี แต่พบว่าในบางต้น
อาจเป็นเมล็ดลีบทั้งหมด ซึ่งไม่สามารถนาไปเพาะเพื่อขยายพันธุ์ได้ ทั้งนี้เป็นผลเนื่องมาจาก
ขบวนการผสมเกสรของดอกไม่สมบูรณ์
สาคู เป็นพืชที่ออกดอกติดผลครั้งเดียวในรอบวงชีวิต เมื่อผลร่วงแล้วต้นแม่จะตาย
โดยสังเกตได้จากสีของใบค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีน้าตาล และส่วนของลาต้น จากส่วนยอดจะ
ค่อย ๆ แห้ง และเน่าสลาย
สาคูใช้ระยะเวลามากกว่า 3 ปี ลาต้นจึงจะเน่าสลายทั้งหมดหรือล้มลงต่อมาจะมี
หน่อใหม่จานวนหนึ่งหรือมากกว่า ขึ้นมาทดแทน ระยะเวลาตั้งแต่ออกดอกจนถึงผลสุก ใช้
เวลา ประมาณ 4 - 5 ปี
7
ภาพที่ 2.5 แสดงตัวอย่างรูปร่างผลสาคูชนิดต่างๆ
2.1.1 ระบบนิเวศป่ำสำคู
ระบบนิเวศป่าสาคู เป็นความสมบูรณ์ที่เกิดขึ้นบริเวณรอยต่อ ระหว่างป่าต้นน้ากับ
ป่าจาก ป่าชายเลน ทะเล และมหาสมุทร ซึ่งสาคูเป็นพืชที่ชอบน้าจืดและเจริญเติบโตได้ดีใน
พื้นที่ที่เป็นที่ลุ่มต่ามีน้าจืดท่วมขัง หรือเป็นพื้นที่ทางน้าไหล หรือพื้นที่ที่น้าท่วมในฤดูฝน และ
สาคูยังสามารถปรับตัวให้อยู่รอดได้ดี ในพื้นที่ที่มีธาตุอาหารต่า เช่นในป่าพรุ ในบางแห่ง
พบว่าสาคูสามารถเจริญเติบโตได้ดี ในที่สูงถึง 700 เมตรจากระดับน้าทะเลปานกลาง แต่สาคู
จะให้ผลผลิตดีที่ระดับความสูงจากระดับน้าทะเลปานกลางประมาณ 400 เมตร (Rasyad
and Wasito, 1986)
ภาพที่ 2.6 แสดงภาพน้าขังกับต้นไม้ที่ขึ้นในป่าพรุสิรินธร
8
ดังนั้น จุดเด่นของสาคู คือ เป็นพืชที่สามารถเจริญเติบโตได้ ในพื้นที่ลุ่มน้าขัง หรือ
เรียกว่าพื้นที่ชุ่มน้าจืด (Wetlands) และป่าพรุ (Peat swamp forest) ปกติพื้นที่ดังกล่าว
ส่วนใหญ่ ถูกปกคลุมด้วยวัชพืช พื้นที่เหล่านี้ถูกปล่อยให้ทิ้งร้างว่างเปล่าไว้เฉยๆ เพราะ
พืชเกษตรอื่นไม่สามารถขึ้นได้ หรือให้ผลผลิตไม่คุ้มค่า แต่สาคูสามารถขึ้นได้และเจริญ
เติบโตได้ดีโดยไม่ต้องลงทุนปรับปรุงดินและไม่ต้องจัดการเรื่องชลประทาน
ภาพที่ 2.7 แสดงระบบนิเวศป่าสาคูที่ขึ้นในป่าพรุสิรินธร
สาคู เป็นพืชที่ชอบแสง คือต้องการแสงมากกว่า 800 cd/m2 ความเค็มของดินไม่
มากกว่า 10 S/m หรือมีความเค็มประมาณ 1 ใน 8 ของน้าทะเล มีค่าเท่ากับ 0.0 - 0.21
psuซึ่งเป็นค่าความเค็มของน้าจืด ดังนั้น พื้นที่ที่น้าทะเลท่วมถึง สาคูจึงไม่สามารถขึ้นได้
ปริมาณน้าฝนควรมากกว่า 2,000 มิลลิเมตร/ปี หากปลูกสาคู ในสภาพพื้นที่ที่มีธาตุอาหารต่า
และดินระบายน้าไม่ดี จะทาให้การเจริญเติบโตลดลงร้อยละ 25 เมื่อเปรียบเทียบกับการ
เจริญเติบโตในสภาพดินปกติ (Jong and Flach, 1995) และ ยังพบว่าในสภาพดินเหนียวที่มี
อินทรียวัตถุสูง สาคูเจริญเติบโตได้ดีที่สุด โดยปริมาณความต้องการธาตุอาหารนั้น มีความ
ต้องการเหมือน หรือมีความต้องการ ในปริมาณที่ใกล้เคียงกับปาล์มน้ามัน แต่เนื่องจากสาคู
ขึ้นรวมกันเป็นกอใหญ่ จึงมีหลายต้นต่อพื้นที่ ดังนั้น จึงมีความต้องการธาตุอาหารในปริมาณ
ที่มากกว่า ปาล์มน้ามัน ประมาณ 3 เท่า (Kueh, 1995)
9
2.1.2 กำรสืบพันธุ์ของสำคู
การสืบพันธุ์ของสาคูมี 2 แบบ คือ
1. แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) โดยการปฏิสนธิของเกสรเพศผู้กับเกสร
เพศเมียเจริญเติบโตเป็นผล และเมล็ด ซึ่งการผสมพันธุ์แบบอาศัยเพศของสาคู จะผสมข้าม
ดอก เช่นเดียวกับปาล์มน้ามัน จานวนโครโมโซมของสาคูมี อยู่ 26 คู่ (2n) รวมระยะเวลา
ทั้งหมดตั้งแต่ งอกจนถึงออกผล แล้วตาย ประมาณ 12-15 ปี โดยสาคูต้นแก่เต็มที่ จะมีจั่น
ดอกแตกออกตรงส่วนยอด
2.แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) โดยการแตกแขนง หรือหน่อออก
จากรากเหง้าของต้นเดิม ซึ่งรากเหง้านี้จะค่อย ๆ โต และทอดยาวอยู่เหนือผิวดิน ทาง
ด้านหลังของต้นเดิม แขนงรุ่นหลังๆ จึงค่อยอยู่ห่าง จากแขนงรุ่นแรก ๆ ในด้านที่อยู่คนละ
ทางกับ ต้นเดิมทั้ง 3 ด้าน เรียกรากเหง้าที่ค่อยๆลอยตัวและโตขึ้นตามภาษาถิ่นว่า “หัวหมก”
ดังนั้น
การขยายพันธุ์สาคู จึงสามารถขยายพันธุ์ได้ 2 ลักษณะ คือ
1. การแตก / แยกหน่อจากโคนต้นเดิม โดยการใช้เสียมหรือมีดพร้า ขุด แซะ หน่อ
สาคูออกจากต้นแม่ โดยเลือกหน่อ ที่มีขนาดไม่โตมากนัก แล้วนามาแช่น้า ให้ส่วนโคนจมน้า
ภายใต้พื้นที่ ที่มีความเข้มของแสง ประมาณร้อยละ50 ใช้เวลาประมาณ 2 เดือน รากจะงอก
ออกมาใหม่ แล้วจึงย้ายไปปลูกในพื้นที่จริง จะทาให้อัตราการรอดตายสูง (Tanit, 1995)
ภาพที่ 2.8 แสดงการขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสาคู
10
2. การเพาะด้วยเมล็ด โดยให้เก็บเมล็ดสาคูที่สุกเต็มที่ และต้องเลือกเอาเฉพาะเมล็ด
ที่สมบูรณ์ โดยสามารถใช้เข็ม หรือเหล็กแหลมแทงเมล็ดดู หากเมล็ดมีความแข็งการแทงจะ
ไม่ทะลุ แสดงว่าเมล็ดนั้นมีความสมบูรณ์ จากนั้นให้เอาเปลือกนอก และเยื่อหุ้มเมล็ดออก
นาไปเพาะชาในทราย หมั่นรดน้าเช้า- เย็น เมล็ดจะเริ่มทยอยงอก ในช่วงเวลาประมาณ
20 – 60 วันหลังการเพาะ เมื่อเมล็ดงอกให้ทาการย้ายชา ลงถุงดินขนาด 5 x 8 หรือ 8 x 10
นิ้ว กล้าสาคู มีความสูงเฉลี่ย ประมาณ 50 เซนติเมตร แต่ส่วนใหญ่พบว่าการงอกของต้นสาคู
มีเปอร์เซ็นต์ การงอกต่ามาก เนื่องจากมีผลที่มี เมล็ดไม่สมบูรณ์สูงกว่าเมล็ดที่สมบูรณ์
การเพาะเมล็ดใช้เวลาประมาณ 6-12 เดือน
ภาพที่ 2.9 แสดงการงอกของเมล็ดสาคูในพื้นที่ธรรมชาติ
11
2.1.3 ประโยชน์และคุณค่ำของสำคู
สาคู เป็นพืชที่ให้คุณประโยชน์กับชาวบ้าน ทั้งทางตรง และทางอ้อม อันเกี่ยวเนื่อง
กับวิถีชีวิตวัฒนธรรมประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมทั้งชนพื้นเมืองบางประเทศยังใช้
แป้งสาคูเป็นอาหารหลักรับประทานแทนข้าวรวมทั้งผลิตแป้งส่งออกไปขายต่างประเทศ
จากการที่คณะผู้จัดทาได้ไปทาการศึกษาจากเว็บไซต์ของ สมาคมหยาดฝน จ.ตรัง
เอื้อเฟื้อข้อมูล ทาให้ทราบถึงประโยชน์ทางตรงของต้นสาคูดังนี้
ประโยชน์ทางตรงจากต้นสาคูมีดังต่อไปนี้
1.ยอดอ่อน : ใช้ทาอาหาร แกงส้ม แกงเผ็ด แกงเลียง
2.ผลสุก : ใช้รับประทานได้ เป็นยาพื้นบ้าน
3.ใบ : ใช้เย็บจากมุมหลังคา ห่อขนมจาก
4.ก้าน : ใช้ทาไม้กวาด จักสาน
5.ยาง : ใช้ทากาวติดกระดาษ ยารักษาเริม ใช้ลอกหน้า
6.ทาง : ทาคอกสัตว์ ขนา จุกข้าวหลาม
7.หน้าสาคู : ใช้ทาจักสานทาเสื่อ ฝาบ้าน ตะกร้า เครื่องมือหาปลา
8.เนื้อในลาต้น : ใช้เลี้ยงสัตว์ ทาแป้ง ทาปุ๋ย เลี้ยงด้วงสาคู
9.เปลือกนอกลาต้น : ใช้ทาเรือ ทาไม้ปูพื้น ทากระถางต้นไม้ ทาเชื้อเพลิง
10.ราก : ใช้ทายา
2.1.4 ขั้นตอนกำรทำแป้งสำคู
1. ตัดต้นสาคูออกเป็นท่อน ๆ ท่อนละ 45 - 60 เซนติเมตร
2. นาเอาไส้ในต้นสาคูออกมาจะทาโดยวิธีการตาให้ละเอียดโดยใช้ไม้ตาเฉพาะการ-
กระทุ้งและการขุด
3. หลังจากนั้นเอาไส้ที่นาออกมาแล้วไปแช่น้า ทิ้งไว้สัก 5 นาที
4. เอาไส้ในที่แช่ไว้ออกจากน้าและคั้นน้าออกจากไส้ในให้หมด
5. เมื่อเอาไส้ในออกหมดแล้วให้รอน้าที่คั้นมาตกตะกอน
6. เทน้าของเก่าออกและเติมน้าเข้าไปใหม่ จนมั่นใจว่าแป้งที่ได้จะสะอาดพอสมควร
7. เมื่อมั่นใจว่าสะอาดแล้วก็เทน้าออกให้เหลือแต่ตะกอน นาไปตากแห้งด้วยแดดจัด
12
2.2 ควำมรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรำโนล่ำ หรือ ซีเรียล
“กราโนล่า” (Granola) เป็นธัญพืชจากทางฝั่งตะวันตก นิยมทาเป็นซีเรียล ทานเป็น
อาหารเช้าหรือเป็นขนมทานเล่นก็ได้ เพราะมีรสชาติที่หอม หวาน มัน จากส่วนผสมอย่างข้าว
โอ๊ต ถั่วและน้าผึ้ง ผสมกันและนาไปอบให้กรอบ แต่หลายคนใส่ผลไม้แห้ง ลูกเกด ลูกพลัม
ช็อกโกแลต และสารพัดอย่างเพื่อเพิ่มรสชาติอร่อย ทานเพลินจนหมดถุงได้ง่าย ๆ
ภาพที่ 2.10 แสดงตัวอย่าง กราโนล่า
กราโนล่ามีแคลอรี่สูง แต่เต็มไปด้วยคุณค่าทางสารอาหาร ข้าวโอ๊ตมีไฟเบอร์และธาตุ
เหล็กสูง ถั่วและเมล็ดธัญพืชต่าง ๆ ก็มีไขมันดีซึ่งช่วยบารุงหัวใจ แม้จะมีแต่ส่วนผสมจาก
ธรรมชาติ จนทาให้ถูกคิดว่าเป็นอาหารที่ช่วยในการลดไขมัน หรือ “อาหารคลีน” แต่เพราะ
พลังงานที่สูงลิบลิ่ว จึงต้องคิดให้ดีก่อนทาน เพราะหากทานมากเกินไปก็อ้วนได้เหมือนกัน
2.2.1 ปัจจัยเลือกในกำรเลือกกรำโนล่ำ (Granola) ให้สุขภำพดี
โดยปกติกลาโนล่าจะมีส่วนประกอบที่เป็นธัญพืช และ ถั่ว โดยเฉพาะข้าวโอ๊ต ซึ่งให้
คุณค่าทางอาหารที่ยอดเยี่ยม โดยเฉพาะเส้นใย และธาตุเหล็ก ในขณะที่ถั่วต่าง ๆ รวมไปถึง
เมล็ดพืชมีสรรพคุณช่วยในการบารุงหัวใจเพราะมีสาประกอบประเภทไขมันไม่อิ่มตัว ที่จาเป็น
ต่อร่างกายรวมทั้งโปรตีนถั่วอยู่เต็ม ๆ
แต่นอกจากข้อดีต่าง ๆ เหล่านี้แล้ว สิ่งที่คุณอาจไม่ค่อยจะนึกถึง คือ กราโนล่า
อาจจะเป็นอาหารที่ให้พลังงานสูง และที่สาคัญอาจจะมีน้าตาลที่มากับความหวานที่ซุกซ่อน
ไว้ ดังนั้น จึงควรจะดูส่วนประกอบ เรื่องปริมาณของน้าตาล และ ส่วนประกอบอื่น ๆ ก่อน
ตัดสินใจทาน
13
ปัจจัยเลือกในการเลือก กราโนล่า (Granola) มีดังนี้
1) น้ำตำล
ดูปริมาณน้าตาล กราโนล่าอาจมีปริมาณน้าตาลอยู่ไม่น้อย แต่แทนที่ฉลากของขวด
จะเขียนปริมาณน้าตาลฟรุกโตส หรือน้าเชื่อมที่สกัดจากข้าวโพด มันอาจจะถูกเขียนอยู่ในชื่อ
อื่น ๆ เช่นคาว่า น้าอ้อยสกัด น้าเชื่อมจากข้าวกล้อง น้าเชื่อมจากข้าวโอ๊ต ทั้งหลายทั้งปวงนี้
คือน้าตาลทั้งนั้น
2) ปริมำณแคลอรี่ ต่อ 1 ครั้ง
อย่าลืมตรวจสอบปริมาณพลังงานที่ได้รับในแต่ครั้ง นักโภชนาการแนะนาปริมาณที่
เหมาะสมคือ ควรจะให้พลังงานประมาณ 200 กิโลแคลอรี่ ในการทาน 1 ครั้ง
3) ทำนกับอะไรถึงจะดี
ควรทานกราโนล่า ให้มันเป็นส่วนประกอบของอาหารจานหลัก อื่น ๆ เช่น ทานคู่
กับ ในโยเกิร์ตรสธรรมชาติ หรือ นมสด นมถั่วเหลือง หรือ อื่น ๆ ที่หมุนเวียนกันไป ไม่ควร
ทานซ้า ๆ เพราะเพื่อร่างกายจะได้สารอาหารที่ครบถ้วน
4) ดูส่วนประกอบ น้ำมันที่ใช้
ในกราโนล่าจะมีไขมันต่าง ๆ ที่ถูกผสมรวมในการผลิต ทั้งน้ามันปาล์ม และไขมัน
อิ่มตัวชนิดต่าง ๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับ บริษัทผู้ผลิตดังนั้นจึงควรเลือกผลิตภัณฑ์ที่ตั้งใจในการเลือก
ส่วนผสม เช่น น้ามันจากน้ามันมะพร้าวสกัด หรือน้ามันมะกอก
5) ดูที่มำของแหล่งวัตถุดิบ
อาจจะพูดยาก เนื่องจากกราโนล่า เป็นส่วนผสมของหลาย ๆ สิ่งรวมกัน ที่มาจาก
หลายแหล่งผลิต แต่อย่างน้อย หากเราสามารถอ่านได้จากข้างฉลากก็จะดีไม่น้อย อย่างบาง
รายที่เป็นสินค้านาเข้า จะมีมาตรฐาน USDA ที่หมายถึงใช้วัตถุดิบที่มาจากฟาร์มเกษตร
อินทรีย์ ที่มีการตรวจพื้นที่เป็นระยะ ๆ
2.2.2 ประโยชน์ของกรำโนล่ำมีอะไรบ้ำง
1. ช่วยป้องกันอาการท้องผูกและริดสีดวงทวาร ทาให้สามารถขับถ่ายได้ง่ายขึ้นมาก
เนื่องจากในกราโนล่าเหล่านี้อุดมไปด้วยไฟเบอร์หรือกากใยอาหารที่สูงมาก ๆ
2. ช่วยป้องกันการอุดตันของไขมันในหลอดเลือด ลดปริมาณไขมันที่เกาะอยู่ตาม
ผนังหลอดเลือด ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
3. ช่วยบารุงสมองและระบบประสาทให้ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมี
ความจาดี เพราะมีวิตามินบีรวมที่ช่วยบารุงในเรื่องของระบบประสาทโดยตรงนั่นเอง
4. ช่วยทาให้ระบบการไหลเวียนของเลือดภายในร่างกายไหลเวียนได้สะดวกขึ้น
เรียกว่าเลือดลมดี
14
5. ช่วยให้อิ่มท้องนาน ไม่หิวเร็ว เนื่องจากมีคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อนอยู่ ประกอบกับมี
กากใยอาหารมาก และเมื่อไม่หิวเร็วก็ไม่ทาให้เราอยากอาหารหรือกินของจุบจิบระหว่างวัน
ซึ่งเป็นสาเหตุของความอ้วนนั่นเอง
6. ช่วยทาให้รู้สึกกระปรี้กระเปร่า สดชื่น มีแรงในการเรียน ทางาน หรือกิจกรรมได้
อย่างต่อเนื่อง
7. ช่วยป้องกันการเกิดโรคขาดสารอาหารหรือวิตามินบางอย่าง ทาให้ไม่เกิดโรค
ปากนกกระจอก หรือโรคเหน็บชา เป็นต้น
ภาพที่ 2.11 แสดงตัวอย่าง กราโนล่า
2.2.3 วิธีทำกรำโนล่ำ หรือ ซีเรียลบำร์
ส่วนผสม (สาหรับ 8 แท่ง)
1. น้าผึ้ง ½ ถ้วยตวง
2. เนยถั่ว ½ ถ้วยตวง
3. ซีเรียลข้าวโอ๊ต 3 ถ้วยตวง
4. โยเกิร์ตชิป 1 ถ้วยตวง (ให้เหลือไว้ ½ ถ้วยตวง สาหรับทาละลาย)
5. อัลมอนด์สับ ½ ถ้วยตวง
6. แครนเบอร์รี่อบแห้ง 1 ถ้วยตวง
7. น้ามันมะพร้าว 1 ช้อนชา
15
ภาพที่ 2.12 แสดงตัวอย่าง ส่วนผสมบางส่วนของซีเรียลบาร์
ขั้นตอนการทา
1. ผสมน้าผึ้งและพีนัทบัตเตอร์ (เนยถั่ว) ให้เข้ากัน
ภาพที่ 2.13 แสดงตัวอย่าง การทาซีเรียลบาร์ขั้นตอนที่ 1
16
2. ให้ใช้อีกชามเราจะผสมซีเรียลข้าวโอ๊ต โยเกิร์ตชิปแค่ ½ ถ้วยตวง อัลมอนด์สับ
และแครนเบอร์รี่อบแห้ง และคนให้เข้ากัน
ภาพที่ 2.14 แสดงตัวอย่าง การทาซีเรียลบาร์ขั้นตอนที่ 2
3. นาส่วนผสมทั้งสองชามมาคนให้เข้ากัน จะทาให้หนืด ๆ
ภาพที่ 2.15 แสดงตัวอย่าง การทาซีเรียลบาร์ขั้นตอนที่ 3
17
4. นากระดาษไขมารองถาดพิมพ์แล้วก็นาซีเรียลมาใส่ในถาดพิมพ์สี่เหลี่ยม จากนั้น
ใช้มือหรือช้อนกดให้แน่นแล้วนาไปแช่แข็งประมาณ 30 นาที
ภาพที่ 2.16 แสดงตัวอย่าง การทาซีเรียลบาร์ขั้นตอนที่ 4
5. ต่อไปนาโยเกิร์ตชิปไปละลายในไมโครเวฟโดยเติมน้ามันมะพร้าวไปด้วย 1 ช้อน
ชา จากนั้นนาซีเรียลที่แช่เย็นจนเซตตัวแล้วก็นามาหั่นเป็นแท่งสี่เหลี่ยมและนาไปจุ่มโยเกิร์ต
ชิปที่ละลายแล้ว
ภาพที่ 2.17 แสดงตัวอย่าง การทาซีเรียลบาร์ขั้นตอนที่ 5
18
6. ห่อซีเรียลบาร์ด้วยกระดาษเพื่อสะดวกต่อการนามาทาน แล้วนาไปเก็บไว้ในตู้เย็น
ภาพที่ 2.18 แสดงตัวอย่าง การทาซีเรียลบาร์ขั้นตอนที่ 6
2.3 ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชำเศรษฐศำสตร์
วิชาเศรษฐศาสตร์มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า “economic” ซึ่งมีรากศัพท์มาจาก
ภาษากรีก ว่า “oikonomikos” แปลว่า การบริหารจัดการของครัวเรือน ดังนั้น วิชา
เศรษฐศาสตร์จึงมีต้นกาเนิดมาจากการศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการกิจกรรมของ
ครัวเรือน
ในชีวิตประจาวันทุก ๆ คนมีเรื่องที่จะต้องตัดสินใจในการใช้จ่ายสิ่งต่าง ๆ อยู่
ตลอดเวลา จึงมีปัจจัยหลายประการที่เข้ามามีบทบาทเกี่ยวข้องในการตัดสินใจ เช่น ราคา
ของสินค้า เงินที่มีอยู่ รสนิยมและความพึงพอใจ เป็นต้น แม้ในระดับครอบครัวและ
ระดับประเทศ การตัดสินใจในการใช้จ่ายจะต้องคานึงถึงรายได้รวมว่าเป็นอย่างไร และมี
กาลังในการใช้จ่ายมากน้อยเพียงใด
ในด้านการบริหารรายรับ และรายจ่ายนี้ รวมเรียกว่า “การบริหารงบประมาณ” ซึ่ง
วิชาเศรษฐศาสตร์จะว่าด้วยการศึกษาถึงปัญหาและวิธีการบริหารงบประมาณของประชาชน
ทั้งในระดับบุคคล ระดับครอบครัวและระดับประเทศ ทั้งนี้เพื่อให้การใช้จ่ายและการดาเนิน
กิจกรรมต่าง ๆ เป็นไปอย่างประหยัดและสอดคล้องกับเป้าหมายที่กาหนดไว้อย่างดีที่สุด
ดังนั้น วิชาเศรษฐศาสตร์จึงศึกษาถึงวิธีการจะตอบสนองความต้องการที่ไม่สิ้นสุดของมนุษย์
ด้วยทรัพยากรอันมีอยู่อย่างจากัด ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
19
ความเป็นมาของวิชาเศรษฐศาสตร์
วิชาเศรษฐศาสตร์มีที่มาจากเหตุผล 2 ประการ คือ
1. ทรัพยากรมีจากัด คือ สิ่งที่จะนามาผลิตสินค้าและบริการเพื่อจาหน่าย
จ่ายแจกให้กับผู้บริโภค ซึ่งรวมทั้งทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรมนุษย์และทรัพยากรที่เป็น
ทุน เช่น เครื่องจักร เทคนิคการผลิต เงินทุน เป็นต้น
2. ความต้องการที่มีไม่จากัด คือ ความต้องการมนุษย์ที่จะกิน ใช้ทรัพยากร
เพื่อสนองความต้องการของตนนั้นมีไม่จากัด
2.3.1 ควำมสำคัญของวิชำเศรษฐศำสตร์
วิชาเศรษฐศาสตร์มีความสาคัญดังนี้
1. เศรษฐศาสตร์จะช่วยให้การจัดสรรทรัพยากรมีประสิทธิภาพสูงสุดและ
ยุติธรรม เพื่อสนองความต้องการของสังคมส่วนรวม
2. เศรษฐศาสตร์เป็นเครื่องมือหรือวิธีการที่จะช่วยให้เข้าใจเหตุการณ์และ
ปัญหาเศรษฐกิจในชีวิตประจาวัน รวมทั้งการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจด้วย
3. เศรษฐศาสตร์จะให้ความรู้พื้นฐานอันเป็นประโยชน์ในการประกอบ
อาชีพสาขาต่าง ๆ
4. เศรษฐศาสตร์ช่วยให้ประชากรของประเทศเป็นคนมีคุณภาพ รู้จัก
การผลิตและการบริโภค และมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งจะช่วยในการพัฒนา
ประเทศ
2.3.2 ประเภทของวิชำเศรษฐศำสตร์
ในการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ สามารถจาแนกขอบเขตได้เป็น 2 แขนงวิชา คือ
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics) และเศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics)
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics) เป็นแขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ที่พิจารณา
ปัญหาและพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของสังคมในระดับหน่วยย่อย (Individual unit) เป็น
สาคัญ เน้นศึกษาถึงการตัดสินใจทางธุรกิจของหน่วยผลิต หน่วยใดหน่วยหนึ่ง หรือ
อุตสาหกรรมใดอุตสาหกรรมหนึ่ง หรือศึกษาถึงพฤติกรรมของครัวเรือน หนึ่ง ๆ ในฐานะที่
เป็นผู้บริโภค ถึงแม้ว่าวิชาเศรษฐศาสตร์จุลภาคจะพิจารณาปัญหาจากจุดเล็กๆหรือส่วนย่อย
ก็ตาม แต่วิชานี้ก็มิได้ศึกษาเฉพาะปัญหาเล็ก ๆ ตามที่เข้าใจกันทั่วไป ในทางตรงกันข้ามวิชา
เศรษฐศาสตร์จุลภาคจะให้ความสนใจต่อปัญหาที่ใหญ่และจัดเป็นปัญหาสาคัญ ๆ ในระบบ
เศรษฐกิจ โดยเน้นการพิจารณาเกี่ยวกับพฤติกรรมในการตัดสินเลือกของหน่วยเศรษฐกิจ ซึ่ง
ถือเป็นการศึกษาในระดับพื้นฐาน เพื่อนาความรู้นี้ไปประกอบการพิจารณาปัญหาอื่น ๆ
ในทางเศรษฐศาสตร์ ดังนั้นจึงสรุปว่าเศรษฐศาสตร์จุลภาค มุ่งศึกษาเรื่องต่อไปนี้คือ
20
1. ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในด้านความพอใจ ความชอบของบุคคลที่มีต่อสินค้า
และบริการ การเลือก การบริโภค เป็นต้น
2. ศึกษาพฤติกรรมของผู้ผลิตในด้านการตั้งราคา การคิดต้นทุนการผลิต การ
จาหน่าย แจกจ่ายสินค้าและบริการ กลไกราคาและการใช้ระบบราคาเพื่อจัดสรรสินค้า
บริการ และทรัพยากรอื่น ๆ โดยทั่วไป เนื้อหาหลักของวิชาเศรษฐศาสตร์จะมุ่งศึกษาในเรื่อง
ของการจัดสรรทรัพยากร ที่ขาดแคลน ซึ่งเป็นหัวใจและขอบเขตหลักของวิชาเศรษฐศาสตร์
แต่วิชาเศรษฐศาสตร์จุลภาค มุ่งศึกษาด้านพฤติกรรมของตลาดและกลไกราคา (price
mechanism) ซึ่งเป็นการศึกษาในประเด็นย่อย ๆ ควบคู่กันไป บางครั้งจึงนิยมเรียกทฤษฎี
เศรษฐศาสตร์จุลภาคว่า ทฤษฎีราคา (Price Theory)
เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics) เป็นแขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ที่พิจารณา
ปัญหาและพฤติกรรมทางเศรษฐกิจในระดับส่วนรวมหรือระดับประเทศ เช่น ศึกษาถึง
ภาวการณ์ผลิตและราคาสินค้าโดยรวมของประเทศ ภาวการณ์ว่างงานและความผันผวนต่าง
ๆ ที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจ รวมทั้งนโยบายหรือมาตรการที่สามารถนามาใช้เพื่อแก้ไข
ปัญหาของเศรษฐกิจส่วนรวมได้ เนื้อหาหลักของวิชาเศรษฐศาสตร์มหภาค จึงมุ่งศึกษาในเรื่อง
ของเศรษฐกิจส่วนรวม เช่น ภาวการณ์ผลิตของประเทศ ภาวการณ์ว่าจ้างแรงงาน ภาวะค่า
ครองชีพ รายได้รวมของประเทศ วัฎจักรธุรกิจ (business cycles) และความผันผวนของ
ราคาสินค้าทั่วๆไป เป็นต้น ประเด็นเหล่านี้ บางครั้งเรียกทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มหภาคว่า
ทฤษฎีรายได้ประชาชาติ (National Income Theory) เพราะเป็นสาขาที่มุ่งเน้นในเรื่อง
ภาวะรายได้รวมของประชาชนทั้งประเทศ
ในปัจจุบันนี้ นักวิชาการนิยมศึกษาเศรษฐศาสตร์จุลภาคและมหภาคควบคู่กันไปจะ
เห็นได้ว่า มีการนาผลการวิเคราะห์ทางด้านเศรษฐศาสตร์จุลภาคมาประยุกต์ใช้ทฤษฎี
เศรษฐศาสตร์มหภาคมากขึ้น เพราะระบบเศรษฐกิจส่วนรวม ย่อมมีองค์ประกอบที่เป็น
เศรษฐกิจหน่วยย่อย ๆ ร่วมกัน ดังนั้น การศึกษาปัญหาทางด้านเศรษฐกิจของสังคมหนึ่ง ๆ
จึงจาเป็นต้องพิจารณาทั้งระบบเศรษฐกิจที่เป็นส่วนรวม และพฤติกรรมของแต่ละบุคคลหรือ
แต่ละหน่วยผลิตซึ่งเป็นเศรษฐกิจหน่วยย่อย ๆ เพราะเศรษฐกิจหน่วยย่อยนี้ก็มีอิทธิพลอย่าง
สาคัญต่อพฤติกรรมและความเป็นไปของเศรษฐกิจในระดับประเทศหรือระดับส่วนรวมของ
สังคม
21
2.3.3 ประโยชน์ในกำรศึกษำวิชำเศรษฐศำสตร์
ในฐานะผู้บริโภค
1. รู้จักใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดในการบริโภคและใช้ในทางที่
ก่อให้เกิดประโยชน์หรือความพอใจสูงสุดแก่ตน
2. สามารถจาแนกชนิดของสินค้าหรือบริการที่มีประโยชน์ และสามารถใช้
บาบัดความต้องการของตนเองและคนในครอบครัวได้ด้วยราคาที่ประหยัดที่สุด
3. สามารถประมาณการค่าใช้จ่ายและการกาหนดแผนการบริโภค การออม
ได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถคาดคะเนสถานการณ์ทางเศรษฐกิจได้อย่างมีเหตุผล
ในฐานะผู้ผลิตและเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต
1. ช่วยให้เกิดความสานึกในคุณค่าของทรัพยากรว่าควรใช้ให้เป็นประโยชน์
หรือให้ได้ผลตอบแทนสูงสุด
2. ช่วยให้สามารถจัดสรรหรือแจกจ่ายสินค้าและบริการที่ผลิตได้นั้นไปยังผู้
ที่สมควรได้รับมากที่สุดและตรงตามความต้องการของบุคคลเหล่านั้น
3. ช่วยให้คาดคะเนความต้องการในวัตถุดิบและปัจจัยการผลิตอื่น ๆ ได้
ถูกต้อง สามารถคาดคะเนความต้องการของผู้บริโภคในสินค้าที่ตนผลิตด้วย
4. ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่ายหรือลดต้นทุนการผลิต ทาให้การดาเนินธุรกิจ
ของตนเป็นไปด้วยดี
ในฐานะผู้กาหนดนโยบายเศรษฐกิจ (ผู้บริหาร) ของประเทศ
1. สามารถเข้าใจปัญหาด้านต่าง ๆ ทางเศรษฐกิจ
2. สามารถจัดลาดับความสาคัญโครงการ ตามความจาเป็นและความ
ต้องการประชาชนและประเทศชาติ
3. จัดสรรทรัพยากรเพื่อให้บริการแก่ทุก ๆ ฝ่ายอย่างทั่วถึงเท่าที่สามารถ
จะทาได้
4. สามารถวางนโยบายทางเศรษฐกิจ เพื่อความมั่งคั่งและความมั่นคงของ
ประเทศได้
22
2.4 ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปแกรม Sony Vegas
โปรแกรม Sony Vegas เป็นหนึ่งในชุดโปรแกรมตัดต่อวีดีทัศน์ ที่ผลิตโดยบริษัทโซนี่
ซึ่งอานวยความสะดวกให้ผู้ใช้สามารถตัดต่อวีดีทัศน์ได้อย่างง่ายดาย และผลงานที่ได้ก็มีความ
สวยงาม ไม่แพ้นักตัดต่อมืออาชีพ ข้อมูลล่าสุดจากเว็บไซต์ของ Sony มีผลิตภัณฑ์ที่ใช้ตัดต่อวี
ดีทัศน์ในตระกูล Vegas ดังนี้
ภาพที่ 2.19 แสดงผลิตภัณฑ์ที่ใช้ตัดต่อวีดีทัศน์ในตระกูล Vegas
ทั้ง 5 โปรแกรมเป็นโปรแกรมตัดต่อที่มีคุณสมบัติเฉพาะที่แตกต่างกันออกไป แต่
ทั้งหมดล้วนมีหลักในการพื้นฐานที่คล้ายกัน ดังนั้น ไม่ว่าจะใช้โปรแกรมใด รุ่นใด ก็สามารถ
ศึกษาตามเอกสารฉบับนี้ได้เช่นเดียวกัน ซึ่งสามารถไปดาวน์โหลดโปรแกรมรุ่นทดลองใช้ได้
ฟรีจากเว็บไซต์ของโซนี่ได้ที่ http://www.sonycreativesoftware.com/
23
2.4.1 ส่วนประกอบของโปรแกรม
โปรแกรม Vegas Pro มีส่วนประกอบที่สาคัญดังนี้
1. Track เป็นส่วนแสดง Track ของ Video, Audio
และ Bus Track ใช้ในการจัดการควบคุม Track ภาพและเสียง
จัดเรียงลาดับของ Track ต่างๆ ควบคุมการความดังของเสียง
เปิดปิดเสียง เป็นต้น
ภาพที่ 2.20 แสดงตัวอย่าง Track
2.Timeline เป็นส่วนการ
ทางานหลักของโปรแกรม ซึ่งเราจะทา
การตัดต่อวีดีโอกันที่ Timeline โดยใน
แนวนอน จะหมายถึงช่วงเวลา และ
แนวตั้งจะหมายถึงลาดับชั้นของ Track
ภาพที่ 2.21 แสดงตัวอย่าง Timeline
3.Transport Toolbar เป็นส่วนควบคุมการเล่นวีดีโอบน Timeline หลักการ
ทางานก็จะคล้ายกับเครื่องเล่นซีดีทั่วไป โดยเมื่อคลิกจะแสดงผลที่ส่วน Preview
ภาพที่ 2.22 แสดงตัวอย่าง Transport Toolbar
4. Time Display เป็นส่วนแสดงเวลา โดยจะยึดเอาตาแหน่งของ Curser
ที่อยู่บน Timeline เป็นสาคัญ โดยแสดงเวลาในรูปแบบ
ของ HH:MM:SS;FF นั่นคือ ชั่วโมง นาที วินาที
ส่วน FF นั้นจะหมายถึง จานวนเฟรมในแต่ละวินาที
5.Status Bar ถือเป็นส่วนหนึ่งของ Timeline ประกอบด้วย 3 ช่อง ได้แก่ เวลา
เริ่มต้น เวลาสิ้นสุด และเวลาทั้งหมด โดยอ้างอิง Curser ที่อยู่บน Timeline เป็นสาคัญ
ภาพที่ 2.23 แสดงตัวอย่าง Time Display
ภาพที่ 2.24 แสดงตัวอย่าง Status Bar
24
6.Explorer เป็นส่วนที่ช่วยอานวยความสะดวกให้
สามารถเรียกดูไฟล์ต่างๆ บนเครื่องได้อย่างรวดเร็ว
โดยสามารถคลิกและลาก Video Image หรือ Audio
มาวางเรียงกันบน Timeline ได้อย่างรวดเร็ว
7. Trimmer เป็นอีกทางเลือก
ในการตัดต่อวีดีทัศน์โดย
สามารถเลือกเพียงบางส่วน
ของ Video หรือสื่อใดๆ มาใส่
ในงานของเราได้
8. Audio Control เป็นส่วนควบคุมเสียงของวีดีทัศน์ โดยส่วนนี้จะหมายถึง
เสียงของชิ้นงานโดยรวมทั้งหมด จากจุดนี้สามารถตั้งคุณสมบัติของ Audio
ของงานได้
9. Video Preview เป็นส่วนแสดง
Video โดยจะผนวกเอาทั้งตัวหนังสือ
effect หรือ Transition ใดๆ ให้ได้ชม
ก่อน โดยไม่จาเป็นต้อง Render
ออกมา
ภาพที่ 2.25 แสดงตัวอย่าง Explorer
ภาพที่ 2.26 แสดงตัวอย่าง Trimmer
ภาพที่ 2.27 แสดงตัวอย่าง Audio Control
ภาพที่ 2.28 แสดงตัวอย่าง Video Preview
25
10. Project Media เป็นส่วนแสดงไฟล์ที่เกี่ยวข้องกับการตัดต่อวีดีทัศน์
ของเราทั้งหมด ทั้งไฟล์เสียง ภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่ง ตัวหนังสือ
จากจุดนี้สามารถคลิกปุ่ม import เพื่อนาเข้าไฟล์ต่างๆ เหล่านั้นได้ทันที
หากส่วนประกอบใดที่ไม่ปรากฏบนเจอ สามารถเรียกได้จากเมนู View
และยังสามารถปรับเลื่อนตาแหน่งได้ตามความต้องการ
และความถนัดของแต่ละบุคคล
2.4.2 ควำมสำคัญของ Title
จะเห็นได้ว่าสิ่งที่ขาดไม่ได้สาหรับภาพยนตร์ทุกเรื่องก็คือ Title ซึ่งจะเป็น
ตัวบอกถึงที่มาของภาพยนตร์ที่กาลังจะได้รับชม ประกอบด้วย ชื่อผู้สร้างหรือผู้ผลิต ชื่อเรื่อง
ชื่อผู้แสดง และทีมงาน แต่บางที Title อาจเป็นเพียงข้อความสั้นๆ เพื่ออธิบายถึงสิ่งที่กาลัง
จะได้รับชม ก็เป็นได้
กำรสร้ำง Title
การสร้าง Title ในโปรแกรม Vegas Pro นั้น สามารถทาได้ 2 วิธี ได้แก่
1. คลิกที่เมนู Insert แล้วเลือกคาสั่ง Text Media
2. คลิกขวาที่ Video track แล้วเลือกคาสั่ง Text Media
ภาพที่ 2.30 แสดงตัวอย่าง การสร้าง Title
จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง Video Media Generator สาหรับสร้าง Text ซึ่ง
ประกอบด้วย Tab ซึ่งรวบรวมคาสั่งที่เกี่ยวข้องกับการสร้าง Text ไว้ ดังนี้
ภาพที่ 2.29 แสดงตัวอย่าง Project Media
26
1. Edit เป็น Tab สาหรับกาหนดข้อความ แบบอักษร ขนาด
การจัดวางตาแหน่ง โดยเราสามารถพิมพ์ข้อความที่
ต้องการลงไปได้
2. Placement เป็น Tab ที่ใช้
จัดตาแหน่งของข้อความบนจอ
โดยสามารถใช้เมาส์ลากวัตถุไป
วางบนตาแหน่งต่างๆ ได้ด้วย
ตนเอง หรือจะเลือกจากคาสั่ง
Text Placement ก็ได้
เช่นเดียวกัน นอกจากนี้ยังมี
การกาหนด Safe Zone เพื่อ
ป้องกันภาพหลุดขอบจอ โดยมี
ค่าให้เลือกตั้งแต่ 0 – 30 %
4. Properties เป็น Tab ที่ใช้กาหนดค่าสีของตัวหนังสือ และ
สีของพื้นหลังซึ่งสามารถปรับเลือกได้ทั้งค่าสี และค่าความโปร่งใส
นอกจากนี้ยังมีคาสั่งที่น่าสนใจอีกได้แก่
Tracking ใช้กาหนดระยะห่างระหว่างตัวอักษร
Scaling ใช้กาหนดขนาดของตัวอักษร
Leading ใช้กาหนดความสูงของบรรทัด
ภาพที่ 2.32 แสดงตัวอย่าง ส่วนของ Placement
ภาพที่ 2.33 แสดงตัวอย่าง ส่วนของ Properties
ภาพที่ 2.31 แสดงตัวอย่าง ส่วนของ Edit
Effect เป็น Tab ที่ใช้กาหนดคุณสมบัติ
พิเศษของข้อความ ประกอบด้วย Outline,
Shadow และ Deformation ซึ่งสามารถ
ปรับแต่งได้
ภาพที่ 2.34 แสดงตัวอย่าง ส่วนของ Effect
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"
โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"

More Related Content

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"

2557 project คอม
2557 project คอม2557 project คอม
2557 project คอมIRainy Cx'cx
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
AjBenny Pong
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์oraya502
 
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถามตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
pingkung
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์piyaphon502
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์Chuthamani Phromduangdi
 
สอบก่อนเรียน
สอบก่อนเรียนสอบก่อนเรียน
สอบก่อนเรียน
เบญญาภา ตนกลาย
 
Multimedia and design_plan_1
Multimedia and design_plan_1Multimedia and design_plan_1
Multimedia and design_plan_1
SakaeoPlan
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ N
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ Nการเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ N
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ Nfeirockjock
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์" (10)

รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
2557 project คอม
2557 project คอม2557 project คอม
2557 project คอม
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถามตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
สอบก่อนเรียน
สอบก่อนเรียนสอบก่อนเรียน
สอบก่อนเรียน
 
Multimedia and design_plan_1
Multimedia and design_plan_1Multimedia and design_plan_1
Multimedia and design_plan_1
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ N
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ Nการเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ N
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ N
 

Recently uploaded

Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdfMeaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
George638435
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 

Recently uploaded (10)

Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdfMeaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 

โครงงานคอมพิวเตอร์ "กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์"

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ ประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อโครงงาน กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์ คณะผู้จัดทา 1.นาย ไกรววิชญ์ เลิศนิพรกุล ชั้น 5/7 เลขที่21 2.นาย วัฒนพงษ์ มนัสศุภรานันท์ ชั้น 5/7 เลขที่ 35 3.นาย ธิติภัทร ดีเสมอ ชั้น 5/7 เลขที่36 4.นาย ศิวกร จันทร์คา ชั้น 5/7 เลขที่40 5.นาย นพดล พานทอง ชั้น 5/7 เลขที่45 ครูที่ปรึกษาโครงงาน 1. นายศราวุฒิ ญาณะคา 2. นางสาววนัชนันท์ เอกธนากุล 3. นายสมหวัง ชัยตามล ที่ปรึกษาพิเศษ นางกิตติภา ดาวัลย์ โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา โครงงานคอมพิวเตอร์ 2 ง32252 ภาคเรียนที่ 2 ประจาปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเทพศิรินทร์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
  • 2. ก ชื่อโครงงาน : กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์ ชื่อผู้พัฒนา : นาย ไกรววิชญ์ เลิศนิพรกุล นาย วัฒนพงษ์ มนัสศุภรานันท์ นาย ธิติภัทร ดีเสมอ นาย ศิวกร จันทร์คา นาย นพดล พานทอง รายวิชา : โครงงานคอมพิวเตอร์ 2 ปีการศึกษา : 2560 ที่ปรึกษา : นายศราวุฒิ ญาณะคา นางสาววนัชนันท์ เอกธนากุล นายสมหวัง ชัยตามล นางกิตติภา ดาวัลย์ บทคัดย่อ กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์ นั้นเริ่มต้นมาจาก โครงงานบูรณาการเรื่อง สาคูบาร์ ของกลุ่มคณะผู้จัดทา โดยมีจุดมุ่งหมายแต่เดิมเพื่อศึกษาค้นคว้า เรื่อง สาคู และมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อศึกษา ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสาคู 2. เพื่อศึกษาความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ 3. เพื่อแปรรูปแป้งสาคูให้เป็นผลิตภัณฑ์ ซีเรียลบาร์ และ 4. เพื่อคานวณต้นทุนการผลิต เทียบกับซีเรียลบาร์ที่ขายทั่วไปในร้านสะดวกซื้อ แล้วต่อมาคณะ ผู้จัดทาได้ต้องการบูรณาการโครงงานนี้เข้ากับโครงงานคอมพิวเตอร์ จึงได้ตัดสินใจทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์หลักๆคือ 1.เพื่อศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปแกรม Sony Vegas 2.เพื่อสร้างวีดิทัศน์เรื่อง กว่าจะเป็นสาคูบาร์ โดยได้ใช้โปแกรม Sony Vegas ในการตัดต่อ โดยผลที่ได้รับคือ คณะ ผู้จัดทาสามารถสร้างวีดิทัศน์เรื่อง กว่าจะเป็นสาคูบาร์ได้สาเร็จ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย: 1. โปแกรม Sony Vegas 2. เอกสารข้อมูลการใช้ Sony Vegas เบื้องต้น คณะผู้จัดทา
  • 3. ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์ สาเร็จลุล่วงไปด้วยความกรุณาอย่างยิ่งของ นายสมหวัง ชัยตามล ผู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม นายศราวุฒิ ญาณะคา และนางสาววนัชนันท์ เอกธนากุล คุณครูประจาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/7 และนางกิตติภา ดาวัลย์ ผู้สอนในกลุ่ม สาระการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ และนายสุริยัน ตุมารัมย์ หัวหน้าระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้อุทิศเวลาในการดูแล ให้คาแนะนา และให้ข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ ในการจัดทาโครงงานมาโดยตลอด ขอขอบคุณนางจีราภรณ์ สังข์ผุด นายโชคชัย หมั่นถนอม และนายอนุสรณ์ นิลโพธิ์ วิทยากรจากศูนย์การ เรียนรู้สาคู และภูมิปัญญาจากสาคู คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ที่ ได้สละเวลาอันมีค่ามาให้ความรู้เกี่ยวกับต้นสาคู สาธิตการเก็บแป้งจากต้นสาคู รวมถึงการนาไปใช้ประโยชน์ใน ลักษณะต่าง ๆ ขอขอบคุณเครือข่ายผู้ปกครองชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/7 ที่สนับสนุนทั้งกาลังทรัพย์ แรงกาย และให้กาลังใจ ในการจัดทาโครงงานเสมอมา คณะผู้จัดทา ขอกราบขอบพระคุณอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทา
  • 4. ค สารบัญ หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญภาพ จ บทที่ 1 บทนา 1 1.1 ความสาคัญและความเป็นมาของโครงงาน 1 1.2 วัตถุประสงค์ 2 1.3 แนวคิด/สมมติฐาน 2 1.4 นิยามศัพท์ 2 1.5 ขอบเขตการศึกษา 3 1.6 วิธีการดาเนินการ 3 1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3 บทที่ 2 เอกสารและหลักการที่เกี่ยวข้อง 4 2.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสาคู 4 2.2 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ กราโนล่า หรือ ซีเรียล 12 2.3 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ 18 2.4 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Sony Vegas 22 บทที่ 3 การดาเนินการศึกษา 36 3.1 ศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสาคู และ ซีเรียล 36 3.2 จัดเตรียมอุปกรณ์และส่วนผสมที่ใช้ในการทา สาคูบาร์ 36 3.3 เริ่มต้นทา สาคูบาร์ 37 3.4 เริ่มต้นทา วีดีทัศน์เรื่อง กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์ 46 3.5 สรุปผลการจัดทาโครงงาน 49 3.6 นาเสนอครูประจาวิชาเพื่อปรับปรุงแก้ไข 49 3.7 ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ 49 3.8 จัดทารายงานโครงงานฉบับสมบูรณ์ 49 3.9 นาเสนอโครงงาน 49 บทที่ 4 ผลการศึกษา 50 4.1 ได้รู้เกี่ยวกับแป้งสาคูว่าผลิตจากต้นปาล์มสาคูและการผลิตสาคู 50 4.2 ได้รู้ว่าเศรษฐศาสตร์ในวิชาสังคมศึกษาที่ว่าด้วยการบริหารทรัพยากร 50 ที่มีอยู่อย่างจากัด นาไปใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด 4.3 ได้ผลิตภัณฑ์สาคูบาร์ 51 4.4 การคานวณต้นทุนในสาคูบาร์ 1 ชิ้น 51 4.5ได้วีดีทัศน์ กว่าจะมาเป็นสาคูบาร์ 52 บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ 53 5.1 สรุปผลการศึกษา 53
  • 5. ง สารบัญ (ต่อ) หน้า 5.2 ประโยชน์ที่ได้รับ 56 5.3 ข้อเสนอแนะ 56 บรรณานุกรม 57 ภาคผนวก ก 58 ภาคผนวก ข 60 ประวัติผู้จัดทา 62
  • 6. จ สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า 2.1 แสดงตัวอย่างต้นสาคู 4 2.2 แสดงตัวอย่างใบสาคู 5 2.3 แสดงตัวอย่างใบสาคู 5 2.4 แสดงตัวอย่างดอกสาคู 6 2.5 แสดงตัวอย่างรูปร่างผลสาคูชนิดต่าง ๆ 7 2.6 แสดงภาพน้าขังกับต้นไม้ที่ขึ้นในป่าพรุสิรินธร 7 2.7 แสดงระบบนิเวศป่าสาคูที่ข้นในป่าพรุสิรินธร 8 2.8 แสดงการขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสาคู 9 2.9 แสดงการงอกของเมล็ดสาคูในพื้นที่ธรรมชาติ 10 2.10 แสดงตัวอย่าง กราโนล่า 12 2.11 แสดงตัวอย่าง กราโนล่า 14 2.12 แสดงตัวอย่าง ส่วนผสมบางส่วนของซีเรียลบาร์ 15 2.13 แสดงตัวอย่าง การทาซีเรียลบาร์ ขั้นตอนที่ 1 15 2.14 แสดงตัวอย่าง การทาซีเรียลบาร์ ขั้นตอนที่ 2 16 2.15 แสดงตัวอย่าง การทาซีเรียลบาร์ ขั้นตอนที่ 3 16 2.16 แสดงตัวอย่าง การทาซีเรียลบาร์ ขั้นตอนที่ 4 17 2.17 แสดงตัวอย่าง การทาซีเรียลบาร์ ขั้นตอนที่ 5 17 2.18 แสดงตัวอย่าง การทาซีเรียลบาร์ ขั้นตอนที่ 6 18 2.19 แสดงผลิตภัณฑ์ที่ใช้ตัดต่อวีดีทัศน์ในตระกูล Vegas 22 2.20 แสดงตัวอย่าง Track 23 2.21 แสดงตัวอย่าง Timeline 23 2.22 แสดงตัวอย่าง Transport Toolbar 23 2.23 แสดงตัวอย่าง Time Display 23 2.24 แสดงตัวอย่าง Status Bar 23 2.25 แสดงตัวอย่าง Explorer 24 2.26 แสดงตัวอย่าง Trimmer 24 2.27 แสดงตัวอย่าง Audio Control 24 2.28 แสดงตัวอย่าง Video Preview 24 2.29 แสดงตัวอย่าง Project Media 25 2.30 แสดงตัวอย่าง การสร้าง Title 25 2.31 แสดงตัวอย่าง ส่วนของ Edit 26 2.32 แสดงตัวอย่าง ส่วนของ Placement 26 2.33 แสดงตัวอย่าง ส่วนของ Properties 26 2.34 แสดงตัวอย่าง ส่วนของ Effect 26 2.35 แสดงตัวอย่าง Text ที่ได้ถูกเพิ่มลงไปใน Time 27
  • 7. ฉ สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ หน้า 2.36 แสดงตัวอย่าง Timeline มี Text จานวน 3 Text เรียงกันอยู่บน Video Track 27 2.37 แสดงตัวอย่าง เมื่อลาก Text มาเรียงซ้อนทับกัน 28 2.38 แสดงตัวอย่าง ไอคอน Generated Media 28 2.39 แสดงตัวอย่าง การใช้Transition 29 2.40 แสดงตัวอย่าง การแทรกภาพวิธีที่ 1 29 2.41 แสดงตัวอย่าง การแทรกภาพวิธีที่ 2 30 2.42 แสดงตัวอย่าง การแทรกภาพวิธีที่ 2 30 2.43 แสดงการเปรียบเทียบการแทรกภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหวที่มีเสียง 31 2.44 แสดงตัวอย่างการตกแต่งภาพใน Vegas 31 2.45 แสดงตัวอย่างการลบ effect ออกจากภาพ 32 2.46 แสดงตัวอย่างการลบ effect ออกจากภาพ 32 2.47 แสดงตัวอย่างการปรับแต่งเสียง 33 2.48 แสดงตัวอย่างการปรับแต่งเสียงเฉพาะบางช่วง 33 2.49 แสดงตัวอย่างการปรับแต่งเสียงเฉพาะบางช่วง 34 2.50 แสดงตัวอย่างการขั้นตอนการ Render 34 2.51 แสดงตัวอย่างการขั้นตอนการ Render 35 2.52 แสดงหน้าต่างการ Render 35 3.1 แสดงถึงวัตถุที่ใช้และอุปกรณ์ในการชั่งน้าหนัก 36 3.2 แสดงการร่อนแป้ง 37 3.3 แสดงการร่อนแป้ง 37 3.4 แสดงเม็ดแป้งที่ไม่สามารถผ่านตะแกรงได้ 37 3.5 แสดงการนาเม็ดแป้งที่ไม่สามารถผ่านตะแกรงได้ไปใส่ครกแล้วตา 37 3.6 แสดงถึงเม็ดแป้งที่ผ่านการตาแล้ว 38 3.7 แสดงถึงการชั่งแป้งสาคู 150 กรัม (น้าหนักของชาม 170 กรัม) 38 3.8 แสดงถึงการชั่งแป้งสาคูผสมกับน้าร้อน 39 3.9 แสดงภาพแป้งที่คลุกกับน้าร้อนเสร็จเรียบร้อยแล้ว 39 3.10 แสดงภาพการชั่งแป้ง 1 ก้อน น้าหนัก 50 กรัม 40 3.11 แสดงถึงภาพการทอดแป้งสาคู 40 3.12 แสดงภาพการพักแป้งหลังจากทอดเพื่อไม่ให้แป้งอมน้ามัน 41 3.13 แสดงภาพการชั่งน้าผึ้งและเนยถั่วอย่างละ 100 กรัม 41 3.14 แสดงถึงซีเรียลที่เตรียมเรียบร้อยแล้ว 42 3.15 แสดงถึงการผสมน้าผึ้ง เนยถั่ว และ ซีเรียลเข้าด้วยกัน 42 3.16 แสดงที่น้าผึ้ง เนยถั่วและซีเรียลที่เข้ากันดีแล้ว 43 3.17 แสดงถึงวิธีการให้ความร้อนแบบ double boiled 43 3.18 แสดงถึงการผสมน้ามันมะพร้าวลงในช็อคโกแลตที่กาลังให้ความร้อนอยู่ 44 3.19 แสดงถึงการวางซีเรียลลงบนแป้งสาคู 44
  • 8. ช สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ หน้า 3.20 แสดงถึงการนาช็อคโกแลตราดลงบนสาคูบาร์และการชุบสาคูบาร์ด้วยช็อคโกแลต 45 3.21 แสดงถึงการนาสาคูบาร์ไปแช่ช่องแช่แข็ง 45 3.22 แสดงหน้าตาโปแกรม Sony Vegas หลังจากเปิดขึ้นมา 46 3.23 แสดงการสร้างTitle ของวีดีทัศน์“กว่าจะเป็นสาคูบาร์” 46 3.24 แสดงการสร้างTitle ของวีดีทัศน์“กว่าจะเป็นสาคูบาร์” 47 3.25 แสดงการแทรกรูปและใส่ข้อมูลขั้นตอนการทาสาคูบาร์ 47 3.26 แสดงการ save ของ Sony Vegas เป็นไฟล์ที่สามารถแก้ไขได้ 48 3.27 แสดงหน้าต่างการ Render ไฟล์ให้ออกมาเป็นวิดีโอ 48 3.28 แสดงตัวอย่างบางส่วนของ วีดีทัศน์เรื่อง กว่าจะเป็นสาคูบาร์ 49 4.1 แสดงถึงหน้าตาของสาคูบาร์ 51 4.2 แสดงตัวอย่างบางส่วนของ วีดีทัศน์เรื่อง กว่าจะเป็นสาคูบาร์ 52 5.1 แสดงตัวอย่างบางส่วนของ วีดีทัศน์เรื่อง กว่าจะเป็นสาคูบาร์ 55
  • 9. 1 บทที่ 1 บทนำ 1.1 ควำมสำคัญและควำมเป็นมำของโครงงำน ในปัจจุบัน แป้งสาคูที่มาจากแป้งสาคูแท้ ๆ นั้นหายาก ส่วนใหญ่แป้งสาคูนิยมผลิต จากแป้งมันสาปะหลัง เนื่องจากแป้งมันสาปะหลังที่ได้จากต้นมันสาปะหลังที่ใช้ระยะเวลาใน การเจริญเติบโตไม่นาน โดยใช้เวลาเพียง 1 ปี ถึง 1.4 ปีเท่านั้น ในขณะที่ต้นปาล์มสาคูจะต้อง ใช้เวลาในการเจริญเติบโตถึง 9 ปีขึ้นไป จึงจะสามารถนาลาต้นมาใช้ผลิตแป้งได้ ผู้ผลิตจึงหัน ที่จะเลือกไปผลิตแป้งมันสาปะหลังแทน ถึงแม้ต้นปาล์มสาคู 1 ต้น จะให้ผลผลิตได้มากกว่า ต้นมันสาปะหลัง 1 ต้น แต่ถ้าเทียบถึงระยะเวลาการเจริญเติบโตนั้น ต้นมันสาปะหลังจึงชนะ ใจผู้ผลิตมากกว่า เป็นสาเหตุที่ทาให้ไม่ค่อยพบเจอแป้งสาคูจากต้นสาคูแท้ในประเทศไทย ในส่วนของต้นปาล์มสาคูที่นามาผลิตแป้งนั้นจะใช้ส่วนบริเวณตรงกลางลาต้น หรือ คือไส้ในของต้น วิธีการผลิตนั้นคือเราจะใช้วิธีขุด เจาะตรงกลางลาต้นให้เป็นเศษเล็ก ๆ นาไป แช่ในน้าสะอาด นาเศษไส้ในขึ้นจากน้า และบีบเอาน้าออก จะสังเกตได้ว่าน้าจะเปลี่ยนสี รอ ตกตะกอนและในส่วนที่ตกตะกอนก็คือ แป้งสาคู ในกรรมวิธีการผลิตแบบคร่าว ๆ ที่กล่าวไป นั้น กว่าจะมาเป็นแป้งสาคูได้ ค่อนข้างยากลาบาก เพราะต้องอาศัยปัจจัยหลาย ๆ อย่าง เช่น กว่าจะรอต้นปาล์มสาคูเจริญเติบโต กว่าจะผลิต ต้องตัดไม้เป็นท่อน ๆ การดูแล การรอแป้ง ตกตะกอน การผลิตแป้ง และอื่น ๆ อีกมากมาย ทางกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จึงหาวิธีที่จะเพิ่มมูลค่าให้กับแป้งสาคูแท้ ที่นอกจากจะเอาไปทาสาคูไส้หมู แล้วนั้น จะสามารถเอาไปทาอะไรได้อีกบ้าง โดยจะต้องเป็นสิ่งที่แปลกใหม่ ไม่เคยมีใครทามา ก่อนและอีกทั้งยังสามารถเพิ่มรายได้ให้กับผู้ที่ปฏิบัติตาม เนื้อหาที่เราเรียนนั้นเกี่ยวกับ “เศรษฐศาสตร์” ซึ่งเป็นศาสตร์หนึ่งในวิชาสังคมศึกษา ที่ว่าด้วย การบริหาร จัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดและใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทาง กลุ่มจึงคิดว่าจะต้องทาอย่างไรจึงจะสามารถนาแป้งสาคูมาเกี่ยวข้องกับหัวข้อเศรษฐศาสตร์ ได้ จากการระดมสมองจากสมาชิกทุกคนในกลุ่มนั้นเราจึงคิดว่าการเอาแป้งสาคูมาทา ขนม เป็นวิธีการที่ดีที่สุด แต่จะไม่ทาขนมแบบเดิมๆ ดังนั้น สมาชิกในกลุ่มจึงไปศึกษาค้นหา เพิ่มเติมว่าขนมชนิดใดในปัจจุบันที่คนในสังคมนิยมรับประทาน ก็พบว่าซีเรียลบาร์คืออาหาร ทางเลือกใหม่ของคนในสังคม ซีเรียล คือ อาหารชนิดหนึ่งซึ่งไปประกอบไปด้วยธัญพืชอบแห้งนานาชนิดไม่ว่าจะ เป็น ข้าวโอ๊ต ข้าวพอง ลูกเกดอบแห้งและอื่น ๆ อีกมากมายซึ่งมีประโยชน์กับร่างกาย มี คุณค่าทางโภชนาการที่เปี่ยมล้น นิยมรับประทานคู่กับนมในมื้อเช้า แต่ถ้าหากทามาใน รูปแบบของการอัดแท่ง (หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า บาร์) ก็จะมีความหวานกรอบและใช้เวลา
  • 10. 2 ทานค่อนข้างน้อย ซึ่งจะเหมาะกับคนที่ใช้ชีวิตเร่งรีบในเมือง หรือคนที่มีเวลาไม่เพียงพอใน การรับประทานอาหาร ทางกลุ่มจึงตัดสินนาแป้งสาคูไปแปรรูปที่ทาให้ทานได้ง่าย อร่อย และ เข้ากันกับซีเรียล ทางกลุ่มเลือกแป้งสาคูเป็นคาร์โบไฮเดรต เป็นฐานสาหรับรองรับซีเรียลและ ช็อกโกแลตเคลือบ เมื่อทาการแปรรูปเสร็จสิ้น ทางกลุ่มจะทาการคิดงบประมาณต้นทุนที่ใช้ผลิตต่อ 1 ชิ้นและนาไปเปรียบเทียบกับซีเรียลบาร์ยี่ห้ออื่น ๆ ที่วางขายตามร้านสะดวกซื้อ เพื่อเป็น การเพิ่มตัวเลือกให้กับผู้บริโภคในการที่จะบริโภคซีเรียลบาร์ และเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับผู้ที่ ต้องการรายได้เสริม ต้นทุนของสาคูบาร์นั้นจะขึ้นอยู่กับผู้ผลิตว่าจะต้องการใส่ธัญพืชอะไรลง ไปได้บ้าง เป็นอาหารที่สามารถกาหนดความอร่อยที่เราต้องการได้อีกด้วย ต่อมาคณะผู้จัดทาได้ต้องการบูรณาการโครงงานนี้เข้ากับโครงงานคอมพิวเตอร์ จึง ได้ตัดสินใจทาวีดีทัศน์เรื่อง กว่าจะเป็นสาคูบาร์ โดยได้ใช้โปแกรม Sony Vegas ในการตัดต่อ 1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1 เพื่อศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสาคู 1.2.2 เพื่อศึกษาความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ 1.2.3 เพื่อแปรรูปแป้งสาคูให้เป็นผลิตภัณฑ์ ซีเรียลบาร์ 1.2.4 เพื่อคานวณต้นทุนการผลิต เทียบกับซีเรียลบาร์ที่ขายทั่วไปในร้านสะดวกซื้อ 1.2.5 เพื่อศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปแกรม Sony Vegas 1.2.6 เพื่อสร้างวีดีทัศน์เรื่อง กว่าจะเป็นสาคูบาร์ 1.3 แนวคิด/สมมติฐำน 1.3.1 การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับสาคู จะทาให้สามารถแปรรูปสาคูที่มี คุณภาพได้มากยิ่งขึ้น 1.3.2 การมีความรู้ทางเศรษฐศาสตร์สามารถช่วยให้คานวณต้นทุน กาไรได้ถูกต้อง อย่างแม่นยา 1.3.3 เมื่อแปรรูปแป้งสาคูได้สาเร็จแล้ว จะสามารถทาให้มูลค่าของแป้งสาคูในด้าน การทาอาหารเพิ่มขึ้น 1.3.4 ยิ่งต้นทุนถูกเท่าใด ก็จะยิ่งทาให้ผู้ผลิตสนใจมากเท่านั้น 1.4 นิยำมศัพท์ เศรษฐศาสตร์ คือ ศาสตร์ในวิชาสังคมศึกษาที่ว่าด้วยการบริหารทรัพยากรที่มีอยู่ อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงที่สุด ซีเรียลบาร์ หมายถึง อาหารเช้าจาพวกธัญพืช กราโนลานั้นจะประกอบไปด้วย
  • 11. 3 ข้าวโอ๊ต ถั่ว น้าผึ้ง ผสมเข้าด้วยกัน อัดเป็นแท่งและอบจนกรอบ แป้งสาคู หมายถึง แป้งสาคูที่ผลิตจากต้นปาล์มสาคู สาคูบาร์ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ซีเรียลบาร์ที่แปรรูปจากสาคูสาเร็จแล้ว ต้นทุนการผลิต หมายถึง จานวนต้นทุนที่ใช้ในการผลิตสาคูบาร์ 1.5 ขอบเขตกำรศึกษำ 1.5.1 แป้งสาคูที่ใช้ในการแปรรูปผลิตภัณฑ์นั้นจะเป็นแป้งสาคูที่ทามาจากต้นปาล์ม สาคูเท่านั้น 1.5.2 โปแกรมที่ใช้ในการตัดต่อวีดีทัศน์เรื่อง กว่าจะเป็นสาคูบาร์ คือ โปแกรม Sony Vegas เท่านั้น 1.6 วิธีกำรดำเนินกำร การทาโครงงานครั้งนี้เป็นการทาโครงงานประเภทการแปรรูปให้เป็นผลิตภัณฑ์โดยมี การดาเนินงาน ดังนี้ 1.6.1 ศึกษาข้อมูลเบื้องต้น โดยการศึกษาจากเอกสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ ต้นปาล์ม สาคูในประเทศไทย แป้งสาคู ซีเรียลบาร์ และโปแกรม Sony Vegas 1.6.2 คิดค้นวิธีการแปรรูปผลิตภัณฑ์ให้กลายเป็นซีเรียลบาร์ 1.6.3 เปรียบเทียบต้นทุนระหว่างซีเรียลบาร์ในร้านสะดวกซื้อกับซีเรียลบาร์ที่ทาจาก แป้งสาคู 1.6.4 นาผลที่ได้จากการแปรรูปและการเปรียบเทียบกันมาวิเคราะห์ และสรุปผล 1.6.5 จัดทาวีดีทัศน์เรื่อง กว่าจะเป็นสาคูบาร์ 1.6.6 ทาผลงานเสนอครูที่ปรึกษาประจาวิชา และ ครูที่ปรึกษาเพื่อขอข้อชี้แนะและ ปรับปรุงแก้ไข 1.6.7 จัดทารายงาน เพื่อนาเสนอผลงานเป็นรูปเล่ม นาผลิตภัณฑ์มาจัดแสดงและ ให้ทดลองชิม พร้อมฉายวีดีทัศน์เรื่อง กว่าจะเป็นสาคูบาร์ 1.7 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 1.7.1 มีความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับแป้งสาคู และต้นปาล์มสาคู 1.7.2 มีความรู้พื้นฐานและความเข้าใจเพิ่มขึ้นที่เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ 1.7.3 ได้ผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจากแป้งสาคู 1.7.4 สามารถเพิ่มรายได้ให้กับผู้ที่ผลิตผลิตภัณฑ์นี้ 1.7.5 มีความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับโปแกรม Sony Vegas 1.7.6 ได้วีดีทัศน์เรื่อง กว่าจะเป็นสาคูบาร์
  • 12. 4 บทที่ 2 เอกสำรและหลักกำรที่เกี่ยวข้อง การจัดทาโครงงานบูรณาการเรื่อง “สาคูบาร์” ของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และ โครงคอมพิวเตอร์เรื่อง “กว่าจะเป็นสาคูบาร์” คณะผู้จัดทาได้ ทาการศึกษาเอกสารและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 2.1 ควำมรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสำคู สาคู เป็นพืชที่เราสามารถพบเห็นได้โดยทั่วไป เป็นไม้ยืนต้น มีลาต้นคล้ายมะพร้าว จัดเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวอยู่ในตระกูลปาล์ม เรียกชื่อแตกต่างกันไปตามภาษาที่ใช้และตาม ท้องถิ่นที่พบ สาคู ตามความหมาย พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542 ให้ความหมายว่า เป็นคานาม หมายถึง ชื่อปาล์ม 2 ชนิด ในสกุล Metroxylon วงศ์ปาล์มคือ ชนิด M. Sagus Rottb.กาบใบไม่มีหนาม และชนิด M. rumphii Mart. กาบใบมีหนามและ ทั้ง 2 ชนิด ใช้ใบมุงหลังคา ไส้ในลาต้นแก่ใช้ทาแป้ง เรียกว่า แป้งสาคู คาว่า “สาคู” หรือ “Sago” เป็นคาเดิมในภาษาชวา มีความหมายว่า ต้นปาล์มที่มี แป้งสะสมอยู่ภายในส่วนของลาต้น ในภาษาไทยคาว่า “สาคู” นอกจากใช้เรียกชื่อพืชในตระกูลปาล์มชนิดนี้แล้วยังใช้ เรียกชื่อพืชล้มลุก ชนิดใบเลี้ยงเดี่ยว ที่มีขนาดใกล้เคียงกับขมิ้น อีกชนิดหนึ่งในตระกูล Marantaceae ซึ่งมีชื่อทางพฤกษศาสตร์ว่า Maranta arundinacea L. โดยส่วนของเหง้า สามารถให้แป้งได้เช่นเดียวกับปาล์มสาคูแต่เป็นพืช คนละชนิดที่มีความแตกต่างกันอย่าง ชัดเจน ภาพที่ 2.1 แสดงตัวอย่างต้นสาคู
  • 13. 5 สาคู ขณะต้นเล็ก ลาต้นจะทอดขนานกับพื้นดิน ต่อมาลาต้นจะตั้งตรง เมื่อโตเต็มที่ สูงประมาณ 15-20 เมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 45 – 60 เซนติเมตร ลาต้นคล้ายมะพร้าวอัตรา การเจริญเติบโต ในสภาพปกติปีละ 1.67 เมตร ลาต้นจะมีร่องรอย ของใบเป็นรูปวงแหวนมี เปลือกห่อหุ้ม แต่ไม่มีกิ่งสาขา โดยสาคูต้นใหม่ จะแตกแขนงออกจากรากเหง้าของ ต้นเดิม ซึ่งรากเหง้านี้จะค่อย ๆ โต และทอดยาวอยู่เหนือผิวดินทางด้านหลังของต้นเดิมแขนงรุ่นหลัง ๆ จึงค่อยอยู่ห่างจากแขนงรุ่นแรก ๆ ในด้านที่อยู่คนละทางกับต้นเดิมทั้ง 3 ด้านเรียก รากเหง้าที่ค่อย ๆ ลอยตัว และโตขึ้น ตามภาษาถิ่นว่า “หัวหมก” ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนกคู่ ขนาดใหญ่ ยาวประมาณ 2 - 5 เมตร ต้นสาคูที่ สมบูรณ์อาจมีก้านใบ(ทางสาคู) มากถึง 24 ก้าน ก้านใบสาคู 1 ก้าน มีใบย่อยแยกออกจาก ก้าน เรียงชิดกันเป็นระเบียบทั้งสองข้าง ประมาณ 100 -190 ใบย่อย โดย ใบย่อยแต่ละใบ เป็นรูป เรียว มีความยาวประมาณ 0.5 -1.6 เมตร กว้างประมาณ 10 เซนติเมตร ปลายใบ เรียวแหลมคล้ายใบมะพร้าว แต่มีขนาดใหญ่กว่า และหนากว่ามีหนามเล็ก ๆ ตรงขอบใบ ภาพที่ 2.2 แสดงตัวอย่างใบสาคู ภาพที่ 2.3 แสดงตัวอย่างใบสาคู
  • 14. 6 ดอก เมื่อต้นสาคูแก่เต็มที่ จะออกดอกเป็นช่อแยกแขนง คือ มีจั่นดอก แตกออกตรง ปลายยอด และมีขนาดใหญ่ แผ่กว้าง ชาวบ้าน เรียกว่า “แตกเขากวาง” เพราะแต่ละจั่น มี แง่ง คล้ายเขากวาง ช่อดอกมีสีน้าตาลแกมแดง ยาวประมาณ 5-7 เมตร แต่ละดอกมีก้าน เกสร เพศเมีย 3 ก้าน เกสรเพศผู้ 3 ก้าน จัดเป็นดอก สมบูรณ์เพศ เพราะมีดอกเพศผู้ และ ดอก เพศเมียอยู่ในดอกเดียวกัน แต่แตกและ บานไม่พร้อมกัน จึงเป็นพืชที่มี การผสม ข้าม ดอก โดยช่อดอกแผ่กระจายคล้าย รูปสามเหลี่ยม ออกดอกครั้งเดียวแล้ว ยืนต้นตาย ภาพที่ 2.4 แสดงตัวอย่างดอกสาคู ผลสาคู มีลักษณะเป็นทะลาย รูปผล กลมแป้น (ที่พบในไทย) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3.5 - 5 เซนติเมตร ผิวของผลเป็นเกล็ดเรียงเกยซ้อนกัน เมื่อผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อผลแก่หรือ ผลสุก มีสีน้าตาลแกมเหลือง บางต้นอาจมีผลปริมาณมากถึง 7,500 - 8,000 ผล ผลสดหนึ่ง ผลมีน้าหนักประมาณ 42 กรัม สามารถทยอยเลือกเก็บผลได้ตลอดทั้งปี แต่พบว่าในบางต้น อาจเป็นเมล็ดลีบทั้งหมด ซึ่งไม่สามารถนาไปเพาะเพื่อขยายพันธุ์ได้ ทั้งนี้เป็นผลเนื่องมาจาก ขบวนการผสมเกสรของดอกไม่สมบูรณ์ สาคู เป็นพืชที่ออกดอกติดผลครั้งเดียวในรอบวงชีวิต เมื่อผลร่วงแล้วต้นแม่จะตาย โดยสังเกตได้จากสีของใบค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีน้าตาล และส่วนของลาต้น จากส่วนยอดจะ ค่อย ๆ แห้ง และเน่าสลาย สาคูใช้ระยะเวลามากกว่า 3 ปี ลาต้นจึงจะเน่าสลายทั้งหมดหรือล้มลงต่อมาจะมี หน่อใหม่จานวนหนึ่งหรือมากกว่า ขึ้นมาทดแทน ระยะเวลาตั้งแต่ออกดอกจนถึงผลสุก ใช้ เวลา ประมาณ 4 - 5 ปี
  • 15. 7 ภาพที่ 2.5 แสดงตัวอย่างรูปร่างผลสาคูชนิดต่างๆ 2.1.1 ระบบนิเวศป่ำสำคู ระบบนิเวศป่าสาคู เป็นความสมบูรณ์ที่เกิดขึ้นบริเวณรอยต่อ ระหว่างป่าต้นน้ากับ ป่าจาก ป่าชายเลน ทะเล และมหาสมุทร ซึ่งสาคูเป็นพืชที่ชอบน้าจืดและเจริญเติบโตได้ดีใน พื้นที่ที่เป็นที่ลุ่มต่ามีน้าจืดท่วมขัง หรือเป็นพื้นที่ทางน้าไหล หรือพื้นที่ที่น้าท่วมในฤดูฝน และ สาคูยังสามารถปรับตัวให้อยู่รอดได้ดี ในพื้นที่ที่มีธาตุอาหารต่า เช่นในป่าพรุ ในบางแห่ง พบว่าสาคูสามารถเจริญเติบโตได้ดี ในที่สูงถึง 700 เมตรจากระดับน้าทะเลปานกลาง แต่สาคู จะให้ผลผลิตดีที่ระดับความสูงจากระดับน้าทะเลปานกลางประมาณ 400 เมตร (Rasyad and Wasito, 1986) ภาพที่ 2.6 แสดงภาพน้าขังกับต้นไม้ที่ขึ้นในป่าพรุสิรินธร
  • 16. 8 ดังนั้น จุดเด่นของสาคู คือ เป็นพืชที่สามารถเจริญเติบโตได้ ในพื้นที่ลุ่มน้าขัง หรือ เรียกว่าพื้นที่ชุ่มน้าจืด (Wetlands) และป่าพรุ (Peat swamp forest) ปกติพื้นที่ดังกล่าว ส่วนใหญ่ ถูกปกคลุมด้วยวัชพืช พื้นที่เหล่านี้ถูกปล่อยให้ทิ้งร้างว่างเปล่าไว้เฉยๆ เพราะ พืชเกษตรอื่นไม่สามารถขึ้นได้ หรือให้ผลผลิตไม่คุ้มค่า แต่สาคูสามารถขึ้นได้และเจริญ เติบโตได้ดีโดยไม่ต้องลงทุนปรับปรุงดินและไม่ต้องจัดการเรื่องชลประทาน ภาพที่ 2.7 แสดงระบบนิเวศป่าสาคูที่ขึ้นในป่าพรุสิรินธร สาคู เป็นพืชที่ชอบแสง คือต้องการแสงมากกว่า 800 cd/m2 ความเค็มของดินไม่ มากกว่า 10 S/m หรือมีความเค็มประมาณ 1 ใน 8 ของน้าทะเล มีค่าเท่ากับ 0.0 - 0.21 psuซึ่งเป็นค่าความเค็มของน้าจืด ดังนั้น พื้นที่ที่น้าทะเลท่วมถึง สาคูจึงไม่สามารถขึ้นได้ ปริมาณน้าฝนควรมากกว่า 2,000 มิลลิเมตร/ปี หากปลูกสาคู ในสภาพพื้นที่ที่มีธาตุอาหารต่า และดินระบายน้าไม่ดี จะทาให้การเจริญเติบโตลดลงร้อยละ 25 เมื่อเปรียบเทียบกับการ เจริญเติบโตในสภาพดินปกติ (Jong and Flach, 1995) และ ยังพบว่าในสภาพดินเหนียวที่มี อินทรียวัตถุสูง สาคูเจริญเติบโตได้ดีที่สุด โดยปริมาณความต้องการธาตุอาหารนั้น มีความ ต้องการเหมือน หรือมีความต้องการ ในปริมาณที่ใกล้เคียงกับปาล์มน้ามัน แต่เนื่องจากสาคู ขึ้นรวมกันเป็นกอใหญ่ จึงมีหลายต้นต่อพื้นที่ ดังนั้น จึงมีความต้องการธาตุอาหารในปริมาณ ที่มากกว่า ปาล์มน้ามัน ประมาณ 3 เท่า (Kueh, 1995)
  • 17. 9 2.1.2 กำรสืบพันธุ์ของสำคู การสืบพันธุ์ของสาคูมี 2 แบบ คือ 1. แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) โดยการปฏิสนธิของเกสรเพศผู้กับเกสร เพศเมียเจริญเติบโตเป็นผล และเมล็ด ซึ่งการผสมพันธุ์แบบอาศัยเพศของสาคู จะผสมข้าม ดอก เช่นเดียวกับปาล์มน้ามัน จานวนโครโมโซมของสาคูมี อยู่ 26 คู่ (2n) รวมระยะเวลา ทั้งหมดตั้งแต่ งอกจนถึงออกผล แล้วตาย ประมาณ 12-15 ปี โดยสาคูต้นแก่เต็มที่ จะมีจั่น ดอกแตกออกตรงส่วนยอด 2.แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) โดยการแตกแขนง หรือหน่อออก จากรากเหง้าของต้นเดิม ซึ่งรากเหง้านี้จะค่อย ๆ โต และทอดยาวอยู่เหนือผิวดิน ทาง ด้านหลังของต้นเดิม แขนงรุ่นหลังๆ จึงค่อยอยู่ห่าง จากแขนงรุ่นแรก ๆ ในด้านที่อยู่คนละ ทางกับ ต้นเดิมทั้ง 3 ด้าน เรียกรากเหง้าที่ค่อยๆลอยตัวและโตขึ้นตามภาษาถิ่นว่า “หัวหมก” ดังนั้น การขยายพันธุ์สาคู จึงสามารถขยายพันธุ์ได้ 2 ลักษณะ คือ 1. การแตก / แยกหน่อจากโคนต้นเดิม โดยการใช้เสียมหรือมีดพร้า ขุด แซะ หน่อ สาคูออกจากต้นแม่ โดยเลือกหน่อ ที่มีขนาดไม่โตมากนัก แล้วนามาแช่น้า ให้ส่วนโคนจมน้า ภายใต้พื้นที่ ที่มีความเข้มของแสง ประมาณร้อยละ50 ใช้เวลาประมาณ 2 เดือน รากจะงอก ออกมาใหม่ แล้วจึงย้ายไปปลูกในพื้นที่จริง จะทาให้อัตราการรอดตายสูง (Tanit, 1995) ภาพที่ 2.8 แสดงการขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสาคู
  • 18. 10 2. การเพาะด้วยเมล็ด โดยให้เก็บเมล็ดสาคูที่สุกเต็มที่ และต้องเลือกเอาเฉพาะเมล็ด ที่สมบูรณ์ โดยสามารถใช้เข็ม หรือเหล็กแหลมแทงเมล็ดดู หากเมล็ดมีความแข็งการแทงจะ ไม่ทะลุ แสดงว่าเมล็ดนั้นมีความสมบูรณ์ จากนั้นให้เอาเปลือกนอก และเยื่อหุ้มเมล็ดออก นาไปเพาะชาในทราย หมั่นรดน้าเช้า- เย็น เมล็ดจะเริ่มทยอยงอก ในช่วงเวลาประมาณ 20 – 60 วันหลังการเพาะ เมื่อเมล็ดงอกให้ทาการย้ายชา ลงถุงดินขนาด 5 x 8 หรือ 8 x 10 นิ้ว กล้าสาคู มีความสูงเฉลี่ย ประมาณ 50 เซนติเมตร แต่ส่วนใหญ่พบว่าการงอกของต้นสาคู มีเปอร์เซ็นต์ การงอกต่ามาก เนื่องจากมีผลที่มี เมล็ดไม่สมบูรณ์สูงกว่าเมล็ดที่สมบูรณ์ การเพาะเมล็ดใช้เวลาประมาณ 6-12 เดือน ภาพที่ 2.9 แสดงการงอกของเมล็ดสาคูในพื้นที่ธรรมชาติ
  • 19. 11 2.1.3 ประโยชน์และคุณค่ำของสำคู สาคู เป็นพืชที่ให้คุณประโยชน์กับชาวบ้าน ทั้งทางตรง และทางอ้อม อันเกี่ยวเนื่อง กับวิถีชีวิตวัฒนธรรมประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมทั้งชนพื้นเมืองบางประเทศยังใช้ แป้งสาคูเป็นอาหารหลักรับประทานแทนข้าวรวมทั้งผลิตแป้งส่งออกไปขายต่างประเทศ จากการที่คณะผู้จัดทาได้ไปทาการศึกษาจากเว็บไซต์ของ สมาคมหยาดฝน จ.ตรัง เอื้อเฟื้อข้อมูล ทาให้ทราบถึงประโยชน์ทางตรงของต้นสาคูดังนี้ ประโยชน์ทางตรงจากต้นสาคูมีดังต่อไปนี้ 1.ยอดอ่อน : ใช้ทาอาหาร แกงส้ม แกงเผ็ด แกงเลียง 2.ผลสุก : ใช้รับประทานได้ เป็นยาพื้นบ้าน 3.ใบ : ใช้เย็บจากมุมหลังคา ห่อขนมจาก 4.ก้าน : ใช้ทาไม้กวาด จักสาน 5.ยาง : ใช้ทากาวติดกระดาษ ยารักษาเริม ใช้ลอกหน้า 6.ทาง : ทาคอกสัตว์ ขนา จุกข้าวหลาม 7.หน้าสาคู : ใช้ทาจักสานทาเสื่อ ฝาบ้าน ตะกร้า เครื่องมือหาปลา 8.เนื้อในลาต้น : ใช้เลี้ยงสัตว์ ทาแป้ง ทาปุ๋ย เลี้ยงด้วงสาคู 9.เปลือกนอกลาต้น : ใช้ทาเรือ ทาไม้ปูพื้น ทากระถางต้นไม้ ทาเชื้อเพลิง 10.ราก : ใช้ทายา 2.1.4 ขั้นตอนกำรทำแป้งสำคู 1. ตัดต้นสาคูออกเป็นท่อน ๆ ท่อนละ 45 - 60 เซนติเมตร 2. นาเอาไส้ในต้นสาคูออกมาจะทาโดยวิธีการตาให้ละเอียดโดยใช้ไม้ตาเฉพาะการ- กระทุ้งและการขุด 3. หลังจากนั้นเอาไส้ที่นาออกมาแล้วไปแช่น้า ทิ้งไว้สัก 5 นาที 4. เอาไส้ในที่แช่ไว้ออกจากน้าและคั้นน้าออกจากไส้ในให้หมด 5. เมื่อเอาไส้ในออกหมดแล้วให้รอน้าที่คั้นมาตกตะกอน 6. เทน้าของเก่าออกและเติมน้าเข้าไปใหม่ จนมั่นใจว่าแป้งที่ได้จะสะอาดพอสมควร 7. เมื่อมั่นใจว่าสะอาดแล้วก็เทน้าออกให้เหลือแต่ตะกอน นาไปตากแห้งด้วยแดดจัด
  • 20. 12 2.2 ควำมรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรำโนล่ำ หรือ ซีเรียล “กราโนล่า” (Granola) เป็นธัญพืชจากทางฝั่งตะวันตก นิยมทาเป็นซีเรียล ทานเป็น อาหารเช้าหรือเป็นขนมทานเล่นก็ได้ เพราะมีรสชาติที่หอม หวาน มัน จากส่วนผสมอย่างข้าว โอ๊ต ถั่วและน้าผึ้ง ผสมกันและนาไปอบให้กรอบ แต่หลายคนใส่ผลไม้แห้ง ลูกเกด ลูกพลัม ช็อกโกแลต และสารพัดอย่างเพื่อเพิ่มรสชาติอร่อย ทานเพลินจนหมดถุงได้ง่าย ๆ ภาพที่ 2.10 แสดงตัวอย่าง กราโนล่า กราโนล่ามีแคลอรี่สูง แต่เต็มไปด้วยคุณค่าทางสารอาหาร ข้าวโอ๊ตมีไฟเบอร์และธาตุ เหล็กสูง ถั่วและเมล็ดธัญพืชต่าง ๆ ก็มีไขมันดีซึ่งช่วยบารุงหัวใจ แม้จะมีแต่ส่วนผสมจาก ธรรมชาติ จนทาให้ถูกคิดว่าเป็นอาหารที่ช่วยในการลดไขมัน หรือ “อาหารคลีน” แต่เพราะ พลังงานที่สูงลิบลิ่ว จึงต้องคิดให้ดีก่อนทาน เพราะหากทานมากเกินไปก็อ้วนได้เหมือนกัน 2.2.1 ปัจจัยเลือกในกำรเลือกกรำโนล่ำ (Granola) ให้สุขภำพดี โดยปกติกลาโนล่าจะมีส่วนประกอบที่เป็นธัญพืช และ ถั่ว โดยเฉพาะข้าวโอ๊ต ซึ่งให้ คุณค่าทางอาหารที่ยอดเยี่ยม โดยเฉพาะเส้นใย และธาตุเหล็ก ในขณะที่ถั่วต่าง ๆ รวมไปถึง เมล็ดพืชมีสรรพคุณช่วยในการบารุงหัวใจเพราะมีสาประกอบประเภทไขมันไม่อิ่มตัว ที่จาเป็น ต่อร่างกายรวมทั้งโปรตีนถั่วอยู่เต็ม ๆ แต่นอกจากข้อดีต่าง ๆ เหล่านี้แล้ว สิ่งที่คุณอาจไม่ค่อยจะนึกถึง คือ กราโนล่า อาจจะเป็นอาหารที่ให้พลังงานสูง และที่สาคัญอาจจะมีน้าตาลที่มากับความหวานที่ซุกซ่อน ไว้ ดังนั้น จึงควรจะดูส่วนประกอบ เรื่องปริมาณของน้าตาล และ ส่วนประกอบอื่น ๆ ก่อน ตัดสินใจทาน
  • 21. 13 ปัจจัยเลือกในการเลือก กราโนล่า (Granola) มีดังนี้ 1) น้ำตำล ดูปริมาณน้าตาล กราโนล่าอาจมีปริมาณน้าตาลอยู่ไม่น้อย แต่แทนที่ฉลากของขวด จะเขียนปริมาณน้าตาลฟรุกโตส หรือน้าเชื่อมที่สกัดจากข้าวโพด มันอาจจะถูกเขียนอยู่ในชื่อ อื่น ๆ เช่นคาว่า น้าอ้อยสกัด น้าเชื่อมจากข้าวกล้อง น้าเชื่อมจากข้าวโอ๊ต ทั้งหลายทั้งปวงนี้ คือน้าตาลทั้งนั้น 2) ปริมำณแคลอรี่ ต่อ 1 ครั้ง อย่าลืมตรวจสอบปริมาณพลังงานที่ได้รับในแต่ครั้ง นักโภชนาการแนะนาปริมาณที่ เหมาะสมคือ ควรจะให้พลังงานประมาณ 200 กิโลแคลอรี่ ในการทาน 1 ครั้ง 3) ทำนกับอะไรถึงจะดี ควรทานกราโนล่า ให้มันเป็นส่วนประกอบของอาหารจานหลัก อื่น ๆ เช่น ทานคู่ กับ ในโยเกิร์ตรสธรรมชาติ หรือ นมสด นมถั่วเหลือง หรือ อื่น ๆ ที่หมุนเวียนกันไป ไม่ควร ทานซ้า ๆ เพราะเพื่อร่างกายจะได้สารอาหารที่ครบถ้วน 4) ดูส่วนประกอบ น้ำมันที่ใช้ ในกราโนล่าจะมีไขมันต่าง ๆ ที่ถูกผสมรวมในการผลิต ทั้งน้ามันปาล์ม และไขมัน อิ่มตัวชนิดต่าง ๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับ บริษัทผู้ผลิตดังนั้นจึงควรเลือกผลิตภัณฑ์ที่ตั้งใจในการเลือก ส่วนผสม เช่น น้ามันจากน้ามันมะพร้าวสกัด หรือน้ามันมะกอก 5) ดูที่มำของแหล่งวัตถุดิบ อาจจะพูดยาก เนื่องจากกราโนล่า เป็นส่วนผสมของหลาย ๆ สิ่งรวมกัน ที่มาจาก หลายแหล่งผลิต แต่อย่างน้อย หากเราสามารถอ่านได้จากข้างฉลากก็จะดีไม่น้อย อย่างบาง รายที่เป็นสินค้านาเข้า จะมีมาตรฐาน USDA ที่หมายถึงใช้วัตถุดิบที่มาจากฟาร์มเกษตร อินทรีย์ ที่มีการตรวจพื้นที่เป็นระยะ ๆ 2.2.2 ประโยชน์ของกรำโนล่ำมีอะไรบ้ำง 1. ช่วยป้องกันอาการท้องผูกและริดสีดวงทวาร ทาให้สามารถขับถ่ายได้ง่ายขึ้นมาก เนื่องจากในกราโนล่าเหล่านี้อุดมไปด้วยไฟเบอร์หรือกากใยอาหารที่สูงมาก ๆ 2. ช่วยป้องกันการอุดตันของไขมันในหลอดเลือด ลดปริมาณไขมันที่เกาะอยู่ตาม ผนังหลอดเลือด ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด 3. ช่วยบารุงสมองและระบบประสาทให้ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมี ความจาดี เพราะมีวิตามินบีรวมที่ช่วยบารุงในเรื่องของระบบประสาทโดยตรงนั่นเอง 4. ช่วยทาให้ระบบการไหลเวียนของเลือดภายในร่างกายไหลเวียนได้สะดวกขึ้น เรียกว่าเลือดลมดี
  • 22. 14 5. ช่วยให้อิ่มท้องนาน ไม่หิวเร็ว เนื่องจากมีคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อนอยู่ ประกอบกับมี กากใยอาหารมาก และเมื่อไม่หิวเร็วก็ไม่ทาให้เราอยากอาหารหรือกินของจุบจิบระหว่างวัน ซึ่งเป็นสาเหตุของความอ้วนนั่นเอง 6. ช่วยทาให้รู้สึกกระปรี้กระเปร่า สดชื่น มีแรงในการเรียน ทางาน หรือกิจกรรมได้ อย่างต่อเนื่อง 7. ช่วยป้องกันการเกิดโรคขาดสารอาหารหรือวิตามินบางอย่าง ทาให้ไม่เกิดโรค ปากนกกระจอก หรือโรคเหน็บชา เป็นต้น ภาพที่ 2.11 แสดงตัวอย่าง กราโนล่า 2.2.3 วิธีทำกรำโนล่ำ หรือ ซีเรียลบำร์ ส่วนผสม (สาหรับ 8 แท่ง) 1. น้าผึ้ง ½ ถ้วยตวง 2. เนยถั่ว ½ ถ้วยตวง 3. ซีเรียลข้าวโอ๊ต 3 ถ้วยตวง 4. โยเกิร์ตชิป 1 ถ้วยตวง (ให้เหลือไว้ ½ ถ้วยตวง สาหรับทาละลาย) 5. อัลมอนด์สับ ½ ถ้วยตวง 6. แครนเบอร์รี่อบแห้ง 1 ถ้วยตวง 7. น้ามันมะพร้าว 1 ช้อนชา
  • 23. 15 ภาพที่ 2.12 แสดงตัวอย่าง ส่วนผสมบางส่วนของซีเรียลบาร์ ขั้นตอนการทา 1. ผสมน้าผึ้งและพีนัทบัตเตอร์ (เนยถั่ว) ให้เข้ากัน ภาพที่ 2.13 แสดงตัวอย่าง การทาซีเรียลบาร์ขั้นตอนที่ 1
  • 24. 16 2. ให้ใช้อีกชามเราจะผสมซีเรียลข้าวโอ๊ต โยเกิร์ตชิปแค่ ½ ถ้วยตวง อัลมอนด์สับ และแครนเบอร์รี่อบแห้ง และคนให้เข้ากัน ภาพที่ 2.14 แสดงตัวอย่าง การทาซีเรียลบาร์ขั้นตอนที่ 2 3. นาส่วนผสมทั้งสองชามมาคนให้เข้ากัน จะทาให้หนืด ๆ ภาพที่ 2.15 แสดงตัวอย่าง การทาซีเรียลบาร์ขั้นตอนที่ 3
  • 25. 17 4. นากระดาษไขมารองถาดพิมพ์แล้วก็นาซีเรียลมาใส่ในถาดพิมพ์สี่เหลี่ยม จากนั้น ใช้มือหรือช้อนกดให้แน่นแล้วนาไปแช่แข็งประมาณ 30 นาที ภาพที่ 2.16 แสดงตัวอย่าง การทาซีเรียลบาร์ขั้นตอนที่ 4 5. ต่อไปนาโยเกิร์ตชิปไปละลายในไมโครเวฟโดยเติมน้ามันมะพร้าวไปด้วย 1 ช้อน ชา จากนั้นนาซีเรียลที่แช่เย็นจนเซตตัวแล้วก็นามาหั่นเป็นแท่งสี่เหลี่ยมและนาไปจุ่มโยเกิร์ต ชิปที่ละลายแล้ว ภาพที่ 2.17 แสดงตัวอย่าง การทาซีเรียลบาร์ขั้นตอนที่ 5
  • 26. 18 6. ห่อซีเรียลบาร์ด้วยกระดาษเพื่อสะดวกต่อการนามาทาน แล้วนาไปเก็บไว้ในตู้เย็น ภาพที่ 2.18 แสดงตัวอย่าง การทาซีเรียลบาร์ขั้นตอนที่ 6 2.3 ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชำเศรษฐศำสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า “economic” ซึ่งมีรากศัพท์มาจาก ภาษากรีก ว่า “oikonomikos” แปลว่า การบริหารจัดการของครัวเรือน ดังนั้น วิชา เศรษฐศาสตร์จึงมีต้นกาเนิดมาจากการศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการกิจกรรมของ ครัวเรือน ในชีวิตประจาวันทุก ๆ คนมีเรื่องที่จะต้องตัดสินใจในการใช้จ่ายสิ่งต่าง ๆ อยู่ ตลอดเวลา จึงมีปัจจัยหลายประการที่เข้ามามีบทบาทเกี่ยวข้องในการตัดสินใจ เช่น ราคา ของสินค้า เงินที่มีอยู่ รสนิยมและความพึงพอใจ เป็นต้น แม้ในระดับครอบครัวและ ระดับประเทศ การตัดสินใจในการใช้จ่ายจะต้องคานึงถึงรายได้รวมว่าเป็นอย่างไร และมี กาลังในการใช้จ่ายมากน้อยเพียงใด ในด้านการบริหารรายรับ และรายจ่ายนี้ รวมเรียกว่า “การบริหารงบประมาณ” ซึ่ง วิชาเศรษฐศาสตร์จะว่าด้วยการศึกษาถึงปัญหาและวิธีการบริหารงบประมาณของประชาชน ทั้งในระดับบุคคล ระดับครอบครัวและระดับประเทศ ทั้งนี้เพื่อให้การใช้จ่ายและการดาเนิน กิจกรรมต่าง ๆ เป็นไปอย่างประหยัดและสอดคล้องกับเป้าหมายที่กาหนดไว้อย่างดีที่สุด ดังนั้น วิชาเศรษฐศาสตร์จึงศึกษาถึงวิธีการจะตอบสนองความต้องการที่ไม่สิ้นสุดของมนุษย์ ด้วยทรัพยากรอันมีอยู่อย่างจากัด ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
  • 27. 19 ความเป็นมาของวิชาเศรษฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์มีที่มาจากเหตุผล 2 ประการ คือ 1. ทรัพยากรมีจากัด คือ สิ่งที่จะนามาผลิตสินค้าและบริการเพื่อจาหน่าย จ่ายแจกให้กับผู้บริโภค ซึ่งรวมทั้งทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรมนุษย์และทรัพยากรที่เป็น ทุน เช่น เครื่องจักร เทคนิคการผลิต เงินทุน เป็นต้น 2. ความต้องการที่มีไม่จากัด คือ ความต้องการมนุษย์ที่จะกิน ใช้ทรัพยากร เพื่อสนองความต้องการของตนนั้นมีไม่จากัด 2.3.1 ควำมสำคัญของวิชำเศรษฐศำสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์มีความสาคัญดังนี้ 1. เศรษฐศาสตร์จะช่วยให้การจัดสรรทรัพยากรมีประสิทธิภาพสูงสุดและ ยุติธรรม เพื่อสนองความต้องการของสังคมส่วนรวม 2. เศรษฐศาสตร์เป็นเครื่องมือหรือวิธีการที่จะช่วยให้เข้าใจเหตุการณ์และ ปัญหาเศรษฐกิจในชีวิตประจาวัน รวมทั้งการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจด้วย 3. เศรษฐศาสตร์จะให้ความรู้พื้นฐานอันเป็นประโยชน์ในการประกอบ อาชีพสาขาต่าง ๆ 4. เศรษฐศาสตร์ช่วยให้ประชากรของประเทศเป็นคนมีคุณภาพ รู้จัก การผลิตและการบริโภค และมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งจะช่วยในการพัฒนา ประเทศ 2.3.2 ประเภทของวิชำเศรษฐศำสตร์ ในการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ สามารถจาแนกขอบเขตได้เป็น 2 แขนงวิชา คือ เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics) และเศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics) เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics) เป็นแขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ที่พิจารณา ปัญหาและพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของสังคมในระดับหน่วยย่อย (Individual unit) เป็น สาคัญ เน้นศึกษาถึงการตัดสินใจทางธุรกิจของหน่วยผลิต หน่วยใดหน่วยหนึ่ง หรือ อุตสาหกรรมใดอุตสาหกรรมหนึ่ง หรือศึกษาถึงพฤติกรรมของครัวเรือน หนึ่ง ๆ ในฐานะที่ เป็นผู้บริโภค ถึงแม้ว่าวิชาเศรษฐศาสตร์จุลภาคจะพิจารณาปัญหาจากจุดเล็กๆหรือส่วนย่อย ก็ตาม แต่วิชานี้ก็มิได้ศึกษาเฉพาะปัญหาเล็ก ๆ ตามที่เข้าใจกันทั่วไป ในทางตรงกันข้ามวิชา เศรษฐศาสตร์จุลภาคจะให้ความสนใจต่อปัญหาที่ใหญ่และจัดเป็นปัญหาสาคัญ ๆ ในระบบ เศรษฐกิจ โดยเน้นการพิจารณาเกี่ยวกับพฤติกรรมในการตัดสินเลือกของหน่วยเศรษฐกิจ ซึ่ง ถือเป็นการศึกษาในระดับพื้นฐาน เพื่อนาความรู้นี้ไปประกอบการพิจารณาปัญหาอื่น ๆ ในทางเศรษฐศาสตร์ ดังนั้นจึงสรุปว่าเศรษฐศาสตร์จุลภาค มุ่งศึกษาเรื่องต่อไปนี้คือ
  • 28. 20 1. ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในด้านความพอใจ ความชอบของบุคคลที่มีต่อสินค้า และบริการ การเลือก การบริโภค เป็นต้น 2. ศึกษาพฤติกรรมของผู้ผลิตในด้านการตั้งราคา การคิดต้นทุนการผลิต การ จาหน่าย แจกจ่ายสินค้าและบริการ กลไกราคาและการใช้ระบบราคาเพื่อจัดสรรสินค้า บริการ และทรัพยากรอื่น ๆ โดยทั่วไป เนื้อหาหลักของวิชาเศรษฐศาสตร์จะมุ่งศึกษาในเรื่อง ของการจัดสรรทรัพยากร ที่ขาดแคลน ซึ่งเป็นหัวใจและขอบเขตหลักของวิชาเศรษฐศาสตร์ แต่วิชาเศรษฐศาสตร์จุลภาค มุ่งศึกษาด้านพฤติกรรมของตลาดและกลไกราคา (price mechanism) ซึ่งเป็นการศึกษาในประเด็นย่อย ๆ ควบคู่กันไป บางครั้งจึงนิยมเรียกทฤษฎี เศรษฐศาสตร์จุลภาคว่า ทฤษฎีราคา (Price Theory) เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics) เป็นแขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ที่พิจารณา ปัญหาและพฤติกรรมทางเศรษฐกิจในระดับส่วนรวมหรือระดับประเทศ เช่น ศึกษาถึง ภาวการณ์ผลิตและราคาสินค้าโดยรวมของประเทศ ภาวการณ์ว่างงานและความผันผวนต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจ รวมทั้งนโยบายหรือมาตรการที่สามารถนามาใช้เพื่อแก้ไข ปัญหาของเศรษฐกิจส่วนรวมได้ เนื้อหาหลักของวิชาเศรษฐศาสตร์มหภาค จึงมุ่งศึกษาในเรื่อง ของเศรษฐกิจส่วนรวม เช่น ภาวการณ์ผลิตของประเทศ ภาวการณ์ว่าจ้างแรงงาน ภาวะค่า ครองชีพ รายได้รวมของประเทศ วัฎจักรธุรกิจ (business cycles) และความผันผวนของ ราคาสินค้าทั่วๆไป เป็นต้น ประเด็นเหล่านี้ บางครั้งเรียกทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มหภาคว่า ทฤษฎีรายได้ประชาชาติ (National Income Theory) เพราะเป็นสาขาที่มุ่งเน้นในเรื่อง ภาวะรายได้รวมของประชาชนทั้งประเทศ ในปัจจุบันนี้ นักวิชาการนิยมศึกษาเศรษฐศาสตร์จุลภาคและมหภาคควบคู่กันไปจะ เห็นได้ว่า มีการนาผลการวิเคราะห์ทางด้านเศรษฐศาสตร์จุลภาคมาประยุกต์ใช้ทฤษฎี เศรษฐศาสตร์มหภาคมากขึ้น เพราะระบบเศรษฐกิจส่วนรวม ย่อมมีองค์ประกอบที่เป็น เศรษฐกิจหน่วยย่อย ๆ ร่วมกัน ดังนั้น การศึกษาปัญหาทางด้านเศรษฐกิจของสังคมหนึ่ง ๆ จึงจาเป็นต้องพิจารณาทั้งระบบเศรษฐกิจที่เป็นส่วนรวม และพฤติกรรมของแต่ละบุคคลหรือ แต่ละหน่วยผลิตซึ่งเป็นเศรษฐกิจหน่วยย่อย ๆ เพราะเศรษฐกิจหน่วยย่อยนี้ก็มีอิทธิพลอย่าง สาคัญต่อพฤติกรรมและความเป็นไปของเศรษฐกิจในระดับประเทศหรือระดับส่วนรวมของ สังคม
  • 29. 21 2.3.3 ประโยชน์ในกำรศึกษำวิชำเศรษฐศำสตร์ ในฐานะผู้บริโภค 1. รู้จักใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดในการบริโภคและใช้ในทางที่ ก่อให้เกิดประโยชน์หรือความพอใจสูงสุดแก่ตน 2. สามารถจาแนกชนิดของสินค้าหรือบริการที่มีประโยชน์ และสามารถใช้ บาบัดความต้องการของตนเองและคนในครอบครัวได้ด้วยราคาที่ประหยัดที่สุด 3. สามารถประมาณการค่าใช้จ่ายและการกาหนดแผนการบริโภค การออม ได้อย่างเหมาะสม 4. สามารถคาดคะเนสถานการณ์ทางเศรษฐกิจได้อย่างมีเหตุผล ในฐานะผู้ผลิตและเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต 1. ช่วยให้เกิดความสานึกในคุณค่าของทรัพยากรว่าควรใช้ให้เป็นประโยชน์ หรือให้ได้ผลตอบแทนสูงสุด 2. ช่วยให้สามารถจัดสรรหรือแจกจ่ายสินค้าและบริการที่ผลิตได้นั้นไปยังผู้ ที่สมควรได้รับมากที่สุดและตรงตามความต้องการของบุคคลเหล่านั้น 3. ช่วยให้คาดคะเนความต้องการในวัตถุดิบและปัจจัยการผลิตอื่น ๆ ได้ ถูกต้อง สามารถคาดคะเนความต้องการของผู้บริโภคในสินค้าที่ตนผลิตด้วย 4. ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่ายหรือลดต้นทุนการผลิต ทาให้การดาเนินธุรกิจ ของตนเป็นไปด้วยดี ในฐานะผู้กาหนดนโยบายเศรษฐกิจ (ผู้บริหาร) ของประเทศ 1. สามารถเข้าใจปัญหาด้านต่าง ๆ ทางเศรษฐกิจ 2. สามารถจัดลาดับความสาคัญโครงการ ตามความจาเป็นและความ ต้องการประชาชนและประเทศชาติ 3. จัดสรรทรัพยากรเพื่อให้บริการแก่ทุก ๆ ฝ่ายอย่างทั่วถึงเท่าที่สามารถ จะทาได้ 4. สามารถวางนโยบายทางเศรษฐกิจ เพื่อความมั่งคั่งและความมั่นคงของ ประเทศได้
  • 30. 22 2.4 ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปแกรม Sony Vegas โปรแกรม Sony Vegas เป็นหนึ่งในชุดโปรแกรมตัดต่อวีดีทัศน์ ที่ผลิตโดยบริษัทโซนี่ ซึ่งอานวยความสะดวกให้ผู้ใช้สามารถตัดต่อวีดีทัศน์ได้อย่างง่ายดาย และผลงานที่ได้ก็มีความ สวยงาม ไม่แพ้นักตัดต่อมืออาชีพ ข้อมูลล่าสุดจากเว็บไซต์ของ Sony มีผลิตภัณฑ์ที่ใช้ตัดต่อวี ดีทัศน์ในตระกูล Vegas ดังนี้ ภาพที่ 2.19 แสดงผลิตภัณฑ์ที่ใช้ตัดต่อวีดีทัศน์ในตระกูล Vegas ทั้ง 5 โปรแกรมเป็นโปรแกรมตัดต่อที่มีคุณสมบัติเฉพาะที่แตกต่างกันออกไป แต่ ทั้งหมดล้วนมีหลักในการพื้นฐานที่คล้ายกัน ดังนั้น ไม่ว่าจะใช้โปรแกรมใด รุ่นใด ก็สามารถ ศึกษาตามเอกสารฉบับนี้ได้เช่นเดียวกัน ซึ่งสามารถไปดาวน์โหลดโปรแกรมรุ่นทดลองใช้ได้ ฟรีจากเว็บไซต์ของโซนี่ได้ที่ http://www.sonycreativesoftware.com/
  • 31. 23 2.4.1 ส่วนประกอบของโปรแกรม โปรแกรม Vegas Pro มีส่วนประกอบที่สาคัญดังนี้ 1. Track เป็นส่วนแสดง Track ของ Video, Audio และ Bus Track ใช้ในการจัดการควบคุม Track ภาพและเสียง จัดเรียงลาดับของ Track ต่างๆ ควบคุมการความดังของเสียง เปิดปิดเสียง เป็นต้น ภาพที่ 2.20 แสดงตัวอย่าง Track 2.Timeline เป็นส่วนการ ทางานหลักของโปรแกรม ซึ่งเราจะทา การตัดต่อวีดีโอกันที่ Timeline โดยใน แนวนอน จะหมายถึงช่วงเวลา และ แนวตั้งจะหมายถึงลาดับชั้นของ Track ภาพที่ 2.21 แสดงตัวอย่าง Timeline 3.Transport Toolbar เป็นส่วนควบคุมการเล่นวีดีโอบน Timeline หลักการ ทางานก็จะคล้ายกับเครื่องเล่นซีดีทั่วไป โดยเมื่อคลิกจะแสดงผลที่ส่วน Preview ภาพที่ 2.22 แสดงตัวอย่าง Transport Toolbar 4. Time Display เป็นส่วนแสดงเวลา โดยจะยึดเอาตาแหน่งของ Curser ที่อยู่บน Timeline เป็นสาคัญ โดยแสดงเวลาในรูปแบบ ของ HH:MM:SS;FF นั่นคือ ชั่วโมง นาที วินาที ส่วน FF นั้นจะหมายถึง จานวนเฟรมในแต่ละวินาที 5.Status Bar ถือเป็นส่วนหนึ่งของ Timeline ประกอบด้วย 3 ช่อง ได้แก่ เวลา เริ่มต้น เวลาสิ้นสุด และเวลาทั้งหมด โดยอ้างอิง Curser ที่อยู่บน Timeline เป็นสาคัญ ภาพที่ 2.23 แสดงตัวอย่าง Time Display ภาพที่ 2.24 แสดงตัวอย่าง Status Bar
  • 32. 24 6.Explorer เป็นส่วนที่ช่วยอานวยความสะดวกให้ สามารถเรียกดูไฟล์ต่างๆ บนเครื่องได้อย่างรวดเร็ว โดยสามารถคลิกและลาก Video Image หรือ Audio มาวางเรียงกันบน Timeline ได้อย่างรวดเร็ว 7. Trimmer เป็นอีกทางเลือก ในการตัดต่อวีดีทัศน์โดย สามารถเลือกเพียงบางส่วน ของ Video หรือสื่อใดๆ มาใส่ ในงานของเราได้ 8. Audio Control เป็นส่วนควบคุมเสียงของวีดีทัศน์ โดยส่วนนี้จะหมายถึง เสียงของชิ้นงานโดยรวมทั้งหมด จากจุดนี้สามารถตั้งคุณสมบัติของ Audio ของงานได้ 9. Video Preview เป็นส่วนแสดง Video โดยจะผนวกเอาทั้งตัวหนังสือ effect หรือ Transition ใดๆ ให้ได้ชม ก่อน โดยไม่จาเป็นต้อง Render ออกมา ภาพที่ 2.25 แสดงตัวอย่าง Explorer ภาพที่ 2.26 แสดงตัวอย่าง Trimmer ภาพที่ 2.27 แสดงตัวอย่าง Audio Control ภาพที่ 2.28 แสดงตัวอย่าง Video Preview
  • 33. 25 10. Project Media เป็นส่วนแสดงไฟล์ที่เกี่ยวข้องกับการตัดต่อวีดีทัศน์ ของเราทั้งหมด ทั้งไฟล์เสียง ภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่ง ตัวหนังสือ จากจุดนี้สามารถคลิกปุ่ม import เพื่อนาเข้าไฟล์ต่างๆ เหล่านั้นได้ทันที หากส่วนประกอบใดที่ไม่ปรากฏบนเจอ สามารถเรียกได้จากเมนู View และยังสามารถปรับเลื่อนตาแหน่งได้ตามความต้องการ และความถนัดของแต่ละบุคคล 2.4.2 ควำมสำคัญของ Title จะเห็นได้ว่าสิ่งที่ขาดไม่ได้สาหรับภาพยนตร์ทุกเรื่องก็คือ Title ซึ่งจะเป็น ตัวบอกถึงที่มาของภาพยนตร์ที่กาลังจะได้รับชม ประกอบด้วย ชื่อผู้สร้างหรือผู้ผลิต ชื่อเรื่อง ชื่อผู้แสดง และทีมงาน แต่บางที Title อาจเป็นเพียงข้อความสั้นๆ เพื่ออธิบายถึงสิ่งที่กาลัง จะได้รับชม ก็เป็นได้ กำรสร้ำง Title การสร้าง Title ในโปรแกรม Vegas Pro นั้น สามารถทาได้ 2 วิธี ได้แก่ 1. คลิกที่เมนู Insert แล้วเลือกคาสั่ง Text Media 2. คลิกขวาที่ Video track แล้วเลือกคาสั่ง Text Media ภาพที่ 2.30 แสดงตัวอย่าง การสร้าง Title จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง Video Media Generator สาหรับสร้าง Text ซึ่ง ประกอบด้วย Tab ซึ่งรวบรวมคาสั่งที่เกี่ยวข้องกับการสร้าง Text ไว้ ดังนี้ ภาพที่ 2.29 แสดงตัวอย่าง Project Media
  • 34. 26 1. Edit เป็น Tab สาหรับกาหนดข้อความ แบบอักษร ขนาด การจัดวางตาแหน่ง โดยเราสามารถพิมพ์ข้อความที่ ต้องการลงไปได้ 2. Placement เป็น Tab ที่ใช้ จัดตาแหน่งของข้อความบนจอ โดยสามารถใช้เมาส์ลากวัตถุไป วางบนตาแหน่งต่างๆ ได้ด้วย ตนเอง หรือจะเลือกจากคาสั่ง Text Placement ก็ได้ เช่นเดียวกัน นอกจากนี้ยังมี การกาหนด Safe Zone เพื่อ ป้องกันภาพหลุดขอบจอ โดยมี ค่าให้เลือกตั้งแต่ 0 – 30 % 4. Properties เป็น Tab ที่ใช้กาหนดค่าสีของตัวหนังสือ และ สีของพื้นหลังซึ่งสามารถปรับเลือกได้ทั้งค่าสี และค่าความโปร่งใส นอกจากนี้ยังมีคาสั่งที่น่าสนใจอีกได้แก่ Tracking ใช้กาหนดระยะห่างระหว่างตัวอักษร Scaling ใช้กาหนดขนาดของตัวอักษร Leading ใช้กาหนดความสูงของบรรทัด ภาพที่ 2.32 แสดงตัวอย่าง ส่วนของ Placement ภาพที่ 2.33 แสดงตัวอย่าง ส่วนของ Properties ภาพที่ 2.31 แสดงตัวอย่าง ส่วนของ Edit Effect เป็น Tab ที่ใช้กาหนดคุณสมบัติ พิเศษของข้อความ ประกอบด้วย Outline, Shadow และ Deformation ซึ่งสามารถ ปรับแต่งได้ ภาพที่ 2.34 แสดงตัวอย่าง ส่วนของ Effect